สร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะรับมอบพระกรุลำพูนอายุ๕๐๐-๗๐๐ ปี

ในห้อง 'งานบุญอื่นๆ' ตั้งกระทู้โดย :::เพชร:::, 13 มีนาคม 2008.

  1. พุทธันดร

    พุทธันดร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    565
    ค่าพลัง:
    +3,969
    คุณเพชรคะขอบูชาองค์นี้
    (พระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์ หรือพระเลี่ยง)ด้วยค่ะ
    ไม่ทราบเป็นองค์นี้(ขนาดพระบูชา)ที่เคยบอกคุณเพชรให้เก็บไว้ให้หรือเปล่า

    [​IMG] [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มิถุนายน 2008
  2. พุทธันดร

    พุทธันดร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    565
    ค่าพลัง:
    +3,969
    กราบขอบคุณค่ะ ขออนุโมทนาบุญทุกประการกับคุณ hongsanart ด้วยค่ะ
     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอแนะนำผู้ที่ต้องการร่วมบุญถวายพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีเพื่อประดิษฐานเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะอายุ ๕๐๐ ปีนี้

    ๑) สามารถจะร่วมบุญจำนวนเท่าใดก็แล้วแต่ท่าน โดยโอนเข้าบัญชีที่ post ไว้ในหน้าที่ ๑-๒

    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7



    ๒) ผู้ที่มีเกณฑ์พระประจำวันพุธกลางวัน (พระปางอุ้มบาตร) เป็นพระเสวยอายุในปีนี้ ควรจะร่วมบุญนี้ เพราะเหตุว่าพระพุธเป็นพระที่จะดูแลชีวิตความเป็นอยู่ของท่านถึง ๑๗ ปีเลยทีเดียว

    ๓) ผู้ที่ต้องการเสริมดวงทักษาในตำแหน่งต่างๆทางโหราศาสตร์ เช่น อาจจะเป็นศรี หรือเดช หรืออายุ ฯลฯ ก็จะได้กำลังมากขึ้น

    .....................................................................

    การร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรนี้ ผมขอใช้หลักเกณฑ์นี้ครับ

    ๑) ท่านจะร่วมบุญด้วยเท่าไหร่ก็ตามแต่สมัครใจโดยจะบันทึกชื่อไว้ตามลำดับ

    ๒) เมื่อครบตามจำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้แล้วก็จะปิดรายการบุญนี้ทันที

    ๓) ไม่มีวัตถุมงคลมอบให้

    ....................................................................

    รายชื่อผู้ร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะ

    ๑) คุณ :::เพชร::: ๑,๐๐๐ บาท
    ๒) คุณ nongnooo ๕๐๐ บาท
    ๓) คุณ guawn ๑๐๐ บาท
    ๔) คุณ kwok ๔๐๐ บาท
    ๕) คุณ sithiphong - ภรรยา และทั้ง ๒ ครอบครัว ๕๐๐ บาท
    ๖) คุณ newcomer ๓๐๐ บาท
    ๗) คุณ พิมพาภรณ์ ๑๐๐ บาท
    ๘) คุณ aries2947 - ภรรยา และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๙) คุณ marcbangkok ๕๐๐ บาท
    ๑๐)คุณ sira ๒๐๐ บาท
    ๑๑)คุณ ตั้งจิต และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๑๒)คุณ นายคัง และครอบครัว ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๓)คุณ hongsanart ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๔)คุณศิษย์ต่างแดน ๕๑๗.๓๘ บาท
    ๑๕)คุณพรสว่าง_2008 ๓๐๐ บาท
    ๑๖)คุณ chaipat และภรรยา ๑๑๙ บาท
    ๑๗)คุณ พุทธันดร ๕๐๐ บาท

    รวมปัจจัย ๗,๔๓๖.๓๘ บาท จำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้ มีผม และคุณหนุ่มทราบกันเพียง ๒ คนเท่านั้น

    <!-- / message --><!-- sig --><!-- / message --><!-- sig -->
     
  4. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ไม่ใช่ครับ องค์นี้จำได้ว่าคุณแด๋นเคยได้รับไปแล้วครั้งแรกที่เป็นรอบพิเศษเปิดให้กับคณะศิษย์หลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดรบูชากัน ชื่อ พระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์ พิมพ์ฐานบัวกลม เนื้อมวลสารค่อนข้างหยาบกว่า แบบพิมพ์ฐานบัวเหลี่ยม แต่มีขนาดที่ใหญ่กว่าแบบฐานบัวเหลี่ยม และพบว่ามีปริมาณที่น้อยกว่าแบบฐานบัวเหลี่ยมมากมาย แต่แบบฐานบัวเหลี่ยมก็ใช่ว่าจะพบได้ง่ายๆครับ
     
  5. พุทธันดร

    พุทธันดร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    565
    ค่าพลัง:
    +3,969
    ถ้างั้นก็ขอองค์ที่คุณเพชรบอกว่าจะเก็บไว้ให้
    และต้องโอนเงินเท่าไหร่คะ
     
  6. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    วัดสี่มุมเมืองวัดสุดท้ายแล้วครับ ..

    วัดมหาวัน
    ตั้งอยู่เลขที่ ๒ บ้านมหาวัน ถนนจามเทวี หมู่ที่ ๓ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๕ ไร่ ๑ งาน ๖๒ ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือจรดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้จรดทางสาธารณประโยชน์ - ถนนจามเทวี ทิศตะวันออกจรดทางสาธารณประโยชน์ - คูเมืองส่งน้ำ ทิศตะวันตกจรดทางสาธารณประโยชน์ อาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ วิหาร ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ หอระฆัง หอไตร ปูชนียวัตถุมี พระพุทธรูปพระประธานสร้างด้วยอิฐถือปูน ศิลปะลานนาไทย และเจดีย์ก่ออิฐถือปูนศิลปะลานนาไทย

    ตั้งอยู่ใกล้คูเมือง ด้านทิศตะวันตก ถ.จามเทวี ในเขตเมืองลำพูน วัดมหาวันสร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.๑,๒๐๐ สร้างขึ้นเป็นพระอารามหลวง ในสมัยพระนางจามเทวีครองหริภุญไชย พระนางจามเทวีนั้นเดิมอยู่ที่อาณาจักรละโว้ เมื่อฤาษีวาสุเทพสร้างหริภุญไชยขึ้น พระนางจามเทวีได้เสด็จมาปกครองเป็น ปฐมกษัตริย์แห่งอาณาจักรหริภุญไชย เมื่อพระนางจามเทวีเสด็จมาหริภุญไชยนั้นได้พาไพร่พลที่มีความรู้สาขาต่างๆ พร้อมพระสงฆ์ ประมาณ 500 องค์มาด้วย รวมทั้งอัญเชิญพระพุทธรูปสำคัญอีก 2 องค์ คือ พระแก้วขาว (พระเสตังคมณี) และพระศิลาดำ (พระพุทธสิกขี) เมื่อถึงหริภุญไชย พระนางจามเทวีโปรดให้สร้างวัดมหาวัน เพื่อให้เป็นที่จำพรรษาของพระสงฆ์และนำพระศิลามาประดิษฐานไว้ด้วย (ส่วนพระแก้วขาวนั้นพระเจ้าเม็งรายแห่งล้านนาได้อัญเชิญไปเป็นพระพุทธรูปประจำพระองค์ และประดิษฐานไว้ที่วัดเชียงมั่น ใน จ.เชียงใหม่ จนถึงปัจจุบัน) ต่อมาหริภุญไชยเกิดสงครามกับขุนลัวะวิลังขะ พระฤาษีจึงใช้พระศิลาดำเป็นต้นแบบสร้าง พระเครื่องแจกจ่ายชาวเมืองเพื่อใช้ออกศึก พระเครื่องส่วนที่เหลือบรรจุไว้ในเจดีย์ที่วัดมหาวัน ต่อมา ในยุคหลัง เมื่อเจดีย์บรรจุพระปรักหักพังลง ชาวบ้านจึงพบพระเครื่องที่เก็บไว้ต่างนำกันไปบูชาและ พบกับอิทธิปาฏิหารย์ต่างๆ พระเครื่องเหล่านี้คือ พระรอดมหาวันที่โด่งดังนั่นเอง

    ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๒๓๕๗ สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระบัญชาให้เจ้าหลวงเศรษฐีคำผั้น นำชาวบ้านมาตั้งเมืองลำพูนใหม่ และได้ฟื้นฟูวัดวาอารามต่างๆ ให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น ต่อมาเมื่อท่านเจ้าคุณพระญาณมงคล (ฟู อภิชโย) ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส ได้ขออนุญาตเปลี่ยนนามวัดใหม่ชื่อว่าวัดมหาวัน และได้พัฒนาวัดทั้งด้านวัตถุและการศึกษาตลอดมาจนถึงสมัยพระญาณมงคล (ชุมพล ชุตินฺธโร) ได้รับคัดเลือกจากกรรมการศาสนาให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ชาวบ้านเรียกว่าวัดประตูมหาวัน ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.๒๔๓๗

    ชั่วโมงเซียน : พระรอด วัดมหาวัน จ.ลำพูน ​


    [​IMG]วัดมหาวัน จ.ลำพูน พระอารามที่มีชื่อเสียงเลื่องลือไป ทั่วทุกภูมิภาคของเมืองไทย ทั้งนี้มิใช่เพราะเรื่องอื่นใด นอกจากเพียงประการเดียวคือ เป็นแหล่งกำเนิดของ "พระรอด" ซึ่งเป็นหนึ่งในพระเครื่องชุดเบญจภาคี
    พระรอด วัดมหาวัน มีพระพุทธศิลป์เป็นยุคสมัยทวาราวดี ประทับนั่งปางมารวิชัยและขัดเพชรบนฐานบัว ๒ ชั้น ด้านหลังขององค์พระเป็นปรกโพธิ์เรียงตั้งแต่หัวเข่าขององค์พระขึ้นเป็นซุ้มครอบองค์พระ จำนวนใบโพธิ์และเอกลักษณ์ของ ก้านโพธิ์ที่ชัดเจนในแต่ละพิมพ์จะมีจำนวนไม่เท่ากัน ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของพระรอดในแต่ละพิมพ์

    การขุดหาพระรอดมีกันหลายครั้งหลายหน จนประมาณครั้งมิได้ เท่าที่สืบทราบมีดังนี้

    การพบกรุพระรอดในสมัยเจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร เมื่อปี ๒๔๓๕-๒๔๔๕ พระเจดีย์มหาวันชำรุดทรุดโทรมและพังทลายลงมาเป็นส่วนมาก ดังนั้น เจ้าเหมพินธุไพรจิตร จึงดำริให้มีการบูรณะปฏิสังขรณ์องค์พระเจดีย์ขึ้นใหม่ โดยการสร้างสวมครอบองค์เดิมลงไป ส่วนเศษปรักหักพังที่กองทับถมกันอยู่นั้น ได้จัดการให้โกยเอาไปถมหนองน้ำซึ่งอยู่ระหว่างหอสมุดของวัด โอกาสนั้นได้พบพระรอดเป็นจำนวนมากมายภายในกรุพระเจดีย์มหาวัน [​IMG]

    พระรอดส่วนหนึ่งได้รับการบรรจุ กลับคืนเข้าไปในพระเจดีย์ตามเดิม อีกส่วนหนึ่งมีผู้นำไปสักการบูชา และส่วนสุดท้ายได้ปะปนกับสร้างกรุและ เศษดินทรายจมอยู่ในหนองน้ำดังกล่าว

    การพบพระรอดในกรุสมัยเจ้าหลวง อินทรยงยศ ประมาณปี ๒๔๕๑ ครั้งนั้น เจ้าหลวงอินทรยงยศ ได้พิจารณาเห็นว่า มีต้นโพธิ์ขึ้นแทรกตรง บริเวณฐานมหาวัน และรากชอนลึกลงไปภายใน องค์พระเจดีย์มหาวัน ทำให้มีรอยร้าว ชำรุดหลายแห่ง จึงให้ช่างรื้อฐานรอบนอกพระเจดีย์ออกเสีย แล้วปฏิสังขรณ์ใหม่ การกระทำครั้งนี้พบพระรอดซึ่ง เจ้าเหมพินธุไพจิตรรวบรวม บรรจุไว้ในคราวบูรณะครั้งใหญ่ จำนวน ๑ กระเช้าบาตร (ตะกร้าบรรจุข้าวตักบาตร) จึงได้นำมาแจกจ่ายแก่บรรดาญาติวงศ์ (เจ้าหลวงจักรคำ ขจรศักดิ์ ผู้เป็นบุตร ในสมัยนั้นยังเป็นหนุ่ม ก็ได้รับพระรอดจากเจ้าพ่อไว้เป็นจำนวนมาก และเป็นมรดกตกทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้) ทั้งได้จัดพิธีสร้างพระรอดรุ่นใหม่ขึ้นบรรจุไว้แทน ส่วนฐานพระเจดีย์ที่ปฏิสังขรณ์ใหม่นั้นก็ขยายกว้างขึ้นกว่าเดิม
    การขุดหาพระรอดในฤดูแล้ง นับแต่สมัยปฏิสังขรณ์มหาวันเจดีย์เป็นต้นมา นับวันยิ่งมีผู้ศรัทธาเลื่อมใสในคุณวิเศษของพระรอดอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น เพราะคุณวิเศษของพระรอดเป็นมหัศจรรย์อย่างสูงแก่ผู้มีไว้สักการบูชา จึงมีผู้พากันมาขุดหา พระรอดภายในบริเวณอุปจารของวัด ตรงบริเวณที่เคยเป็นแอ่งน้ำ ได้พระรอดขึ้นมาเป็นจำนวนมาก ต่อไปก็ขยายบริเวณการขุดออกไปอย่างกว้างขวางทั่วอุปจารของวัด และได้กระทำติดต่อกันมานานปีจนกลายเป็นประเพณีกลายๆ ของชาวลำพูน คือ

    ในฤดูแล้งภายหลังการเก็บเกี่ยวแล้ว คือระหว่างเดือน ๔ ถึงเดือน ๖ ของทุกปี จะมีชาวบ้านมาขุดหาพระรอดกันในวัดมหาวัน จนพื้นที่ของวัดเต็มไปด้วยหลุมบ่อ ทางวัดจึงห้ามการขุด

    การขุดพบพระรอดปี ๒๔๙๘ เนื่องจากมีการปฏิสังขรณ์กุฏิเจ้าอาวาสวัดมหาวัน ในการขุดดินเพื่อลงรากฐานการก่อสร้างด้านหน้าและใต้ถุนกุฏิ พบพระรอดประมาณ ๒๐๐ องค์เศษ ทุกองค์จัดว่าเป็นพระรอดที่เนื้องามทั้งสิ้น มีวรรณะผุดผ่องงดงามยิ่งนัก และมีหลายพิมพ์ทรงแทบจะไม่ซ้ำกันเลย ได้เริ่มขุดในเดือนมกราคม สิ้นสุดในเดือนสิงหาคม

    [​IMG]นอกจากพระรอดแล้ว ยังขุดได้พระเครื่องสกุลลำพูนอีกหลายชนิด เช่น พระคง พระบาง พระเลี่ยง พระสาม พระสิบ พระสิบสอง พระงบน้ำอ้อย พระกล้วย พระกวาง และพระแผ่นทอง เป็นต้น

    ต่อมามีการขุดพบพระรอดในปี ๒๕๐๖ ทางวัดมหาวันได้เริ่มการรื้อ พระอุโบสถเพื่อปฏิสังขรณ์ พบพระรอดประมาณ ๒๐๐ องค์เศษ ภายใต้พื้นพระอุโบสถนั้น พระรอดจำนวนหนึ่งมีผู้นำมาจำหน่ายในกรุงเทพฯ ในราคาสูงมาก ส่วนมากเป็นพระชำรุดและเนื้อไม่จัด ยิ่งกว่านั้น บางองค์ที่พระพักตร์ชัดเจน จะมีลักษณะพระเนตร พระนาสิก พระโอษฐ์โปนเด่น ๖ นิ้ว

    พระรอดได้ขุดพบที่วัดมหาวัน พุทธศิลป์อยู่ในยุคกลางของสมัยหริภุญไชย (ลำพูน) อาณาจักรหริภุญไชย สร้างขึ้นราวต้นศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ เป็นอาณาจักรของ กลุ่มชนมอญโบราณ ทางภาคเหนือของประเทศไทย นับถือพระพุทธศาสนาหินยาน ใช้ภาษาบาลีจดคำสอนทางศาสนา ได้มีการกำหนดอายุและ ศิลปะพระรอดว่า สร้างในสมัยกษัตริย์จามเทวี เป็นยุคต้นของสมัยหริภุญไชย มีศิลปะสมัยทวารวดี

    ในทางพุทธศิลป์แล้ว พระรอดน่าจะมีอายุอยู่ในช่วงหลังสมัยทวาราวดี รูปแบบของพระรอดคือประทับพระบาทสมาธิเพชร (ท่านั่งขัดเพชร) ในสมัยทวาราวดีสร้างพระพุทธรูปนั่งขัดหลวมและหงายฝ่าพระบาทกางออก และไม่ปรากฏพระพุทธรูปนั่งขัดเพชรในศิลปะทวาราวดี พระพุทธรูปนั่งขัดเพชรเป็นแบบอย่างเฉพาะของพระพุทธรูปอินเดียฝ่ายเหนือ (มหายาน) พระพุทธรูปและพระเครื่องในลำพูนได้ปรากฏศิลปะสมัยต่างๆ รวมอยู่หลายสมัย คือ สมัยทวาราวดี ลพบุรี แบบหริภุญไชย พุกาม อู่ทองและสมัยล้านนา

    พระรอด วัดมหาวัน มีทั้งหมด ๕ พิมพ์ คือ
    ๑.พระรอด พิมพ์ใหญ่
    ๒.พระรอด พิมพ์กลาง
    ๓.พระรอด พิมพ์เล็ก
    ๔.พระรอด พิมพ์ต้อ
    ๕.พระรอด พิมพ์ตื้น

    ในอดีตสีพระรอดที่สวยจะต้องเป็นพระรอดสีเขียว มีความคมชัดในทุกรายละเอียด แต่ในปัจจุบันสีไม่ใช่เครื่องชี้วัดความสวยงามและ ความสูงค่าขององค์พระรอด ต้องดูที่ความสวยงามทั้งองค์เท่านั้น

    สีของพระรอด มีประมาณ ๔ สี คือ
    ๑.พระรอดสีขาว เนื่องจากพระรอดเป็นพระที่สร้างจากเนื้อดิน ซึ่งเชื่อว่าเป็นดินในจังหวัดลำพูนหรือจังหวัดใกล้เคียง มีสีขาว เป็นเนื้อดินที่สะอาดและละเอียด จนมีคนเข้าใจว่ากรรมวิธีการนวดดินนั้น น่าจะผ่านการกรองผ้าขาวจนกระทั่งไม่มีสิ่งเจือปนใดๆ ทั้งสิ้น บางท่านสันนิษฐานว่า อาจจะเป็นดินที่ขุดได้จากดินที่ตกตะกอนในธารน้ำไหลภายในถ้ำ จึงสะอาดและไม่มีสิ่งเจือปนใดๆ ทั้งสิ้น
    พระรอดสีขาว ควรจะเป็นพระที่อยู่ในบริเวณเตาเผาที่ไม่ถูกความร้อนมากเท่าที่ควร เนื้อพระจึงเป็นสีขาวเพราะไม่สุก และไม่แกร่งเท่าพระรอดสีอื่นๆ จึงมีขนาดค่อนข้างใหญ่ แต่มักจะไม่คมชัดเท่าที่ควร

    ๒.พระรอดสีแดง เป็นพระรอดที่เผาสุกเรียบร้อยแล้ว จึงมีขนาดเล็กลง กว่าพระรอดสีขาว มีความคมลึกและชัดเจนเช่นพระรอดสีอื่นๆ

    ๓.พระรอดสีเหลือง เป็นพระรอดที่เผาได้แกร่งกว่าพระรอดสีแดง จึงมีขนาดขององค์พระเล็กกว่า พระรอดสีแดงเล็กน้อย ตามทฤษฎีจะมีความคมลึกและชัดมากกว่าพระรอดสีแดง

    ๔.พระรอดสีเขียว เป็นพระรอดที่มีความแข็งแกร่งมากที่สุด มีการหดตัวเล็กลงจากพระรอดสีเหลือง มีความคมชัดที่สุดในจำนวนพระรอด เนื่องมาจากการหดตัวเมื่อเกิดความร้อนจัด เพราะความแหลมคมจึงอาจทำให้พระรอดสีเขียวดูไม่ล่ำสันเท่ากับพระรอดสีแดงและสีเหลือง

    นอกจากนี้พระรอดสีเขียวยังมีสีเขียวที่แตกต่างกันไปเป็นลำดับ จากพระรอดสีเขียวคาบเหลือง เป็นพระรอดสีเขียว และเป็นพระรอดสีเขียวเข้ม จนมีขนาดเล็กที่สุดคือ พระรอดสีเขียวเข้มจนเกือบดำ

    พุทธศิลป์ของพระรอด วัดมหาวัน เป็นพระที่แกะแม่พิมพ์ได้ลึกมาก มีพระพักตร์ที่มีรายละเอียดครบถ้วน พระเนตรโปนภายในกรอบพระเนตร มีจมูกใหญ่และริมฝีปากหนาตามพุทธสมัย สมัยทวาราวดี พระกรรณแนบอยู่ข้างพระเศียรทั้งสองข้าง พระบาทนั่งขัดเพชรเป็นรูปพระบาทอย่างชัดเจน ฝ่าพระหัตถ์วางลงบนตักมีนิ้วหัวแม่โป้งกางออกและนิ้วมือครบทั้ง ๔ นิ้ว

    เนื่องจากสัณฐานของพระรอดมีทรงที่สูงเล็กน้อย กรรมวิธีการสร้างและกดพิมพ์ด้วยนิ้วมือที่ปั้นเป็นหลังของพระรอดนูนโค้ง โดยไม่มีการตัดขอบ การถอดแม่พิมพ์นั้นกดจากส่วนใต้ฐานขององค์พระขึ้นไป จึงมักจะทำให้เกิดรอยครูดของแม่พิมพ์ขึ้น เพราะฉะนั้น ถ้าพระส่วนฐานและฝ่าพระบาทคมชัด พระเศียรขององค์พระตรงส่วนคางจะครูดขึ้นเล็กน้อย แต่ถ้าพระเศียรขององค์พระเต็ม ไม่มีรอยครูด พระหัตถ์ขององค์พระจะมีรอยกดแบนหรือครูดไปละเอียดครบถ้วน มีนวลดินเดิมในกรุจับอยู่บางๆ เท่านั้นhttp://www.komchadluek.net/column/pra/2004/05/31/02.php
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอผมไปดูก่อนนะครับ แล้วจะถ่ายภาพ post ให้ชมกัน
     
  8. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    <CENTER>ตำนาน
    พระเสตังคมณี(พระแก้วขาว) </CENTER>




    <DD>พระแก้วขาว หรือพระเสตังคมณี เป็นพระพุทธรูปที่นับถือกันว่ามีความศักดิ์สิทธ์ สามารถคุ้มครองป้องกันอันตรายและอำนวยความสุขสวัสดิ์มงคลแก่ผู้ที่เคารพสักการะได้และปรากฏว่า ในอดีตกาลเป็นพระพุทธรูปสำหรับบูชา ประจำพระองค์ของพระนางจามเทวีปฐมกษัตริย์ผู้ครองนครหริภุญไย และพระเจ้าเม็งรายมหาราช(หรือพระเจ้ามังราย) ปฐมวงศ์เม็งราย ผู้สถาปนอาณาจักรล้านนาไทย และกษัตริย์ผู้ครองหริภุญไชย และนครเชียงใหม่ ในยุคต่อๆ มา ก็นับถือเป็นพระพุทธรูปบูชาประจำพระองค์ทั้งสิ้น




    <DD><DD>พระพุทธรูปองค์นี้ ในตำนานได้กล่าวถึงการสร้างใว้ว่า เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานล่วงแล้ว ๗๐๐ ปี ในวันเพ็ญเดือน ๗ พระสุเทวฤาษีได้เอาดอกจำปา ๕ ดอก ขึ้นไปบูชาพระจุฬามณียังดาวดึงษ์สวรรค์ ได้พบปะสนทนาด้วยพระอินทร์ๆ ก็บอกกล่าวแก่สุเทวฤาษีว่า ปีนี้ในเดือนวิสาขะเพ็ญ ที่ลวะรัฏฐะจะสร้างพระพุทธรูปปฏิมากรด้วยแก้วขาว ครั้งสุเทวฤาษีกลับจากดาวดึงษ์เทวโลกแล้ว จึงไปสู่เมืองละโว้ ขณะนั้น พระยารามราชเจ้าเมืองละโว้กับพระกัสสปเถระเจ้าปรารถการที่จะสร้างพระแก้ว ซึ่งพระอรหันต์ไปได้แก้วขาวบริสุทธิ์บุษยรัตน์มาจากจันทเทวบุตร แล้วขอพระวิศนุกรรมมาเนรมิต สำเร็จรูปเป็นองค์พระพุทธปฎิมากรสุเทวฤาษีและฤาษีอื่นๆ ก็ได้มาประชุมช่วยในการสร้างพระด้วย ครั้งสำเร็จแล้วก็บรรจุพระบรมธาตุ ๔ องค์ ไว้ในพระโมลี(กระหม่อม) ๑ พระนลาต(หน้าผาก)1 พระอุระ(หน้าอก)1 พระโอษฐ์(ปาก) ๑ รวม ๔ แห่ง




    <DD>เมื่อสร้างเสร็จแล้ว พระแก้วขาวก็ได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองละโว้สืบมาเป็นเวลานาน มาถึงสมัยเมื่อพระฤาษีสร้างนครหริภุญไชยขึ้นแล้ว ใช้ให้ควิยะอำมาตย์ ไปเชิญพระนางจามเทวี ซึ่งเป็นราชธิดาของพระเจ้ากรุงละโว้ มาครองเมืองหริภุญไชย พระนางจึงขออนุญาตจากพระราชบิดา นิมนต์พระภิกษุสงฆ์สามเณร และพระเสตังคมณี(พระแก้วขาว) มาเป็นพระพุทธรูปประจำพระองค์ พระแก้วขาวจึงได้ประดิษฐาน ณ นครลำพูน แต่นั้นมาเป็นเวลานานหลายร้อยปี บรรดากษัตริย์ครองเมืองหริภัญไชย(ลำพูน) ทั้งวงศ์เดียวกับพระนางจามเทวีและต่างวงศ์ ต่างก็ได้เคารพบูชาเป็นประจำองศ์มาทุกวงศ์ และได้สร้างหอพระปริดิษฐ์ไว้ในพระราชวัง




    <DD><DD>พระเสตังคมณีประดิษฐานอยู่ ณ เมืองลำพูนตลอดมาจนกระทั่งถึง รัชสมัยของพระยายีบาเป็นกษัตริย์ครองเมือง ในครั้งนั้นพระเจ้าเม็งรายซึ่งเป็นเจ้าครองนครเงินยวง(เชียงแสน) ได้ยกกองทัพไปปราบบ้านเล็กเมืองน้อยต่างๆ ที่ยังแข็งเมืองอยู่ให้เข้ารวมอยู่ไปอำนาจของพระองค์จนหมดสิ้นแล้ว แต่นครหริภุญไชยครั้งนั้นมีกำลังเข็มแข็งมาก พระองค์จึงคิดอุบายให้ขุนอายฟ้าเห็นราชวัลลภคนสนิท ไปทำการจารกรรมนานถึง ๗ ปี ขุนอ้าว จึงส่งข่าวไปให้พระเจ้าเม็งรายให้ยกกองทัพมาตีหริภุญไชย พ.ศ. ๑๘๒๔ ชาวเมืองที่ไม่ยอมทิ้งเมืองทำการต่อสู้ พระเจ้าเม็งรายต้องใช้ธนูเพลิงยิงเข้าไป ทำให้เกิดเพลิงไหม้ทั้งเมือง ในที่สุดก็พ่ายแพ้แก่กองทัพแก่กองทัพพระเจ้าเม็งราย




    <DD>เมื่อยกเข้าเมืองได้แล้ว พระเจ้าเม็งรายจึงเสด็จออกตรวจดูความเสียหาย สี่งที่ทำให้พระองค์ทรงประหลาดพระทัยที่สุดคือ หอพระซึ่งอยู่ในบริเวณพระราชวังของพระยายีบาหาได้ถูกเพลิงไหม้ไม่ แต่บริเวณรอบๆ นั้นถูกเพลิงเผาผลาญพินาศหมด พระองค์จึงเข้าไปทอดพระเนตรดู เห็นพระแก้วขาวสถิตย์อยู่ ณ ที่นั้น ก็เกิดมีพระราชศรัทธาปสาทะเป็นอันมาก จึงอัญเชิญองค์พระแก้วขาวมาประดิษฐาน ณ ที่ประทับของพระองค์ ทรงเคารพสักการะบูชาเป็นพระพุทธรูปประจำพระองค์แต่นั้นมา
    edit @ 2005/06/18 15:36:19



    <DD>http://boonchoo.exteen.com/20050618/entry-6

    ผมพบข้อมูลว่า พระรอดมหาวันนั้น มีต้นแบบมาจากพระเสตังคมณีพระแก้วขาวองค์นี้นั่นเอง รูปพักตร์ต่างๆถูกจำลองมาสร้างเป็นพระรอด..ลองพิจารราดูจากภาพนะครับ


    <DD>[​IMG]


    </DD>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มิถุนายน 2008
  9. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร

    [​IMG]


    วัดพระธาตุหริภุญชัย เป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชนิดวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ใจกลางเมืองลำพูนมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ ๒๗ ไร่ ๓ งาน ๘๘ ตารางวา ทิศเหนือ จรดถนนอัฏฐารส ทิศใต้ จรดถนนสุพรรณรังษี ทิศตะวันออก จรดประตูท่าสิงห์ ทิศตะวันตก จรดถนนอินทยงยศ วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ในรัชสมัยของพญาอาทิตยราช กษัตริย์แห่งราชวงศ์จามเทวีวงศ์ โดยที่แห่งนี้ เคยเป็นพระราชฐานของพระองค์ซึ่งพระราชทานอุทิศถวายให้เป็นวัดพระธาตุฯ เพื่อเป็นพุทธบูชาหลังจากที่พระบรมสารีริกธาตุได้ปรากฏ ให้พระองค์ได้ทอดพระเนตรในบริเวณดังกล่าวโบราณสถานที่สำคัญในวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร


    <TABLE class=NOBORDER borderColor=#000000 cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center background="" border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]



    </TD><TD>[​IMG]



    </TD></TR></TBODY></TABLE>​

    1. พระธาตุหริภุญชัย เป็นโบราณสถานอันสำคัญของนครหริภุญชัยที่พญาอาทิตยราชเป็นผู้สถาปนาขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ ๑๗ เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ อันมี ธาตุกระหม่อม ธาตุกระดูกอก ธาตุกระดูกนิ้วมือ และธาตุย่อยอีกเต็มบาตรหนึ่ง ตามพุทธทำนายลักษณะทางสถาปัตยกรรมขององค์พระธาตุหริภุญชัย ตามที่ปรากฏในหนังสือตำนาน พระธาตุหริภุญชัย กล่าวว่า มีลักษณะ เป็นสถูปสี่เหลี่ยมทรงปราสาท ที่มีซุ้มทวาร เข้า- ออกทะลุกันได้ทั้งสี่ด้าน มีปราสาท สี่เหลี่ยมอยู่ตรงมุมละองค์ก่อด้วยศิลาแลงซึ่งเป็นวัตถุดิบที่มีมากอยู่ในเมืองนี้ ภายในเป็นแท่น สำหรับประดิษฐาน พระโกศที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ในสมัยของพญาสรรพสิทธิ์ กษัตริย์แห่งราชวงศ์จามเทวีวงศ์ ทรงโปรดให้ปฏิสังขรณ์เจดีย์เดิมที่พญาอาทิตยราชทรงสร้างไว้และได้ขุดร่อง ทวารประตูเข้า-ออก ทั้งสี่เพื่อความปลอดภัย รูปทรงสันฐานขององค์พระบรมธาตุยังคงเป็นลักษณะเดิม คือ เป็นทรงปราสาทสี่เหลี่ยมที่กว้างใหญ่ และสูง พระธาตุเจ้าหริภุญชัยเป็นที่ เคารพสักการบูชาของชาวลำพูนและชาวเมืองเหนือมาแต่โบราณกาล ตราบเท่าทุกวันนี้

    [​IMG]

    2. สุวรรณเจดีย์หรือปทุมวดีเจดีย์ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือขององค์พระธาตุหริภุญชัย เป็นเจดีย์ที่มีลักษณะการก่อสร้างแบบเดียว กับ เจดีย์สี่เหลี่ยมหรือเจดีย์กู่กุดที่วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน องค์เจดีย์สร้างด้วยศิลาแลงและอิฐ เป็นเจดีย์ทรงปราสาทมีฐานสี่เหลี่ยมซ้อนชึ้นไป ห้าชั้น แต่ละชั้นประดับซุ้มจระนำทั้งสี่ด้าน ด้านละสามซุ้ม ภายในซุ้มจะประดิษฐานพระพุทธรูปดินเผาประทับยืนประทับอยู่ ซึ่งมีร่องรอย ของการลงรักปิดทอง ปัจจุบันเหลือให้เห็นเพียงไม่กี่องค์ ส่วนบนสุดของเจดีย์เป็นกลีบบัวปูนปั้นหุ้มด้วยโลหะแผ่น ส่วนยอดปลายสุดทำเป็น กรวยแหลมเรียวยาวขึ้นไปสุวรรณเจดีย์องค์นี้มีพระพิมพ์ที่สำคัญและมีชื่อเสียงของเมืองลำพูนบรรจุอยู่ภายใน คือ พระเปิม
    [​IMG]

    3. หอระฆัง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือขององค์พระธาตุหริภุญชัย เป็นหอสำหรับแขวนระฆังและกังสดาลขนาดใหญ่ สร้างขึ้นโดย พระครูพิทักษ์เจติยานุกิจ (ครูบาคำฟู) เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๑ ด้านบนแขวนระฆังขนาดใหญ่ซึ่งหล่อ
    ขึ้นในสมัยเจ้าหลวงดาราดิเรกรัตนไพโรจน์ เจ้าผู้ครองนครลำพูน องค์ที่ ๗ และชั้นล่างห้อยกังสดาลขนาดใหญ่ซึ่งหล่อขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓ ฝีมือครูบาสูงเม่นโดยกัญจนมหาเถระ เจ้าอาวาส วัดป่าเมืองแพร่ และเจ้าหลวงเมืองเชียงใหม่ เป็นศรัทธาสร้างหล่อกังสดาลนี้ ในวัดพระสิงห์เมืองเชียงใหม่เพื่อไว้เป็นเครื่องบูชาพระธาตุหริภุญชัย



    พระธาตุหริภุญชัยเป็นปูชนียสถานที่สำคัญของจังหวัดลำพูน และของประเทศไทย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงวินิจฉัยถึงจอมเจดีย์

    ในทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีของไทยว่ามีอยู่แปดองค์และได้จำลองเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร คือ

    พระธาตุหริภุญชัย จังหวัดลำพูน
    พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม
    พระธาตุพนม จังหวัดนครพนม
    พระศรีรัตนมหาธาตุเมืองเชลียง จังหวัดสุโขทัย
    พระมหาธาตุเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
    พระมหาธาตุเมืองศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
    พระเจดีย์ชัยมงคล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
    พระธาตุเมืองละโว้ จังหวัดลพบุรี

    สถานที่ตั้งพระธาตุหริภุญชัย ประดิษฐานอยู่ในบริเวณวัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร ซึ่งเป็นพระอารามหลวงชั้นเอกตั้งอยู่ในกลางเมืองลำพูน บนเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ภายในวัดมีโบราณสถานที่สำคัญหลายแห่งที่สำคัญยิ่ง คือพระธาตุหริภุญชัย ซึ่งเป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา
    ของล้านนาร่วมสิบศตวรรษ

    ลักษณะพระธาตุหริภุญชัย
    พระธาตุหริภุญชัย เป็นเจดีย์พระธาตุ ซึ่งมีลักษณะทางสถาปัตยกรรม ดังนี้

    ส่วนฐานชั้นล่างสุด เป็นฐานเขียง ซึ่งมีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมซ้อนกันขึ้นไป ๓ ชั้น ถัดจากฐานเขียง เป็นฐานบัวลูกแก้วหรือฐานปัทม์

    ส่วนกลาง เป็นชั้นที่ถัดจากบัวลูกแก้วขึ้นไป ทำเป็นฐานเขียงกลมซ้อนกัน ๓ ชั้น และถัดขึ้นไปทำเป็นฐานกลมมีลักษณะ คล้ายมาลัยเถาซ้อนกัน ๓ ชั้นรองรับองค์ระฆังส่วนกลาง โดยรอบระฆังทำเป็นลายดุนรูปดอกไม้สี่กลีบ และระหว่างลายดอกไม้สี่กลีบ มีการทำเป็นลายดุนนูน เป็นรูปพระพุทธรูป

    ส่วนบนถัดจากองค์ระฆังขึ้นไปเป็นส่วนบัลลังก์ก้านฉัตรปล้องไฉน ปลียอดบนสุดเป็นฉัตร ๙ ชั้น

    องค์ประกอบทั่วไปของพระธาตุหริภุญชัย
    พระธาตุหริภุญชัย ในปัจจุบัน เป็นทรงลังกาหรือทรงระฆังมีส่วนสูง ๒๕ วา ๒ ศอก ฐานกว้าง ๑๒ วา ๒ ศอก ๑ คืบ องค์ประกอบทั่วไป
    ของพระธาตุหริภุญชัย มีดังนี้

    ๑. สัตติบัญชร (ระเบียงหอก) ล้อมรั้งไว้ ณ ฐานชั้นล่าง ๒ ชั้น

    ๒. สำเภาทอง ประดิษฐานอยู่ประจำรั้วชั้นนอกในทิศเหนือและทิศใต้ ตามคติจักรวาลในการสร้างวัดสมัยโบราณ

    ๓. ซุ้มกุมภัณฑ์ (ยักษ์) สร้างไว้ประจำมุมทั้ง ๔ ทิศ ตามคติความเชื่อในท้าวกุมภัณฑ์เป็นผู้คุ้มครองสถานที่

    ๔. ฉัตรอันเป็นเครื่องสูง ใช้ปักเป็นเกียรติยศ ซึ่งฉัตรแบบร่มใช้ถวายเป็นพุทธบูชานิยมใช้เพียงชั้นเดียวมีลวดลาย
    แกะสลักซับซ้อนฝีมือละเอียดประดับไว้ตามมุมทั้ง ๔ ทิศ

    ๕. หอยอสร้างประจำทั้ง ๔ ภายในหอยอมีพระพุทธรูปนั่งประจำหอยอทุกหอ

    ๖. โดมที่ประทับและแท่นบูชาจะก่อสร้างประจำไว้เพื่อใช้เป็นที่สักการบูชา
    http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~cturdsak/pratad.htm

    พระธาตุประจำปีเกิด เป็นความเชื่อที่มีต้นกำเนิดมาจากล้านนา ดังนั้นพระธาตุประจำปีเกิด จึงมักจะอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ชาวล้านนามีความเชื่อว่า..คนเราควรจะไปไหว้พระธาตุประจำปีเกิดสักครั้งในชีวิต ก็เพื่อความเป็นสิริมงคลในชีวิต

    ส่วนคำว่า ” พระธาตุ ” ที่เราพูดถึงกันนั้น ก็หมายถึงพระบรมสารีริกธาตุ หรือกระดูกของพระพุทธเจ้า และรวมไปถึงเจดีย์ที่บรรจุพระบรมสาริกธาตุอีกด้วย ดังนั้นหลายคนจึงเรียกรวมๆ กันว่าพระธาตุฯ จากเรื่องเล่ากันมาได้กล่าวไว้ว่า สถานที่ต่างๆ ที่ได้มีการสร้างพระธาตุขึ้นมานั้นในภายหลังนั้น ก็เพราะว่าพระพุทธเจ้าได้เคยเสด็จไปโปรดสัตว์ตามสถานที่นั้นๆ มาแล้ว ดังนั้นใครที่ได้มีโอกาสไปกราบไหว้สักการะถึงว่าเป็นสิริมงคลแก่ชีวิต

    ปีชวด (ปีหนู).. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุศรีจอมทอง อ. จอมทอง จ. เชียงใหม่ องค์พระบรมธาตุนี้ คือส่วนพระเศียรเบื้องขวา

    ปีฉลู (ปีวัว) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุลำปางหลวง อ. เกาะคา จ. ลำปางพระอรหันต์ได้นำพระธาตุหน้าผาก และพระธาตุลำคอมาประดิษฐานที่นี่
    <SHAPE id=_x0000_i1027 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีขาล (ปีเสือ) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุช่อแฮ อ. เมือง จ. แพร่ พระธาตุที่ประดิษฐานอยู่ที่นี่ คือพระธาตุข้อศอกข้างซ้าย
    <SHAPE id=_x0000_i1030 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีเถาะ (ปีกระต่าย) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุแช่แห้ง อ. เมือง จ. น่านที่แห่งนี้เป็นที่ประดิษฐานพระธาตุข้อมือข้างซ้าย
    <SHAPE id=_x0000_i1031 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีมะโรง (ปีงูใหญ่) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระพุทธสิหิงค์ วัดพระสิงห์ อ. เมือง จ. เชียงใหม่
    <SHAPE id=_x0000_i1026 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีมะเส็ง (ปีงูเล็ก) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระเจดีย์ศรีมหาโพธิ ที่พุทธคยา หรือไหว้ต้นโพธิ์ตามวัดชาวล้านนาเชื่อว่าต้นโพธิ์เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ ช่วยขจัดความทุกข์ได้ จึงมีประเพณีถวายไม้ค้ำโพธิ์ การบูชาพระศรีมหาโพธิที่พุทธคยา สามารถบูชาต้นโพธิ์ที่วัดมหาโพธาราม จ.เชียงใหม่ ได้เช่นกัน
    <SHAPE id=_x0000_i1032 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีมะเมีย (ปีม้า) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุย่างกุ้ง หรือชเวดากอง ประเทศพม่า หรือไหว้พระธาตุเจดีย์ชเวดากอง ที่วัดพระบรมธาตุ อ. บ้านตาก จ. ตาก แทนก็ได้ที่พระธาตุแห่งนี้ประดิษฐานพระเกศาธาตุของพระพุทธเจ้า
    <SHAPE id=_x0000_i1033 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีมะแม (ปีแพะ) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุดอยสุเทพ อ. เมือง จ. เชียงใหม่ ได้มีการอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุสถิตเหนือช้างมงคล ซึ่งเดินมาถึงยอดดอยสุเทพแล้วจึงขุดหลุมประดิษฐานพร้อมก่อพระเจดีย์
    <SHAPE id=_x0000_i1025 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีวอก (ปีลิง) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุพนม อ. ธาตุพนม จ. นครพนม เจดีย์แห่งนี้บรรจุพระอุรังคธาตุ คือกระดูกส่วนหน้าอกของพระพุทธเจ้า
    <SHAPE id=_x0000_i1028 style="WIDTH: 269.25pt; HEIGHT: 13.5pt" type="#_x0000_t75"></SHAPE><IMAGEDATA src="file:///C:\DOCUME~1\ADMINI~1\LOCALS~1\Temp\msohtml1\01\clip_image001.gif" o:href="http://usanee.exteen.com/images/line%20duck.gif"></IMAGEDATA>
    ปีระกา (ปีไก่) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุหริภุญชัย อ. เมือง จ. ลำพูนเป็นที่ประดิษฐานพระสุวรรณเจดีย์ ซึ่งบรรจุพระธาตุกระหม่อม พระธาตุกระดูก พระธาตุกระดูกนิ้วมือ และพระธาตุย่อยอีกเต็มบาตรหนึ่ง

    ปีจอ (ปีสุนัข) .. พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุเกศแก้วจุฬามณี บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สามารถบูชารูป หรือไปไหว้พระเจดีย์ที่วัดเกตุการาม อ. เมือง จ. เชียงใหม่ แทนก็ได้ค่ะพระธาตุเกศแก้วจุฬามณี เป็นที่ประดิษฐานพระทันตธาตุ
    ปีกุน (ปีหมู) ..พระธาตุประจำปีเกิด คือ พระธาตุดอยตุง อ. แม่สาย จ. เชียงราย บรรจุพระบรมสารีริกธาตุพระรากขวัญเบื้องซ้าย หรือกระดูกไหปลาร้า

    http://blog.tourismthailand.org/blog2/?p=18
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 มิถุนายน 2008
  10. ชวภณ

    ชวภณ สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    61
    ค่าพลัง:
    +10
  11. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border: 1px inset ;"> ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"><tbody><tr valign="bottom"><td>[​IMG]</td><td>
    </td><td width="100%">palungjit.org > พลังจิต > พระเครื่อง - วัตถุมงคล </td></tr><tr><td class="navbar" style="font-size: 10pt; padding-top: 1px;" colspan="3">[​IMG]สร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะรับมอบพระธาตุโมคคัลลานะ และพระกรุลำพูนอายุ๕๐๐-๗๐๐ ปี</td></tr></tbody></table>
    http://palungjit.org/showthrea...=1#post1271306
    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td class="alt2" style="border: 1px inset ;">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ :::เพชร::: [​IMG]
    ขอแนะนำผู้ที่ต้องการร่วมบุญถวายพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีเพื่อประดิษฐานเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะอายุ ๕๐๐ ปีนี้

    ๑) สามารถจะร่วมบุญจำนวนเท่าใดก็แล้วแต่ท่าน โดยโอนเข้าบัญชีที่ post ไว้ในหน้าที่ ๑-๒
    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7



    ๒) ผู้ที่มีเกณฑ์พระประจำวันพุธกลางวัน (พระปางอุ้มบาตร) เป็นพระเสวยอายุในปีนี้ ควรจะร่วมบุญนี้ เพราะเหตุว่าพระพุธเป็นพระที่จะดูแลชีวิตความเป็นอยู่ของท่านถึง ๑๗ ปีเลยทีเดียว

    ๓) ผู้ที่ต้องการเสริมดวงทักษาในตำแหน่งต่างๆทางโหราศาสตร์ เช่น อาจจะเป็นศรี หรือเดช หรืออายุ ฯลฯ ก็จะได้กำลังมากขึ้น

    .....................................................................

    การร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรนี้ ผมขอใช้หลักเกณฑ์นี้ครับ

    ๑) ท่านจะร่วมบุญด้วยเท่าไหร่ก็ตามแต่สมัครใจโดยจะบันทึกชื่อไว้ตามลำดับ

    ๒) เมื่อครบตามจำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้แล้วก็จะปิดรายการบุญนี้ทันที

    ๓) ไม่มีวัตถุมงคลมอบให้

    ....................................................................

    รายชื่อผู้ร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะ

    ๑) คุณ :::เพชร::: ๑,๐๐๐ บาท
    ๒) คุณ nongnooo ๕๐๐ บาท
    ๓) คุณ guawn ๑๐๐ บาท
    ๔) คุณ kwok ๔๐๐ บาท
    ๕) คุณ sithiphong - ภรรยา และทั้ง ๒ ครอบครัว ๕๐๐ บาท
    ๖) คุณ newcomer ๓๐๐ บาท
    ๗) คุณ พิมพาภรณ์ ๑๐๐ บาท
    ๘) คุณ aries2947 - ภรรยา และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๙) คุณ marcbangkok ๕๐๐ บาท
    ๑๐)คุณ sira ๒๐๐ บาท
    ๑๑)คุณ ตั้งจิต และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๑๒)คุณ นายคัง และครอบครัว ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๓)คุณ hongsanart ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๔)คุณศิษย์ต่างแดน ๕๑๗.๓๘ บาท
    ๑๕)คุณพรสว่าง_2008 ๓๐๐ บาท
    ๑๖)คุณ chaipat และภรรยา ๑๑๙ บาท

    รวมปัจจัย ๖,๙๓๖.๓๘ บาท จำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้ มีผม และคุณหนุ่มทราบกันเพียง ๒ คนเท่านั้น
    <!-- / message --><!-- sig -->

    </td></tr></tbody></table>
    พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร องค์นี้ สร้างก่อนปีพ.ศ.2428 องค์หลวงปู่พระมูนียะเถระเจ้า(หลวงปู่อิเกสาโร) ท่านอธิษฐานจิต ที่วัดบวรสถานสุทธาวาส (วังหน้า) ครับ

    .
    <!-- / message --><!-- sig -->
    </td> </tr> </tbody></table>
    คุณเพชรครับ

    ผมได้กลิ่นหมากชัดเจนมาก เดินไปบริเวณที่ตั้งองค์ท่าน ก็ได้กลิ่นหมาก ผมลองเดินเข้าไปดมที่องค์พระ ปรากฎว่า กลิ่นยิ่งมีมาก ตอนนี้ก็ได้กลิ่นอยู่ตลอดเวลาครับ

    มาเล่าให้ฟังครับ


    .
     
  12. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอแนะนำผู้ที่ต้องการร่วมบุญถวายพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีเพื่อประดิษฐานเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะอายุ ๕๐๐ ปีนี้

    ๑) สามารถจะร่วมบุญจำนวนเท่าใดก็แล้วแต่ท่าน โดยโอนเข้าบัญชีที่ post ไว้ในหน้าที่ ๑-๒
    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์

    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7



    ๒) ผู้ที่มีเกณฑ์พระประจำวันพุธกลางวัน (พระปางอุ้มบาตร) เป็นพระเสวยอายุในปีนี้ ควรจะร่วมบุญนี้ เพราะเหตุว่าพระพุธเป็นพระที่จะดูแลชีวิตความเป็นอยู่ของท่านถึง ๑๗ ปีเลยทีเดียว

    ๓) ผู้ที่ต้องการเสริมดวงทักษาในตำแหน่งต่างๆทางโหราศาสตร์ เช่น อาจจะเป็นศรี หรือเดช หรืออายุ ฯลฯ ก็จะได้กำลังมากขึ้น

    .....................................................................

    การร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรนี้ ผมขอใช้หลักเกณฑ์นี้ครับ

    ๑) ท่านจะร่วมบุญด้วยเท่าไหร่ก็ตามแต่สมัครใจโดยจะบันทึกชื่อไว้ตามลำดับ

    ๒) เมื่อครบตามจำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้แล้วก็จะปิดรายการบุญนี้ทันที

    ๓) ไม่มีวัตถุมงคลมอบให้

    ....................................................................

    รายชื่อผู้ร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะ

    ๑) คุณ :::เพชร::: ๑,๐๐๐ บาท
    ๒) คุณ nongnooo ๕๐๐ บาท
    ๓) คุณ guawn ๑๐๐ บาท
    ๔) คุณ kwok ๔๐๐ บาท
    ๕) คุณ sithiphong - ภรรยา และทั้ง ๒ ครอบครัว ๕๐๐ บาท
    ๖) คุณ newcomer ๓๐๐ บาท
    ๗) คุณ พิมพาภรณ์ ๑๐๐ บาท
    ๘) คุณ aries2947 - ภรรยา และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๙) คุณ marcbangkok ๕๐๐ บาท
    ๑๐)คุณ sira ๒๐๐ บาท
    ๑๑)คุณ ตั้งจิต และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๑๒)คุณ นายคัง และครอบครัว ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๓)คุณ hongsanart ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๔)คุณศิษย์ต่างแดน ๕๑๗.๓๘ บาท
    ๑๕)คุณพรสว่าง_2008 ๓๐๐ บาท
    ๑๖)คุณ chaipat และภรรยา ๑๑๙ บาท
    ๑๗)คุณ พุทธันดร ๕๐๐ บาท
    ๑๘)คุณ ชวภณ-ภรรยา และครอบครัว ๑,๐๐๐ บาท

    รวมปัจจัย ๘,๔๓๖.๓๘ บาท จำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้ มีผม และคุณหนุ่มทราบกันเพียง ๒ คนเท่านั้น

    ผมคิดว่ายิ่งใกล้จำนวนปัจจัยที่กำหนด กลิ่นหมากจะยิ่งแรงขึ้นๆนะครับ หลวงปู่ท่านคงจะมาโมทนาบุญร่วมกับพวกเรา..
     
  13. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,948
    อ้างอิง:
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=alt2 style="BORDER-RIGHT: 1px inset; BORDER-TOP: 1px inset; BORDER-LEFT: 1px inset; BORDER-BOTTOM: 1px inset">ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ sithiphong [​IMG]
    อ้างอิง:
    คุณเพชรครับ

    ผมได้กลิ่นหมากชัดเจนมาก เดินไปบริเวณที่ตั้งองค์ท่าน ก็ได้กลิ่นหมาก ผมลองเดินเข้าไปดมที่องค์พระ ปรากฎว่า กลิ่นยิ่งมีมาก ตอนนี้ก็ได้กลิ่นอยู่ตลอดเวลาครับ

    มาเล่าให้ฟังครับ

    .

    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ก่อนที่ผมจะขึ้นไปนอน ผมปิดไฟ ปิดทีวี ปิดคอมฯ อีกทั้งเดินตรวจประตู,หน้าต่าง ให้เรียบร้อย เดินผ่านองค์ท่าน นอกจากกลิ่นหมาก ผมได้กลิ่นเหมือนกับกลิ่นดอกไม้ ซึ่งหอมมากๆ แต่ไม่ใช่ดอกมณฑาทิพย์ ผมถึงกับสะดุ้งเลยครับ

    ผมว่า เป็นเทวดาประจำองค์พระพิมพ์ ที่ท่านมาร่วมโมทนาบุญกับพวกเราทุกคน อีกประการเมื่อวานนี้เป็นวันพระด้วยครับ

    .
     
  14. channarong_wo

    channarong_wo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +1,510
    ผมขอร่วมทำบุญด้วยครับในนามของ ชาญณวิทย์และภรรยาพร้อมครอบครัว 500 บาท โอนเสร็จจะแจ้งอีกครั้ง ขออนุโมทนากับทุกๆท่านด้วยนะครับ...ชาญ
     
  15. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ขอแนะนำผู้ที่ต้องการร่วมบุญถวายพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรอายุมากกว่า ๑๐๐ ปีเพื่อประดิษฐานเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะอายุ ๕๐๐ ปีนี้

    ๑) สามารถจะร่วมบุญจำนวนเท่าใดก็แล้วแต่ท่าน โดยโอนเข้าบัญชีที่ post ไว้ในหน้าที่ ๑-๒
    เข้าบัญชี ธนาคารไทยพาณิชย์
    สาขา สุขุมวิท ซอย 3/1
    ชื่อบัญชี คุณอภิวัฒน์ ชัฎอนันต์ เพื่อสร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ
    เลขที่บัญชี 074-2-14149-7



    ๒) ผู้ที่มีเกณฑ์พระประจำวันพุธกลางวัน (พระปางอุ้มบาตร) เป็นพระเสวยอายุในปีนี้ ควรจะร่วมบุญนี้ เพราะเหตุว่าพระพุธเป็นพระที่จะดูแลชีวิตความเป็นอยู่ของท่านถึง ๑๗ ปีเลยทีเดียว

    ๓) ผู้ที่ต้องการเสริมดวงทักษาในตำแหน่งต่างๆทางโหราศาสตร์ เช่น อาจจะเป็นศรี หรือเดช หรืออายุ ฯลฯ ก็จะได้กำลังมากขึ้น

    .....................................................................

    การร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรนี้ ผมขอใช้หลักเกณฑ์นี้ครับ

    ๑) ท่านจะร่วมบุญด้วยเท่าไหร่ก็ตามแต่สมัครใจโดยจะบันทึกชื่อไว้ตามลำดับ

    ๒) เมื่อครบตามจำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้แล้วก็จะปิดรายการบุญนี้ทันที

    ๓) ไม่มีวัตถุมงคลมอบให้

    ....................................................................

    รายชื่อผู้ร่วมบุญถวายพระปางอุ้มบาตรเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะ

    ๑) คุณ :::เพชร::: ๑,๐๐๐ บาท
    ๒) คุณ nongnooo ๕๐๐ บาท
    ๓) คุณ guawn ๑๐๐ บาท
    ๔) คุณ kwok ๔๐๐ บาท
    ๕) คุณ sithiphong - ภรรยา และทั้ง ๒ ครอบครัว ๕๐๐ บาท
    ๖) คุณ newcomer ๓๐๐ บาท
    ๗) คุณ พิมพาภรณ์ ๑๐๐ บาท
    ๘) คุณ aries2947 - ภรรยา และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๙) คุณ marcbangkok ๕๐๐ บาท
    ๑๐)คุณ sira ๒๐๐ บาท
    ๑๑)คุณ ตั้งจิต และครอบครัว ๒๐๐ บาท
    ๑๒)คุณ นายคัง และครอบครัว ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๓)คุณ hongsanart ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๔)คุณ ศิษย์ต่างแดน ๕๑๗.๓๘ บาท
    ๑๕)คุณ พรสว่าง_2008 ๓๐๐ บาท
    ๑๖)คุณ chaipat และภรรยา ๑๑๙ บาท
    ๑๗)คุณ พุทธันดร ๕๐๐ บาท
    ๑๘)คุณ ชวภณ-ภรรยา และครอบครัว ๑,๐๐๐ บาท
    ๑๙)คุณ ชาญณวิทย์ และภรรยา ๕๐๐ บาท

    รวมปัจจัย ๘,๙๓๖.๓๘ บาท จำนวนปัจจัยที่ได้พระปางอุ้มบาตรองค์นี้ มีผม และคุณหนุ่มทราบกันเพียง ๒ คนเท่านั้น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 มิถุนายน 2008
  16. sira

    sira เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กุมภาพันธ์ 2005
    โพสต์:
    239
    ค่าพลัง:
    +1,331
    วันนี้ผมได้โอนเงิน จำนวน 200 บาท ร่วมบุญถวายพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เพื่อประดิษฐานเหนือบุษบกพระโมคคัลลานะ ครับ

    โมทนาบุญกับทุกๆท่านด้วยครับ
    __________________________________

    พุทธัง อะนันตัง ธัมมัง จักกะวาลัง สังฆัง นิพพานัง ปัจจะโย โหนตุฯ

    <!-- / message -->
     
  17. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พี่อ้อย ครับ ผมนำพระทั้ง ๓ องค์ที่พี่สอบถามมาเปรียบเทียบกับไม้บรรทัด และเหรียญบาท

    เปรียบเทียบขนาดพระกรุลำพูน

    ๑) พระแม่จามเทวีซุ้มเรือนแก้ว(พระลือโขง) พิมพ์ใหญ่
    ๒) พระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์(พระเลี่ยง) พิมพ์ฐานบัวกลม
    ๓) พระรอดลำพูน พิมพ์ใหญ่

    ภาพที่ ๑-๒ เป็นการเปรียบเทียบทั้ง ๓ พิมพ์ข้างต้น

    ภาพที่ ๓ เป็นการเปรียบเทียบขนาดของพระแม่จามเทวีทรงบัลลังก์ พิมพ์ฐานบัวกลม และพิมพ์ฐานบัวเหลี่ยม

    ภาพที่ ๔ เป็นการเปรียบเทียบพระรอดพิมพ์ใหญ่ด้วยกันเอง ให้สังเกตว่ามีขนาดต่างกันก็จริงครับหากไม่ได้ดูในรายะเอียดจะคิดว่าพิมพ์ใหญ่ กับพิมพ์เล็ก

    หลักการสังเกตว่าเป็นพิมพ์ใหญ่ หรือพิมพ์เล็กนั้น ขอให้ดูในความเห็นถัดไป จะเปรียบเทียบให้เห็นถึงรายละเอียดในฝีมือของช่างโบราณในการสร้างพระรอดพิมพ์เล็กว่าที่ว่าเล็กนั้น ไม่ใช่เล็กแบบไม่มีรายละเอียด แต่รายละเอียดกลับมากกว่าพิมพ์ใหญ่ด้วยซ้ำ แบบนี้เรียกว่าเล็กพริกขี้หนูครับ...
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010844.jpg
      P1010844.jpg
      ขนาดไฟล์:
      341.8 KB
      เปิดดู:
      37
    • P1010845.jpg
      P1010845.jpg
      ขนาดไฟล์:
      281.6 KB
      เปิดดู:
      30
    • P1010846.jpg
      P1010846.jpg
      ขนาดไฟล์:
      259.3 KB
      เปิดดู:
      27
    • P1010848.jpg
      P1010848.jpg
      ขนาดไฟล์:
      189.2 KB
      เปิดดู:
      34
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 มิถุนายน 2008
  18. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    การระบุพิมพ์พระรอดพิมพ์ใหญ่นั้นให้สังเกตเส้นน้ำตกทางด้านขวามือ ตรงช่วงพระกรรเจียก(ขมับ) ลงมาถึงช่วงต้นพระกร(แขน) เส้นเล็กบางๆ ไล่ไปตามขอบด้านใน เป็นข้อสังเกตง่ายๆ และให้ดูจุดอื่นต่อไป เช่นจำนวนชั้น และเส้นน้ำตกตรงฐาน...

    แม้ว่าพระรอดพิมพ์ใหญ่จะมีขนาดต่างกันเล็กบ้างใหญ่บ้าง แต่การแยกว่าเป็นพิมพ์ใหญ่ หรือพิมพ์อื่นให้สังเกตจากจุดดังกล่าวครับ

    ต่างจากพระรอดพิมพ์เล็ก ซึ่งจะไม่มีเส้นน้ำตกอยู่เลย และจุดที่สังเกตของพิมพ์เล็กคือขอบด้านขวามือ จะเป็นติ่งยื่นออกมาเล็กน้อย ลูบดูผ่านๆจะสะดุดเล็กน้อย

    ผมเองชอบพระรอดมาก โดยเฉพาะพิมพ์เล็ก และพิมพ์ต้อ

    ผมขอนำพระรอดพิมพ์เล็กจำนวน ๑๐ องค์มาให้พิจารณากันว่า รายละเอียดของพระรอดพิมพ์นี้มีดีอย่างไร พิจารณาตามภาพทั้ง ๑๐ องค์ จะเห็นพระเนตร พระนาสิก พระโอษฐ์ พระกรรณ ชัดเจนดีทุกองค์ เสน่ห์ของพระลำพูนมีอยู่แทบทุกองค์อยู่ที่เราจะเลือกพิจารณามุมไหน ทั้งเม็ดแร่มวลสาร สี คราบสนิม พิมพ์ทรง รอยย่น ฯลฯ...อย่าลืมว่า นี่เป็นงานของสมัยเมื่อ ๕๐๐-๗๐๐ ปีที่ผ่านมา ไม่มีเครื่องมือดีๆอย่างปัจจุบัน

    ภาพที่ ๑ คือภาพเปรียบเทียบพระรอดพิมพ์ใหญ่ และพิมพ์เล็ก

    ภาพที่ ๒-๓ คือภาพรวมพระรอดพิมพ์เล็ก ๑๐ องค์

    ภาพที่ ๔ คือพระรอดพิมพ์เล็ก องค์ที่ ๑-๓
    ภาพที่ ๕ คือพระรอดพิมพ์เล็ก องค์ที่ ๓-๕
    ภาพที่ ๖ คือพระรอดพิมพ์เล็ก องค์ที่ ๖-๘
    ภาพที่ ๗ คือพระรอดพิมพ์เล็ก องค์ที่ ๘-๑๐
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • P1010851.jpg
      P1010851.jpg
      ขนาดไฟล์:
      238.2 KB
      เปิดดู:
      34
    • P1010852.jpg
      P1010852.jpg
      ขนาดไฟล์:
      234.5 KB
      เปิดดู:
      25
    • P1010857.jpg
      P1010857.jpg
      ขนาดไฟล์:
      365.1 KB
      เปิดดู:
      32
    • P1010853.jpg
      P1010853.jpg
      ขนาดไฟล์:
      251.9 KB
      เปิดดู:
      23
    • P1010854.jpg
      P1010854.jpg
      ขนาดไฟล์:
      236.2 KB
      เปิดดู:
      23
    • P1010855.jpg
      P1010855.jpg
      ขนาดไฟล์:
      293 KB
      เปิดดู:
      26
    • P1010856.jpg
      P1010856.jpg
      ขนาดไฟล์:
      275.1 KB
      เปิดดู:
      24
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 มิถุนายน 2008
  19. hongsanart

    hongsanart เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มิถุนายน 2005
    โพสต์:
    1,332
    ค่าพลัง:
    +10,468
    คุณเพชรคะ....

    ขอบคุณมากค่ะ ที่ลงรูปให้ดู ขอบูชา พระแม่จามเทวีซุ้มเรือนแก้ว(พิมพ์ใหญ่) 1 องค์ค่ะ องค์ใหญ่ดีมาก มองเห็นเนื้อมวลสารได้ชัดเจนค่ะ โอนเงินให้แล้ว 4,100.00 บาทค่ะ

    โมทนาบุญค่ะ

     
  20. channarong_wo

    channarong_wo เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    408
    ค่าพลัง:
    +1,510
    วันนี้ผมได้จุดเทียนเล่มเบอเลิ่ม ด้วยการร่วมบุญ สร้างบุษบกประดิษฐานพระโมคคัลลานะ 500 บาท ดีใจจัง เอ้าใครอยากได้บุญร่วม ขอบุญให้ผมเพิ่มหน่อยเร้ว!!! ( โอนตังเข้าบัญชีคุณอภิวัฒน์เรียบร้อยแล้วนะครับ )
     

แชร์หน้านี้

Loading...