แนะนำ ด้วยครับ สมเด็จบางขุนพรหม อกครุฑ

ในห้อง 'วิธีดูพระเครื่อง-เครื่องรางของขลัง' ตั้งกระทู้โดย AKE789, 25 ตุลาคม 2014.

  1. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ยิ่งด้านหลังรอยตรายาง ผมไปหารูปมาเทียบเคียง ทีนี้ จินตานาการไปไกลเลย (ถ้าเก๊ นี่เก๊5ดาวเลย)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • PHO_8915.JPG
      PHO_8915.JPG
      ขนาดไฟล์:
      5.6 MB
      เปิดดู:
      1,031
    • DSC_0002.jpg
      DSC_0002.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.2 MB
      เปิดดู:
      3,071
  2. เด็กโก-ลก

    เด็กโก-ลก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2013
    โพสต์:
    1,374
    ค่าพลัง:
    +3,061
    ถ้างั้นผมขออนุญาติให้ดูแบบคราบดินก่อนแล้วกัน
    ยังไงองค์นี้ก็เคยมาเปิดราคาที่ กทม.สมัยก่อนถึงจะถูกกดราคาเหลือแค่ 2แสน ที่ท่าพระจันทร์สมัยก่อน เลยทำใจปล่อยไม่ลง คงพอการรันตีได้ระดับนึงนะครับว่าของผมน่าจะแท้

    ถ่ายมือถือทั้งคู่ครับ แค่แสงต่างกัน แต่รูปแรกมันสวยดีผมเลยชอบใช้รูปนี้โชว์
    [​IMG][/url][/IMG]
    แสงจ้าๆเน้นถ่ายคราบกรุ
    [​IMG][/url][/IMG]
     
  3. jaturong_tun

    jaturong_tun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    1,879
    ค่าพลัง:
    +2,473
    สวัสดีครับ พี่เด็ก-โกลก ผมชอบคราบกรุแบบนี้จริงๆ แต่ไม่มีวาสนาครับ
     
  4. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ขอบคุณครับท่านอาจารย์ กรุณา ให้ดูตัวอย่างของคราบกรุ
    ขอความรู้เพิ่มเลย อิอิ การจัดเก็บพระเข้ากรุ ทางวัดเค้าจัดเรียงพระ ยังไง ครับ
    ระดับความสูงต่ำ ของชั้นพระ จะมีผลต่อ คราบกรุ หรือไม่ครับ มวลสารของเนื้อพระด้วย
    จำเป็นต้องแก่ปูน ทุกองค์ รึไม่
    ต่างพิมพ์ ต่างมวลสาร 84000องค์ กองพระคงใหญ่นะครับ (ผมชอบจินตนาการครับ)แต่เนื้อหาองค์พิมพ์ ดูไม่เป็นเลย
    ถ้าหารูปพระกรุที่อยู่บนๆๆ หรือ เกือบจะบนได้ศึกษา คงดีไม่น้อย
    ผมมีคำถามเยอะเลย แต่อธิบายออกมาเป็นตัวอักษร ไม่ถูก
    ด้วยความเคารพ ที่ผมเรียกอาจารย์ เพราะท่านสละเวลา ให้ให้องค์ความรู้แก่ตัวผม ผมตระหนักดี ว่าท่านอาจารย์ ให้มาให้ความรู้ด้วยใจ จิตอาสา ไม่มีค่าตอบแทน
    การตั้งคำถามของผม ด้วยความอยากรู้ เพียงแค่นั้นเอง

    ขอบคุณครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014
  5. hiddenbhume

    hiddenbhume เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    2,513
    ค่าพลัง:
    +7,067
    เวลาเอาเข้ากรุ จัดวางลงบนกระจาดครับ ลงรักปิดทองส่วนมาก รักทองลอกออกได้เมื่อตอนโดนน้ำ ผมว่าลองศึกษาเรื่องกรุพระนี้มากๆก่อนดีกว่าครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ขอบคุณครับท่านอาจารย์ ที่เอามาให้ศึกษา
    พิมพ์เดียวกันบล๊อคเดียวกันเลยน่ะครับ พระสมเด็จ หายากมาก รวบรวมได้เยอะขนาดนี้ สภาพสมบูรณ์ด้วย โชคดี ที่ได้ศึกษา บอกได้ไหมครับของปรมาจารย์ท่านไหน เวป อะไร
    ผมจะได้ตามไปศึกษา พระกรุไหนครับ เก่าหรือใหม่ผมจะได้จำไว้
    แต่ลักษณะของคราบกรุ ที่ผมไปอ่านหลายๆๆเวปมา(พูดถึงกรุใหม่บางขุนพรหม หลังมีตรายาง เสียเงินบำรุงวัด) ก็พูดถึงลักษณะคราบกรุ เป็น3แบบ นะครับ ไม่ได้ตายตัวว่าจะต้องมีคราบแบบไหน
    หลังกรุแตกปี2500(เหลือแค่2490องค์จาก84000องค์) บรรจุใหม่ในกรุ ทางวัดได้เติมพระเพิ่มเต็มจำนวน 84000องค์หรือป่าวครับ กรุใหม่เปิด2509ใช่หรือป่าวครับ
    (ผมอ่านบางทีก็สับสน งงงง)
    คราบกรุน้ำตาลไหม้ คือคราบน้ำมันตังอิ้วใช่หรือป่าวครับ
    แล้วลักษณะอื่น ของพระในกระทู้ ล่ะครับ มีตรงไหน ที่ น่าจะทำเก๊ อีก ครับ
    รบกวนขอความรู้อาจารย์ ต่อด้วยครับ เพื่อนๆๆสมาชิก จะได้ศึกษา รวมกัน
    ขอบคุณครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014
  7. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ลักษณะมวลสาร องค์พระในกระทู้ ถูกต้อง รึป่าวครับ
    พิมพ์ทรงเป็นอย่างไร
    อาจารย์ช่วยพิจารณา ด้วย ครับ
     
  8. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ด้วยความเคารพ ครับ
    อกครุฑ วัดระฆัง มี3พิมพ์ครับ
    อกครุฑ วัดใหม่อมตรส(บางขุนพรหม) มี14พิมพ์ครับ
    ส่วนมวลสารในองค์พระกระทู้ มีครบ5มวลสารหลัก
    ส่วนคราบกรุ พระในกระทู้ เป็นคราบกรุเม็ดทราย ส่วนเรื่องสีของคราบกรุ ถ้าส่วนผสมของน้ำมันตังอิ้วน้อย หรือ โดนน้ำล้างออก(องค์พระมีคราบน้ำและการไหลของเม็ดทราย บริเวณฐานชั้นแรกกับใต้ตักองค์พระ ทำให้เส้นซุ้มด้านซ้ายขององค์พระบริเวณตักและฐานชั้น1ขาด)ก็ไม่จำเป็นที่จะมีคราบน้ำมันตังอิ้ว(สีน้ำตาลเข้ม)เนื้อองค์พระแห้งสนิทมวลสารผุดขึ้นมาบนรอยคราบน้ำทั่วองค์ เส้นซุ้มหดรัดตามตำรา
    ขนาดองค์พระ วัดความสูงจากเส้นครอบแก้วสูง 3.2 cm
    วัดจากเส้นบังคับกลางองค์ 2.2 cm
    (ใช้ไม้บรรทัดวัดจากองค์พระ อาจมีคาดเคลื่อน นะครับ)
    ผมประมวลภาพและเหตุผลประกอบ แบบนี้พอจะรับได้หรือไม่ครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014
  9. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ค่ำคืนนี้ท่านอาจารย์ทุกท่านและเพื่อนสมาชิก นอนหลับฝันดีกันทุกคนน่ะครับ
    อย่าลืมห่มผ้า อากาศเริ่มเย็นล่ะครับ
     
  10. hiddenbhume

    hiddenbhume เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    2,513
    ค่าพลัง:
    +7,067
    ฝากข้อมูลสายตรงเชิงลึกให้อ่าน ไปหาหนังสือของผู้ชำนาญการยุคเก่ามาศึกษาดีกว่าครับ ทันยุคและลึกจริง
    ฝากให้อ่านเล่นๆครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  11. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ขอบคุณครับ สำหรับข้อมูลดีๆๆๆ
     
  12. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ด้วยความเคารพครับ
    ตามที่ผมได้พรีเซ็นต์การบ้านส่งอาจารย์ และมีรูปภาพประกอบ
    การอธิบายของผม
    ผมรบกวนอาจารย์อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผมได้นำเสนอ ว่ามันผิดถูกอย่างไร
    อันไหนผิดอันไหนถูก เอาเหตุผลมาหักล้าง ผมว่ามันจะมีประโยชน์กับตัวผม และเพื่อนสมาชิกที่ได้เข้ามาอ่าน
    ขอบคุณครับ
     
  13. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ด้วยความเคารพครับ
    ตามที่ท่านอาจารย์ ได้กรุณาให้ความเห็นเกี่ยวกับคราบกรุ ขององค์พระในกระทู้
    ผมก็ได้ ยกตัวอย่างอ้างอิง ที่ผมสามารถค้นหาได้ของอาจารย์ราม วัชรประดิษฐ์ (แฟนพันธุ์แท้พระเครื่องคนแรกของประเทศไทย) ว่ามันมีคราบอยู่3แบบ
    ถ้าอาจารย์เห็นต่าง ช่วยอธิบายเหตุผล มาหักล้างด้วยครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014
  14. paraw

    paraw เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤศจิกายน 2010
    โพสต์:
    1,269
    ค่าพลัง:
    +868
    พูดด้วยเหตุ ผล พระองค์ นี้ ไม่น่าเก้ ครับ
    แต่....... พิจารณา ที่ คราบกรุ จบ ....ไม่ใช่คราบของกรุ ดัง
    เป็นไปได้ขึ้นจาก กรุอื่น ที่อื่น
    :cool:
     
  15. เด็กโก-ลก

    เด็กโก-ลก เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 พฤษภาคม 2013
    โพสต์:
    1,374
    ค่าพลัง:
    +3,061
    ถ้าพิมพ์ผิดหรือเพลินเกินไปพอว่านะครับ ......แต่
    -วัดระฆังไม่มีอกครุฑครับเอาแบบสากล
    -บางขุนพรหม ผมอ่านตำราก่อน 2530 เขาก็แบ่ง 3พิมพ์ ของ อ.รามก็มีแค่ 4พิมพ์ย่อยในอกครุฑเศียรบาตร

    ขนาดสำคัญก็จริงแต่ไม่ใช่ตัวตัดสินทั้งหมดให้ใกล้เคียงไม่ต่างกันจนน่าเกลียดก็พอ เพราะความจริงพระมีขนาดขึ้นอยู่กับการหดตัวของเนื้อผงในแต่ละองค์ ไม่เหมือนกันขึ้นกับหลายปัจจัย เช่น การใช้ ความชื้น ส่วนผสมฯลฯ

    พิมพ์เอาให้ใกล้เคียงทั้งหมดไม่ต้องเป๊ะๆ ส่วนที่ควรมีก็มี ส่วนที่ไม่ควรมีก็ควรไม่มี ที่เหลือดูเนื้อกับ หลัง-ข้าง และธรรมชาติ หรือคราบกรุ มันต้องไปด้วยกันหมด ผมอ้างตามตำราท่าน อ.ตรี ยัมปวายนะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 ตุลาคม 2014
  16. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ขอบคุณครับท่านอาจารย์ ที่ช่วยมาให้ข้อมูล
    แต่เรื่องคราบกรุ ผมเองก็ไม่ได้มโนเอาเอง น่ะครับ
    มีบทความ ของ เรื่องคราบกรุเม็ดทราย อยู่ไม่น้อย
    ผมก็ได้ไปอ่านเจอมาอีก1บทความ
    เป็นของ ผศ.รังสรรค์ ต่อสุวรรณ เป็นเวปแฟนเพจ ของท่านครับ
    ด้วยความเคารพนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014
  17. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ขอบคุณครับท่านอาจารย์
    เรื่องเอกสารข้อมูล พิมพ์ทรงผมก็มีอ่านเจอครับ
    ข้อมูลก็ ไม่ตรงกันของแต่ล่ะสำนัก
    องค์พระสร้างมีน้อย ก็คงเขียนบทความที่ตัวของแต่ล่ะท่านอาจารย์มีประสพการณ์ ได้ศึกษา แต่ก็ยังไม่มีบรรทัดฐาน ว่า จะมีกี่พิมพ์
    ผมไม่ได้ศึกษาในเชิงพุทธพาณิชย์น่ะครับ ที่เซียนๆๆเล่นหา เช่าบูชากันแพงๆๆ
    ว่าเช่าบูชา กันกี่พิมพ์ องค์พระเสียหายเยอะครับสมัยก่อนก็คงบันทึก ยืนยันไม่แน่นอน
    ก็ต้องหาบทความอ้างอิงกันต่อไป
    ขอบพระคุณมากครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 29 ตุลาคม 2014
  18. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ผมเคยเรียนท่านอาจารย์แล้ว ว่าผม ไม่มีความรู้เรื่องพระเลย
    เกือบ3อาทิตย์ก็ได้มาเรียนกับพวกท่าน ตามอ่านบทความ ตามกระทู้ต่างๆๆ
    วัดระฆัง จะมีพิมพ์อกครุฑ หรือไม่ ผมไม่ทราบได้
    แต่ พิมพ์ในกูเกิ้ล สมเด็จวัดระฆัง พิมพ์อกครุฑ มีมา ให้อ่านเยอะเลย
    ผมแยกไม่ออก ครับ ว่าอันไหนจริง ไม่จริง ได้แต่ ค่อยๆๆรับฟัง และพิจารณาไป อันไหนสงสัย ก็ จะถาม คำว่าสากลนิยม หมายถึง ที่เอาองค์พระไปเปลี่ยนเป็นเงินได้ ใช่หรือป่าวครับ ไม่นิยม หมายถึงเอาไปแลกเปลี่ยนเป็นเงินไม่ได้ ไม่มีเซียนเช่า
    แล้วคำว่า ไม่นิยม สมเด็จโต ท่านสร้างจริง หรือ ป่าวครับ
    ผมไปอ่านเจอ บทบันทึก ของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ (ผมว่าท่านอาจารย์ก็คงเจอบทความพวกนี้)
    “พ่อโตบวชพระเมื่อ พ.ศ.๒๓๕๐ เกิด ชาตะ ๒๓๓๐ บวชพระ ๖๕ พรรษา มรณะ ๒๔๑๕ บวชเณร ๘ พรรษา บวชตั้งแต่เป็นเณร พ.ศ.๒๓๔๒”
    ตัวอักษรดำใหญ่เป็นบันทึกเพิ่มเติมภายหลังว่า “แต่เป็นบันทึกของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ เขียนไว้ถี่ถ้วน เป็นที่เชื่อได้ เป็นประวัตอันแท้จริงของขรัวโตวัดระฆัง แล้วมาลอกต่อเมื่อหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ ได้มรณภาพ ไปแล้ว ๔ ปี ในราว พ.ศ.๒๔๒๕ แล้วบันทึกนี้ตกอยู่ที่พระครูปลัดมิศร์ และนายพึ่ง ลูกนายเหลี่ยมบ้านช่างหล่อ ได้ไปขอปลัดมิศร์มาลอกเอาไว้ในราว ๒๔๓๙ แล้วนายจอม องค์ช่างหล่อ มาลอกครั้งสุดท้ายเมื่อ ๒๔๔๓ นายจอมเป็นหัวหน้ากองโรงกษาป ได้ลอกมาจากบ้านช่างหล่อ หลังวัดระฆัง เป็นหลานนายพึ่งปฏิมาปกร เคยเป็นเจ้ากรมกษาปหรือช่างสิบหมู่สมัยนั้น ต่อมา หลานนายจอมได้ลอกมาไว้เป็นครั้งสุดท้าย พระคุณท่านได้เป็นพระวิปัสสนาสูง จะหาพระองค์ใดมาเปรียบมิได้”
    อีกหน้าเป็นบันทึกของหลวงปู่คำ วัดอัมรินทร์ ต่ออีกว่า “พิมพ์พระสมเด็จทรงนิยมที่ชาวบ้านทั่วไปรู้จัก
    พิมพ์ที่ ๑ ทรงพระประธาน มี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๒ ทรงชายจีวร มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๓ อกร่องหูยานฐานแซม มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์พิมพ์ที่ ๔ เกศบัวตูม มี ๔ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๕ ปรกโพธิ์มีพิมพ์ที่ไม่แตกมี ๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๖ ฐานคู่มีพิมพ์ที่ไม่แตก มี ๓ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๗ เส้นด้าย มี ๑๕ พิมพ์ ๆ คะแนน ๒ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๘ สังฆาฏิ มี ๗ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์
    พิมพ์ที่ ๙ หน้าโหนกอกครุฑ มี ๑๖ พิมพ์ ทั้งพิมพ์ใหญ่
    พิมพ์ที่๑๐ พิมพ์ทรงเจดีย์ มี ๒ พิมพ์ ๆ คะแนน ๑ พิมพ์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014
  19. ลูกพระป่า

    ลูกพระป่า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 ธันวาคม 2011
    โพสต์:
    590
    ค่าพลัง:
    +801
    ถ้าอกครุฑองค์จริงของพี่AKEคราบกรุคล้ายแบบนี้ สบายใจได้เลยครับ สมเด็จบางขุนพรหมนี่ผมเพิ่งเริ่มศึกษาเลยไม่กล้าออกความเห็นอะไรมากครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_2107.JPG
      IMG_2107.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      398
    • IMG_2113.JPG
      IMG_2113.JPG
      ขนาดไฟล์:
      1.4 MB
      เปิดดู:
      275
  20. AKE789

    AKE789 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2014
    โพสต์:
    156
    ค่าพลัง:
    +109
    ขอบพระคุณครับท่านอาจารย์ ที่ได้เอาพระองค์สวยๆๆ มาให้ชม ให้ศึกษา
    คำว่าธรรมชาติ ห่างกัน1เซนติเมตร ลักษณะก็น่าจะต่างกันแล้ น่ะครับ
    ภาพผมก็ ว่าถ่ายชัด ร่องรอยอันไหน ที่มันดูไม่เป็นธรรมชาติ
    "ขี้กรุอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า ฟองเต้าหู้ เป็นคราบหินปูนที่จับแน่นเป็นแผ่นสลับไปกับขี้กรุชนิดอื่น พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม (วัดใหม่อมตรส) จะปรากฎขี้กรุฟองเต้าหู้จับอยุ่เต็มทั้งองค์พระก็มี ขี้กรุฟองเต้าหู้นั้น ช่างซ่อมพระบางคนสามารถลอกเอาออกได้มากเหมือนกัน ทำให้พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม (วัดใหม่อมตรส) บางองค์ที่ลอกขี้กรุฟองเต้าหู้ออกแล้วดูสะอาดสวยงาม แต่ถึงจะมีความสามารถเท่าไรก็ยังไม่สามารถตบตาคนดูได้ เพราะอย่างไรก็จะปรากฏฟองเต้าหู้บางจุดที่ยึดจับแน่นไม่สามารถลอกออกได้ กลายเป็นจุดตำหนิว่าพระองคืนี้มีการตกแต่งองค์พระมา คุณค่าความสวยงามจะลดน้อยลงมากครับ
    ขี้กรุเม็ดทราย เป็นขี้กรุแคลเซียมซึ่งจับแน่นบนองค์พระ มีเม็ดเหมือนทราย ซึ่งจะสลับไปกับขี้กรุน้ำมันตังอิ๊วบ้าง ขี้กรุฟองเต้าหู้บ้าง แต่พระสมเด็จวัดบางขุนพรหม (วัดใหม่อมตรส) บางองค์ที่มีเฉพาะขี้กรุเม็ดทรายทั้งองค์จะดูสะอาดสวยงามมากทีเดียวครับ"
    ****รอยคราบที่ผมเรียกตามที่ผม เข้าใจ ว่ารอยคราบน้ำ คือสิ่งที่ท่านอาจารย์ ดูมันไม่สมควรที่จะมี หรอ ครับ
    ผมดู จากรูป ที่ตั้งกระทู้ ก็ดูเป็นธรรมชาติ มองไปที่คราบก็มองเห็นเม็ดมวลสาร ร่องรอยของคราบที่เกิดขึ้นบนองค์พระ ผมก็ดูมันเป็นธรรมชาติ ตรงไหนที่มีทางน้ำผ่าน ก็จะมีคราบเยอะ ช่วงโค้งบริเวณเศียรพระ เป็นทางโค้ง ก็มีรอยเม็ดกรวดทรายไหลเป็นแนว ช่วงโค้งซุ้มเม็ดทรายก็ไปกองเยอะ ตามธรรมชาติ เพราะมันเป็นทางโค้ง
    สิ่งที่ผมเรียกว่าคราบน้ำ จริงๆๆ น่าจะเรียกว่าขี้กรุแคลเซียม(ดูขังดี) สีน้ำตาลไหม้ของเนื้อองค์พระก็ถูกต้องตามตำราดูเป็นธรรมชาติ สีสม่ำเสมอ มีคราบน้ำ(ตามที่ผมเข้าใจ)คลุมผิว มวลสารก็ผุดขึ้นมาบนคราบน้ำ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 30 ตุลาคม 2014

แชร์หน้านี้

Loading...