เชิญร่วมตอบคำถามพระธาตุเจดีย์รับวัตถุมงคลหลวงปู่เครื่อง สุภทฺโท รับวันมาฆบูชาครับ

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย นิโรธสมาบัติ, 10 กุมภาพันธ์ 2008.

  1. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    หึ..หึ..ดูคุ้นๆนะครับ โมทนาบุญธรรมทานด้วยครับ ขออภัยด้วยครับที่เพิ่งมาเปิดดูเมื่อซักครู่ กระทู้ตกเร็วมาก ทำไมไม่เห็นกระทู้นี้ที่ตั้งไว้ตั้งแต่วันที่ ๑๐ ก.พ. นะ...อ่านคร่าวๆแล้ว และได้กดโมทนาไปก่อนนะครับ...
     
  2. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    5555555 "พิจารณาจากอดีตมาปัจจุบัน และล่วงไปถึงอนาคต
    พิจารณาจากอนาคต มาปัจจุบัน และย้อนไปอดีต"

    ไม่รู้เหมือนกันครับว่าทำไมตกเร็วจัง วันนี้ผมเข้ามาอยู่หน้าสองครับ อิอิ เลยขุดขึ้นมา 55555

    "คำถามดูเหมือนยาก แต่ก็เหมือนง่าย และดูเหมือนง่ายก็ยังยากอยู่ครับ" เพราะส่วใหญ่พระธาตุเจดีย์นี้บางแห่งไม่ค่อยเห็นปรากฏตามหน้าหนังสือและตามเว็บไซต์เท่าไหร่ แต่จะมีตามหนังสือเก่า ๆ ที่มีคนอ้างอิงถึง และอีกหนึ่งเล่มที่สำคัญมาก คือ ตำนานพระอุรังคธาตุครับ

    อนุโมทนาครับผม
     
  3. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    พี่เป็นกำลังใจให้นะครับ บุญธรรมทานทำมากเท่าไหร่ ปัญญาบารมีจะเกิดสะสมรวมกำลังกันทุกภพทุกชาติจนกว่าจะเข้าถึงพระนิพพาน อย่าเสียกำลังใจแม้ไม่มีผู้สนใจ น้องๆเยาวชนของเราสนใจฝักใฝ่ธรรมะมากมาย เจาะหาข้อมูลพระธาตุเจดีย์จาก google ก็พบได้ทันทีครับ ขอให้ทำเต็มความสามารถของผู้ให้จริงๆ ให้สมกับที่เขาอุตส่าห์เข้ามาหาความรู้ในกระทู้นี้ของเราครับ สุดท้ายนี้...

    มือผู้ให้ย่อมสูงกว่ามือผู้รับ
     
  4. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    อนุโมทนาสาธุครับ

    ถึงจะยาก จะลำบาก แต่จะสู้เพื่อพระพุทธศาสนาครับผม
     
  5. Reliquiae

    Reliquiae เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    1,184
    ค่าพลัง:
    +2,639
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 9666111.JPG
      9666111.JPG
      ขนาดไฟล์:
      13 KB
      เปิดดู:
      41
    • 96533111.JPG
      96533111.JPG
      ขนาดไฟล์:
      27.1 KB
      เปิดดู:
      31
  6. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    อนุโมทนาสาธุครับ ภาพเกสาท่านที่ดู มีลักษณะใสกลายเป็นพระธาตุไปแล้วใช่หรือปล่าวครับ ถ้าดูไม่ผิด

    ขอนอบน้อมแด่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรมเจ้า และพระอริยสังฆเจ้าทุก ๆ องค์
     
  7. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    หมดเขตส่งวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551 เวลา 24.00 น. นะครับ ผมจะเฉลยในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งเป็นวันมาฆบูชาครับ


    รีบ ๆ กันหน่อยครับ(kiss) เหลือเวลาอีก 5 วันเท่านั้นครับ(good)
     
  8. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    ไม่ได้เข้ามาหลายวัน ก็อย่าลืมส่งคำตอบมานะครับ บางครั้งส่งมาเล่น ๆ ก็อาจจะถูก แต่บางครั้งตั้งใจส่งมามากก็อาจผิด ไม่แน่ไม่นอนครับ

    ในการตอบคำถามครั้งนี้ คนที่ทำการตอบคำถามนั้นถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับพระของหลวงปู่เครื่อง แต่สิ่งที่ทุกท่านต้องได้แน่นอน คือ บุญกุศลที่เกิดจากการศึกษาหาความรู้ หาข้อมูลของพระธาตุเจดีย์แต่ละที่ครับ
     
  9. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    เหลือเวลาอีก 4 วัน แล้วก็จะได้ทราบคำตอบ สำหรับท่านที่ยังส่งคำตอบมาก็อย่าลืมตรวจคำตอบดีดีนะครับ เพื่อความมั่นใจครับผม
     
  10. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับอุรังคนิทาน

    ตำนานอุรังคนิทาน หรือ ตำนานอุรังคธาตุ เป็นแม่บทของวรรณกรรมตำนานพระธาตุและพระบาทในล้านช้างและแถบลุ่มแม่น้ำโขงทั้งสองฟากฝั่ง


    <CENTER>อุรังคนิทาน</CENTER>

    ตำนานอุรังคนิทาน หรือตำนานอุรังคธาตุ ซึ่งถือเป็นวรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลสืบเนื่องมาจากทางฝ่ายล้านนาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 21 จากความสัมพันธ์ทั้งทางประวัติศาสตร์ ศาสนา เครือญาติ ชาติพันธุ์ การเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ ประการสำคัญคือการศาสนาในช่วงรัชสมัยพระเมืองแก้ว พ.ศ.2038 -2068 ที่พุทธศาสนาถือว่าเป็นยุคเจริญรุ่งเรืองสูงสุด จนกระทั่งถึงรัชสมัยพระเจ้าไชยเชษฐา พ.ศ. 2091-2115 ซึ่งเป็นผู้ที่สืบสายเชื้อวงศ์จากทั้งระหว่างเมืองเชียงใหม่และหลวงพระบางในเวลานั้น โดยได้เป็นบุคคลสำคัญที่นำพามาสู่ความสัมพันธ์ระหว่างสองอาณาจักรที่ชัดเจนที่สุดเท่าที่มีปรากฏอยู่ในประวัติศาสตร์ล้านนาและล้านช้าง

    ตำนานอุรังคนิทาน หรือตำนานอุรังคธาตุ กล่าวถึงความร่วมมือของพระยาทั้ง 5 เมือง ได้แก่ พระยาสุวรรณภิงคาร เมืองหนองหานหลวง พระยาจุลนีพรหมทัต เมืองแกวสิบสองจุไท พระยาคำแดง เมืองหนองหานน้อย พระยาอินทปัต เมืองเขมร และพระยานันทเสน เมืองศรีโคตรบูรที่มาช่วยกันสร้างองค์พระธาตุพนมแห่งนี้ขึ้นมา แท้ที่จริงแล้วแสดงถึงการเป็นตำนานซึ่งเขียนขึ้นภายหลัง ซึ่งได้กำหนดเอาศาสนสถานในคติพราหมณ์ - ฮินดูโบราณของวัฒนธรรมจามหรือขอมมาแต่เดิม โดยปรับเปลี่ยนมาเป็นศาสนสถานในพุทธศาสนาเถรวาทด้วยลักษณะของพระธาตุเจดีย์ อันเป็นแบบหรือรูปทรงของพระธาตุพนมในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ที่กลายเป็นเอกลักษณ์ของงานสถาปัตยกรรมแถบลุ่มแม่น้ำโขง จะเห็นได้ว่า ตำนานให้ภาพความสัมพันธ์ของผู้นำจากดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำโขงทั้ง 5 เมือง ซึ่งสองเมืองฝั่งขวาของแม่น้ำโขงก็คือ เมืองหนองหานน้อยกับเมืองหนองหานหลวงเป็นพื้นที่บริเวณอุดรธานีและสกลนคร ส่วนอีกสามเมืองนั้นประกอบด้วยเมืองแกวสิบสองจุไทในดินแดนเวียดนาม เมืองศรีโคตรบูรหรือมรุกขนครในดินแดนฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง และเมืองอินทปัตในดินแดนเขมร โดยล้วนแสดงถึงการสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์เหนือดินแดนพุทธศาสนา อันมีการกำหนดให้พระธาตุพนมประดิษฐานอยู่ ณ ภูกำพร้า ซึ่งถือว่าเป็นศูนย์กลางระหว่างรอยต่อระหว่างวัฒนธรรมและดินแดนต่างๆ ลุ่มแม่น้ำโขงเหล่านั้น ซึ่งผู้เขียนตำนานสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ ของท้องถิ่นเข้าไว้ด้วยกันอย่างน่าสนใจ ทำให้เกิดเป็นภาพความสัมพันธ์ของสังคมวัฒนธรรมขนาดใหญ่ครอบคลุมภูมิภาคกว้างไกลในบริเวณลุ่มแม่น้ำ จากเรื่องอุรังคธาตุ ประชาชนในอาณาจักรจะมีส่วนร่วมในการสร้างอุรังคธาตุ ซึ่งในช่วงนั้นจะประกอบไปด้วยนครรัฐต่างๆ ซึ่งจะขอยกตัวอย่างบางนครรัฐ ซึ่งอยู่ในภาคอีสานเพื่อให้เห็นถึงประวัติศาสตร์ในสมัยอดีตของเมืองต่างๆ ในภาคอีสาน นครหนองหารหลวง อยู่บริเวณหนองหารสกลนคร มีพระยาสุวรรณคิงคารเป็นผู้ครองนคร ได้สร้างพระธาตุเชิงชุมสวมรอยพระพุทธบาทและพระมเหสีนามว่าพระณารายณ์เจงเวงได้สร้างพระกุดนาเวงบรรจุพระอังคารนครหนองหารน้อย ตั้งอยู่ถัดจากหนองหารหลวงไป ได้แก่ หนองหารกุมภวาปีที่พระยาดำแดง เป็นลูกพี่ลูกน้องกับผู้ครองหนองหารหลวง ทั้งสองนครนี้ได้ต้อนรับขบวนนำพระบรมธาตุมาครั้งแรก และได้ร่วมก่อสร้างจนสำเร็จ ต่อมาเกิดน้ำท่วมใหญ่จนหนองหารทั้งสองลัดถึงกันประชาชนอพยพไปอยู่ที่เวียงจันทน์ นครศรีโคตรบูรณ์ เป็นแคว้นที่ประดิษฐ์พระอุรังคธาตุ เดิมตั้งอยู่ใต้ปากเซ บั้งไฟซึ่งไหลตกแม่น้ำโขงตรงข้ามพระธาตุพนม ครั้งพระเจ้าศรีโคตรบูรณ์ล่วงลับไปแล้ว พระยานับแสน พระอนุชาขึ้นครองนครแทน ต่อมาเป็นเวลา 13 ปี พระองค์ได้ร่วมสร้างพระอุรังคธาตุครั้งแรก เมื่อทิวงคต แล้วมีการย้ายนครไปตั้งอยู่ทางเหนือพระธาตุชื่อมรุกขนคร นครสาเกตุ หรือ 101 ประตู (สิบเอ็ดประตู) อยู่ที่จังหวัดร้อยเอ็ด มีพระยาสุริวงศาครอง ครั้งทิวงคต บ้านเมืองแตกสลายประชากรอพยพไปอยู่ทางจังหวัดหนองคาย มีคำกลอนโบราณบทหนึ่งว่า
     
  11. เทอดธรรมบูรพา

    เทอดธรรมบูรพา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    53
    ค่าพลัง:
    +122
    ขอร่วมตอบคำถามด้วยครับ
    ส่งไปแล้ว
     
  12. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    วันสุดท้ายแล้วนะครับ เหลือเวลาที่ยังสามารถส่งคำตอบ และแก้ได้อีกไม่กี่ชั่วโมง พรุ่งนี้มาทราบคำตอบกันนะครับ
     
  13. leoman

    leoman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    75
    ค่าพลัง:
    +910
    ยังไม่เฉลยหรือครับ
     
  14. :::เพชร:::

    :::เพชร::: เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    8,584
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +36,137
    ตามมาดูครับ
     
  15. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    เฉลยคำถามครับผม

    ภาพแรกครับผม
    [​IMG]
    ภาพที่ 1 พระธาตุนี้ตั้งอยู่ที่ นครเวียงจันทร์

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 กุมภาพันธ์ 2008
  16. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    พระธาตุหลวง

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content --><TABLE style="FLOAT: right"><TBODY><TR><TD>
    [FONT=lucida grande, sans-serif]<TABLE style="BORDER-RIGHT: #ccd2d9 1px solid; PADDING-RIGHT: 0.5em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0.5em; BACKGROUND: #f9f9f9; PADDING-BOTTOM: 0.5em; BORDER-LEFT: #ccd2d9 1px solid; WIDTH: 270px; PADDING-TOP: 0.5em; BORDER-BOTTOM: #ccd2d9 1px solid; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="FONT-SIZE: 135%; BACKGROUND: #ffc800; PADDING-BOTTOM: 0.5em; LINE-HEIGHT: 1.1em">วัดพระธาตุหลวง พระเจดีย์โลกะจุฬามณี</TD></TR><TR><TD><TABLE style="BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; MARGIN: 0px auto; TEXT-ALIGN: center"><TBODY><TR><TD style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; VERTICAL-ALIGN: middle; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px">[​IMG]</TD></TR><TR><TD style="FONT-SIZE: 95%">พระธาตุหลวง</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800">ข้อมูลทั่วไป</TD></TR><TR><TD><TABLE style="TABLE-LAYOUT: auto; PADDING-RIGHT: 0px; PADDING-LEFT: 0px; FONT-SIZE: 100%; BACKGROUND: none transparent scroll repeat 0% 0%; PADDING-BOTTOM: 0px; PADDING-TOP: 0px; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: left" cellSpacing=0 cellPadding=0><TBODY><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ชื่อสามัญ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">พระธาตุหลวง</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ประเภท</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">โบราณสถานคู่ประเทศลาว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">นิกาย</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">เถรวาท</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ความพิเศษ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">- ประดิษฐานพระอุรังธาตุ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า</TD></TR><TR><TD style="BACKGROUND: #ffc800; TEXT-ALIGN: center" colSpan=2>ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left" noWrap width=108>ที่ตั้ง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; BORDER-TOP: #ccd2d9 1px solid; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em">ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ นครเวียงจันทน์ ประเทศลาว</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">รถประจำทาง</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">กรุงเทพฯ-หนองคาย แล้วข้ามสะพานมิตรภาพไทย-ลาว ถึงนครเวียงจันทน์</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">รถไฟ/รถไฟฟ้า</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">กรุงเทพฯ-หนองคาย แล้วต่อรถไปเวียงจันทน์อีกที</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">เวลาทำการ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">8.00-17.00</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">จุดที่น่าสนใจ</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">สักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">กิจกรรม</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">นมัสการพระธาตุหลวง ปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์ คู่กับพระธาตุพนม</TD></TR><TR><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">ข้อห้าม</TD><TD style="PADDING-RIGHT: 1em; PADDING-LEFT: 0px; PADDING-BOTTOM: 0.4em; VERTICAL-ALIGN: top; PADDING-TOP: 0.4em; TEXT-ALIGN: left">กรุณาแต่งกายสุภาพเนื่องจาก เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คู่ประเทศ</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>[/FONT]​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี นับเป็นปูชนียสถานอันสำคัญยิ่งแห่งนครหลวงเวียงจันทน์ และเป็นศูนย์รวมใจของประชาชนชาวลาวทั่วประเทศ ตามตำนานกล่าวว่าพระธาตุหลวงมีประวัติการก่อสร้างนับพันปีเช่นเดียวกันพระธาตุพนมในประเทศไทย และปรากฎความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ของดินแดนทางฝั่งขวาแม่น้ำโขงอย่างแยกไม่ออก สถานที่นี้ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์สำคัญอย่างของประเทศลาว ดังปรากฎว่าตราแผ่นดินของลาวที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้มีรูปพระธาตุหลวงเป็นภาพประธานในดวงตรา

    [แก้] ตำนานการสร้างพระธาตุหลวง

    ตามตำนานอุรังคนิทานได้กล่าวไว้ว่า พระธาตุหลวงสร้างขึ้นคราวเดียวกับการสร้างเมืองนครเวียงจันทน์ หลังจากก่อสร้างพระธาตุพนมแล้ว ผู้สร้างคือ บุรีจันอ้วยล้วย หรือ พระเจ้าจันทบุรีประสิทธิศักดิ์ เจ้าเหนือหัวผู้ครองนครเวียงจันทน์พระองค์แรก พร้อมกับพระอรหันต์ 5 องค์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนหัวเหน่า 27 พระองค์ ซึ่งได้อัญเชิญมาจากเมืองราชคฤห์ ประเทศอินเดีย โดยก่อเป็นอุโมงค์หินคร่อมไว้ อุโมงค์นั้นกว้างด้านละ 5 วา ผนังหนา 2 วา และสูงได้ 4 วา 3 ศอก เมื่อได้ทำการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุแล้ว พระเจ้าจันทบุรี จึงได้มีพระราชดำรัสให้เสนาอำมาตย์สร้างวิหารขึ้นในเมืองจันทบุรีหรือนครเวียงจันทน์ 5 หลัง เพื่อให้เป็นที่อยู่จำพรรษาของ พระอรหันต์ทั้ง 5 องค์นั้นด้วย ตามตำนานดังกล่าวระบุศักราชการสร้างว่าอยู่ในช่วง พ.ศ. 238
    ในระยะต่อมาแม้ว่าชื่อของเวียงจันทน์จะไม่ได้ปรากฏในหนังสือประวัติศาสตร์ใดเลย แต่อย่างไรก็ดี นครเวียงจันทน์ก็ยังคงเป็นเมืองสำคัญอยู่ตลอดมา ดังปรากฎการอ้างถึงชื่อเมืองเวียงจันทน์ในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง และในพงศาวดาวลาวฉบับต่างๆ ก็ระบุด้วยว่านับตั้งแต่พระเจ้าฟ้างุ้มเสวยราชสมบัติที่เมืองหลวงพระบางแล้ว ก็ได้มีการส่งเชื้อพระวงศ์และขุนนางสำคัญมาปกครองเมืองนี้โดยตลอด จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2109 หลังจาก พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช วีรกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของอาณาจักรล้านช้าง ได้ทรงย้ายราชธานีเมืองเชียงทองหลวงพระบาง ลงมายังนครเวียงจันทน์ได้ 6 ปีแล้ว พระองค์จึงได้มีพระบรมราชโองการให้สร้างองค์พระธาตุหลวงขึ้นมาใหม่ ในเขตพระราชอุทยานทางด้านทิศตะวันออกของกรุงเวียงจันทน์ โดยสร้างครอบพระธาตุองค์เก่าที่มีมาแต่โบราณกาล เมื่อสร้างพระธาตุหลวงเสร็จแล้ว จึงทรงขนานนามพระธาตุนี้ว่า "พระธาตุเจดีย์โลกจุฬามณี
     
  17. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    ภาพที่ 2

    ภาพที่ 2
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->[​IMG]

    ภาพที่ 2 พระธาตุนี้ตั้งอยู่ที่ อ.เมือง จังหวัดหนองคาย

     
  18. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    ในหนังสืออุรังคธาตุ หรือตำนานพระธาตุพนม ตอนหนึ่งได้กล่าวถึงการสร้างพระธาตุหล้าหนองว่า พระธาตุองค์นี้ สร้างโดยพระอรหันต์ 5 องค์ ประกอบด้วย พระมหารัตนเถระ, พระจุลรัตนเถระ, พระมหาสุวรรณปราสาทเถระ, พระจุลสุวรรณปราสาทเถระ และพระสังฆวิชัยเถระ ที่ล้วนเป็นศิษย์พระพุทธรักขิต พระธรรมรักขิต พระสังฆรักขิต พระอรหันต์ทั้ง 3 องค์

    พระอรหันต์ทั้ง 5 ได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า จากประเทศอินเดียมาพร้อมกัน และได้อัญเชิญไปประดิษฐานไว้พร้อมกัน 6 แห่ง คือ ที่พระธาตุหอผ้าหอแพ บ้านทรายฟอง เมืองหาดทรายฟอง สปป.ลาว, พระธาตุหัวเหน่า 29 องค์ บรรจุไว้ที่พระธาตุหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว, พระอุรังคธาตุ หรือพระธาตุหน้าอก บรรจุไว้ที่พระธาตุพนม อ.พระธาตุพนม จ.นครพนม, พระธาตุบังคล หรือกระเพาะอาหาร บรรจุไว้ที่พระธาตุบังพวน วัดพระธาตุบังพวน อ.เมืองหนองคาย, พระธาตุเขี้ยวฝาง 7 องค์ บรรจุไว้ที่พระธาตุโพนจิกเวียงงัว อ.เมืองหนองคาย และพระธาตุฝ่าพระบาทเบื้องขวา 9 องค์ บรรจุไว้ที่พระธาตุเมืองลา หรือพระธาตุหล้าหนอง อ.เมืองหนองคาย โดยพระธาตุหล้าหนองนี้ตั้งอยู่กลางบริเวณวัดธาตุ หรือวัดสิริมหากัจจายน์ ชุมชนวัดธาตุ เทศบาลเมืองหนองคาย


    "พระเทพมงคลรังษี" เจ้าคณะจังหวัดหนองคาย กล่าวว่า พระธาตุองค์นี้มีขนาดใกล้เคียงกับองค์เจดีย์พระธาตุพนม อ.พระธาตุพนม จ.นครพนม ซึ่งบริเวณวัดธาตุแห่งนี้มีพื้นที่ไม่ต่ำกว่า 100 ไร่ และตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง พอถึงฤดูน้ำหลากแม่น้ำโขงที่ไหลเชี่ยวกรากจะกัดเซาะตลิ่งบริเวณวัดธาตุจนพังทลายหายไป ซึ่งตามประชุมพงศาวดาร ภาค 70 ได้บันทึกไว้ว่า น้ำโขงกัดเซาะตลิ่งพังเข้าไปจนถึงองค์พระธาตุหล้าหนอง และพระธาตุได้พังลงในแม่น้ำโขง เมื่อวันศุกร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 9 เวลาใกล้ค่ำ ร.ศ.66 จ.ศ.1209 พ.ศ.2309 ซึ่งนายฟรองชีวการ์นิเยร์ ชาวฮอลันดา หนึ่งในคณะสำรวจอินโดจีนในอาณาจักรล้านช้าง ได้วาดภาพลายเส้นของพระธาตุหล้าหนองนี้ไว้เมื่อปีพ.ศ.2411 พร้อมคำบรรยายภาพว่า "ปิรมิด หรือองค์พระธาตุตั้งอยู่บนพื้นที่รูปครึ่งวงกลมที่ถูกตัดขาดจากฝั่งแม่น้ำด้านขวา หรือฝั่งไทย โดยปิรมิดแห่งนี้ถูกน้ำพัดขาดจากที่ตั้งเดิมบนริมฝั่งสิบปีมาแล้วและยังเอียงลงสู่น้ำราวกับเรืออับปางที่พร้อมจะจมลง"


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=20 align=left border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle>พระธาตุกลางแม่น้ำโขง จังหวัดหนองคาย</TD></TR></TBODY></TABLE>
    จากการสำรวจของกลุ่มงานโบราณคดีใต้น้ำ สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ที่ 4 สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกรมศิลปากร เมื่อ 19-27 เม.ย.2538 ทราบว่าพระธาตุหล้าหนอง อยู่ในเขตปกครองของอำเภอเมืองหนองคาย

    ปัจจุบันจมอยู่กลางแม่น้ำโขง องค์พระธาตุจมอยู่กลางแม่น้ำโขงห่างจากฝั่งไทย 180 เมตร องค์พระธาตุก่อด้วยอิฐถือปูน ล้มตะแคงไปตามกระแสน้ำ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีฐานเหลี่ยมมุมฉาก โดยด้านหนึ่งโผล่ขึ้นมาเหนือน้ำเพียงครึ่งฐาน องค์พระธาตุมีรูปทรงทางสถาปัตยกรรมเท่าที่ยังเหลืออยู่เป็นชั้นฐานเขียง 2 ชั้น ฐานสี่เหลี่ยมย่อเก็จต่อขึ้นมาอีก 4 ชั้น จึงเป็นเรือนธาตุ ต่อด้วยบัวลูกแก้วอีก 2 ชั้น ความสูงของเจดีย์เฉพาะส่วนที่สัมผัสได้ 12.20 เมตร ความกว้างของฐานองค์พระธาตุชั้นล่างสุด 15.80 เมตร

    "พระธาตุหล้าหนอง" เป็นที่เคารพสักการะของชาวหนองคาย และชาวบ้านได้จัดงานประเพณีเกี่ยวกับพระธาตุในทุกปี คือประเพณีบุญบั้งไฟ เดือน 6 เพื่อจุดถวายองค์พระธาตุ ในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 6 พิธีบวงสรวงองค์พระธาตุ วันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ถวายปราสาทผึ้ง วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 และการแข่งเรือยาววันออกพรรษาทุกปี เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา




    http://www.nkcity.com/index.php?mod=article&cat=nongkhaidata&article=436&page_order=1&act=print
     
  19. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    ภาพที่ 3
    <HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->[​IMG]

    ภาพที่ 3 พระธาตุตั้งอยู่ที่ อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

    “................... สร้างโดย พระยาหลังเขียว โมริยกษัตริย์ และพระอรหันต์ในเมืองโมรีย์ 9 พระองค์ นำโดย พระอรหันต์ยอดแก้ว พระอรหันต์รังสี พระอรหันต์คันทีเถระเจ้า และคณะ ครอบตอมะขาม บรรจุพระอังคารธาตุ พร้อมทั้งแก้วแหวนเงินทอง....................”

    พระธาตุนี้มีชื่อว่า พระธาตุขามแก่น
     
  20. นิโรธสมาบัติ

    นิโรธสมาบัติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    828
    ค่าพลัง:
    +2,562
    ประวัติพระธาตุขามแก่นตามตำนานเล่าว่าหลังจากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสปะเถระ มีความประสงค์จะนำพระอุรังคธาตุ(กระดูกทรวงอก) ของพระพุทธเจ้าไปประดิษฐานไว้ที่ภูกำพร้า (ที่ตั้งองค์พระธาตุพนมในปัจจุบัน) เจ้าเมืองทั้งหลายในถิ่นใกล้เคืองก็ร่วมกันสร้างองค์พระธาตุขึ้นกษัตริย์โมริยะแห่งนครโมรีย์พร้อมกับพระอรหันต์9องค์ จึงนำพระอังคารของพระพุทธเจ้าเดินทางไปร่วมก่อสร้างพระธาตุพนมและเพื่อบรรจุพระอังคารของพระพุทธเจ้า ระหว่างทางได้มาพักที่ดอนมะขาม ซึ่งมีตอมะขามตอหนึ่งซึ่งตายแล้วเหลือแต่แก่น คณะพระอรหันต์จึงอัญเชิญพระอังคารของพระพุทธเจ้าเก็บไว้บนตอมะขามครั้นรุ่งขึ้นก็เดินทางต่อไปแต่เมื่อไปถึงภูกำพร้าปรากฏว่าการก่อสร้างพระธาตุพนมและการบรรจุพระอุรังคธาตุเสร็จเรียบร้อยแล้ว ไม่สามารถจะบรรจุพระอังคารเพิ่มไปได้ กษัตริย์โมริยะและคณะพระอรหันต์ก็เดินทางกลับทางเดิม เมื่อมาถึงดอนมะขามก็พบเหตุมหัศจรรย์ ตอมะขามที่ตายนั้นผลิใบและแตกกิ่งก้านใหม่ กษัตริย์และพระอรหันต์ทั้ง 9 องค์เห็นเป็นอัศจรรย์เช่นนั้น จึงช่วยกันก่อสร้างพระธาตุครอบตอมะขามนั้น และบรรจุพระอังคารของพระพุทธเจ้าซึ่งอัญเชิญกลับมานั้นบรรจุไว้พร้อมด้วยแก้วแหวนเงินทองเป็นจำนวนมาก โดยหล่อเป็นองค์พระพุทธรูปเข้าบรรจุไว้ในพระธาตุ พระธาตุองค์ที่สร้างนั้ให้นามว่า "พระธาตุขามแก่น" การตั้งชื่อเมืองขอนแก่นก็นำมาจากชื่อขามแก่นนี้




    http://www.geocities.com/thainakhon/history/history-esaen-02.html
     

แชร์หน้านี้

Loading...