เรื่องเด่น อิทธิปาฎิหาริย์เทวดา สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

ในห้อง 'เสียงธรรม' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 25 สิงหาคม 2017.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ไฮเทค ไฮทุกข์-พระพรหมคุณาภรณ์

    เสรี ลพยิ้ม :-
    Published on May 29, 2014
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    รู้จักพระพรหมให้ดีไว้ อย่าทำได้แค่ขอท่านฯ-พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    photo.jpg
    เสรี ลพยิ้ม
    Published on Aug 22, 2014
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
    - CD213 จะถือพุทธ และรักษาธรรมได้ เรื่องอย่างนี้ต้องเข้าใจอย่าให้เพี้ยน
    วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน
    จังหวัดนครปฐม
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    PutThePhoneDown.jpg
     
  4. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ปัญหาภิกษุณี คิดให้ดีก็ไม่ยาก-พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    เสรี ลพยิ้ม :-
    Published on Aug 22, 2014
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    "เลือกจริต..กรรมฐาน" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    "สิ่งที่นำมาใช้ทำสมาธิ 40 อย่าง" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    photo.jpg

    Pun janin
    Published on Sep 29, 2017
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 11 สิงหาคม 2020
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    แต่งงานให้มีคุณค่า - พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)

    เสรี ลพยิ้ม
    Published on Sep 10, 2016
     
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ....... LpPromcunaporn.jpg
     
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    .................. PprayuttoHappy.jpg
     
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    "ชีวิต..ความตาย" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    punjanin
    Published on Oct 15, 2017
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • photo.jpg
      photo.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.7 KB
      เปิดดู:
      269
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 เมษายน 2018
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    "ภาวนา&กรรมฐาน" สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    07 - พูดถึงจุดหมาย ก็เลยจะไปให้ถึงปรมัตถ์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    punjanin
    Published on Sep 29, 2017
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • photo.jpg
      photo.jpg
      ขนาดไฟล์:
      2.7 KB
      เปิดดู:
      200
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 เมษายน 2018
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    "กรรม..ไม่ง้อใคร" # ๒ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ป.อ.ปยุตโต

    punjanin
    Published on Nov 15, 2017
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 พฤษภาคม 2018
  12. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    จิตวิญญาณแบบแม่มด แบบฮิปปี้ หรือแบบฤาษี ฯ พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    จากเทพสูงสุด สู่ธรรมสูงสุด พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    เสรี ลพยิ้ม
    Published on Aug 22, 2014
    พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) - CD213 จะถือพุทธ และรักษาธรรมได้ เรื่องอย่างนี้ต้องเข้าใจอย่าให้เพี้ยน
    วัดญาณเวศกวัน ต.บางกระทึก อ.สามพราน จังหวัดนครปฐม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • photo.jpg
      photo.jpg
      ขนาดไฟล์:
      4.3 KB
      เปิดดู:
      273
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 เมษายน 2018
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 เมษายน 2018
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    601005 อย่าทำตัวเป็นคนใบ้แบกขวดเปล่า โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( ป. อ. ปยุตฺโต) Live

    รู้จักบ้านของตัวเองไว้ 601213 โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( ป. อ. ปยุตฺโต) Live

    พุทธธรรม Buddhadham
    Published on Dec 12, 2017
    ไตรปิฎก “ปิฎกสาม”; ปิฎก แปลตามศัพท์อย่างพื้นๆ ว่า กระจาดหรือตะกร้าอันเป็นภาชนะสำหรับใส่รวมของต่างๆ เข้าไว้ นำมาใช้ในความหมายว่า เป็นที่ รวบรวมคำสอนในพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว โดยนัยนี้ ไตรปิฎก จึงแปลว่า “คัมภีร์ที่บรรจุพุทธพจน์ (และเรื่องราวชั้นเดิมของพระพุทธ-ศาสนา) ๓ ชุด” หรือ “ประมวลแห่งคัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัย ๓ หมวด” กล่าวคือ วินัยปิฎก สุตตันต-ปิฎก และ อภิธรรมปิฎก พระไตรปิฎกบาลีได้รับการตีพิมพ์เป็นเล่มหนังสือด้วยอักษรไทยครั้งแรกในรัชกาลที่ ๕ เริ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ เสร็จและฉลองพร้อมกับงานรัชดาภิเษกใน พ.ศ. ๒๔๓๖ แต่ยังมีเพียง ๓๙ เล่ม (ขาดคัมภีร์ปัฏฐาน) ต่อมา พ.ศ. ๒๔๖๘ ในรัชกาลที่ ๗ ได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์ใหม่เป็นฉบับที่สมบูรณ์ เพื่ออุทิศถวายพระราชกุศลแด่รัชกาลที่ ๖ เรียกว่า สฺยามรฏฺฐสฺส เตปิฏกํ (พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ) มีจำนวนจบละ ๔๕ เล่ม
    พระไตรปิฎกมีสาระสำคัญและการจัดแบ่งหมวดหมู่โดยย่อ ดังนี้
    ๑. พระวินัยปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ แบ่งเป็น๕ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า อา ปา ม จุ ป) คือ ๑. อาทิกัมมิกะ หรือปาราชิก ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ ตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต ๒. ปาจิตตีย์ ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบา ตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะ รวมตลอดทั้งภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด ๓. มหาวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น ๑๐ ขันธกะ หรือ ๑๐ ตอน ๔. จุลวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย ๑๒ ขันธกะ ๕. ปริวาร คัมภีร์ประกอบหรือคู่มือ บรรจุคำถามคำตอบสำหรับซ้อมความรู้พระวินัย
    พระวินัยปิฎกนี้ แบ่งอีกแบบหนึ่งเป็น ๕ คัมภีร์เหมือนกัน (จัด ๒ ข้อในแบบต้นนั้นใหม่) คือ
    ๑. มหาวิภังค์ หรือภิกขุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล ๒๒๗ ข้อ) ฝ่ายภิกษุสงฆ์
    ๒.ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ (ศีล ๓๑๑ ข้อ) ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์
    ๓.มหาวรรค
    ๔. จุลวรรค
    ๕. ปริวาร
    บางทีท่านจัดให้ย่นย่อเข้าอีก แบ่งพระวินัยปิฎกเป็น ๓ หมวด คือ
    ๑.วิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ (คือ รวมข้อ ๑ และ ๒ ข้างต้นทั้งสองแบบเข้าด้วยกัน)
    ๒. ขันธกะ ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ ทั้ง ๒๒ ขันธกะหรือ ๒๒ บทตอน (คือรวมข้อ ๓ และ ๔ เข้าด้วยกัน)
    ๓. ปริวาร คัมภีร์ประกอบ (คือข้อ ๕ ข้างบน)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มิถุนายน 2020
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ชิวีตพระในสมัยพุทธกาล ปาฏิโมกข์ 600623 โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตมหาเถระ) live

    จะพูดกันก็มาที่ธรรมสภา ถึงเวลาวิเวกก็ไปเข้าป่า 600723 โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตมหาเถระ)

    พุทธธรรม Buddhadham
    Published on Jun 29, 2017
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 สิงหาคม 2020
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    สังฆะ สังคม ไม่มีสงคราม โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตตมหาเถระ) live

    พุทธธรรม Buddhadham
    Published on Jul 9, 2017

    สังฆะ สังคม ไม่มีสงคราม โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตตมหาเถระ) ณ วัดญาณเวศกวัน วันที่ ๘ กรกฏาคม ๒๕๖๐
     
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    307 - อยากเก่ง ดี มีสุข เลิศปัญญา ก็รีบสร้างปราโมทย์ขึ้นมา - พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)

    punjanin
    Published on Jan 24, 2018
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 กรกฎาคม 2022
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ปฏิจจสมุปบาท ตอนที่ ๑ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    ปฏิจจสมุปบาท ตอนที่ ๒ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ( ป.อ.ปยุตฺโต )

    แสงธรรมนําชีวิต
    Published on Aug 7, 2016

     
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    โพธิปักขิยธรรม ตอนที่ ๑ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

    โพธิปักขิยธรรม ตอนที่ ๒ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

    แสงธรรมนําชีวิต
    Published on Aug 5, 2016



     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,346
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    โพธิปักขิยธรรม คือ ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ ประกอบด้วยธรรมะ 7 หมวด คือ
    สติปัฏฐาน 4, สัมมัปปธาน 4, อิทธิบาท 4, อินทรีย์ 5, พละ 5, โพชฌงค์ 7, มรรคมีองค์ 8 รวมเป็น 37 จึงเรียกว่า โพธิปักขิยธรรม 37
    1.) สติปัฏฐาน 4 คือ การเจริญสติระลึกรู้
    1. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่องรูปธรรม
    2. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่องนามธรรมในส่วนความรู้สึกจากสัมผัส
    3. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่องนามธรรมในส่วนของการรับรู้
    4. ธรรมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นทุกเรื่องทั้งรูปธรรมและนามธรรม
    2.) สัมมัปปธาน 4 คือ ความเพียรพยายาม
    1. สังวรปธาน คือ เพียรระวังยับยั้งบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด มิให้เกิดขึ้น
    2. ปหานปธาน คือ เพียรละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
    3. ภาวนาปธาน คือ เพียรทำกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดมีขึ้น
    4. อนุรักขนาปธาน คือ เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งมั่น
    3.) อิทธิบาท 4 คือ ทางแห่งความสำเร็จในกิจอันเป็นกุศล
    1. ฉันทะ คือ ความพอใจและเต็มใจ
    2. วิริยะ คือ ความเพียรพยายาม
    3. จิตตะ คือ ความเอาใจใส่ จิตใจจดจ่อ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่าน
    4. วิมังสา คือ ปัญญาที่พิจารณาใคร่ครวญ หาเหตุผล เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
    4.) อินทรีย์ 5 คือ ธรรมที่ทำหน้าที่เป็นใหญ่ในอารมณ์
    1. สันธินทรีย์ คือ ความศรัทธาเป็นใหญ่
    2. วิริยินทรีย์ คือ ความเพียรเป็นใหญ่
    3. สตินทรีย์ คือ สติที่ระลึกรู้ในอารมณ์ปัจจุบันเป็นใหญ่
    4. สมาธินทรีย์ คือ การทำจิตให้เป็นสมาธิตั้งมั่นจดจ่ออยู่ในอารมณ์กรรมฐาน
    5. ปัญญินทรีย์ คือ ปัญญาทำหน้าที่เป็นใหญ่ด้วยการรู้แจ้ง
    5.) พละ 5 คือ ธรรมอันเป็นกำลังที่เกื้อหนุนแก่อริยมรรค
    1. สัทธาพละ คือ ความเชื่อ เลื่อมใส ศรัทธาที่เป็นกำลังให้อดทน และเอาชนะธรรมอันเป็นข้าศึก เช่น ตันหา
    2. วิริยะพละ คือ ความเพียรพยายาม เป็นกำลังให้ต่อสู้กับความขี้เกียจ
    3. สติพละ คือ ความระลึกได้ในอารมณ์สติปัฏฐาน อันจะเป็นกำลังให้ต้านทานความประมาทพลั้งเผลอ
    4. สมาธิพละ คือ ความตั้งมั่นจดจ่ออยู่ในอารมณ์กรรมฐาน ทำให้เกิดกำลังต่อสู้เอาชนะความฟุ้งซ่าน
    5. ปัญญาพละ คือ เป็นกำลังปัญญาที่เข้มแข็ง ซึ่งทำให้เอาชนะโมหะ คือความโง่ ความหลง
    6.) โพชฌงค์ 7 คือ ธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้
    1. สติสัมโพชฌงค์ คือ ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง
    2. ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ คือ ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม
    3. วิริยสัมโพชฌงค์ คือ ความเพียร
    4. ปีติสัมโพชฌงค์ คือ ความอิ่มใจ
    5. ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ คือ ความสงบกายใจ
    6. สมาธิสัมโพชฌงค์ คือ ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์
    7. อุเบกขาสัมโพชฌงค์ คือ ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง
    7.) มรรคมีองค์ 8 คือ หนทางปฏิบัติที่นำไปสู่การบรรลุมรรคผลนิพพาน
    1. สัมมาทิฏฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึงเห็นถูกตามความเป็นจริงด้วยปัญญา
    2. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริชอบ หมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือความดีงาม
    3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถึงการพูดสนทนา แต่ในสิ่งที่สร้างสรรค์ดีงาม
    4. สัมมากัมมันตะ คือ การประพฤติดีงาม ทางกายหรือกิจกรรมทางกายทั้งปวง
    5. สัมมาอาชีวะ คือ การทำมาหากินอย่างสุจริตชน
    6. สัมมาวายามะ คือ ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพียรในการกุศลกรรม
    7. สัมมาสติ คือ การไม่ปล่อยให้เกิดความพลั้งเผลอ จิตเลื่อนลอย ดำรงอยู่ด้วยความรู้ตัวอยู่เป็นปกติ
    8. สัมมาสมาธิ คือ การฝึกจิตให้ตั้งมั่น สงบ สงัด จากกิเลศ นิวรณ์อยู่เป็นปกติ
     

แชร์หน้านี้

Loading...