ผลกรรมจากการพูดจาไม่ดี...อาจเปลี่ยนมิตรให้เป็นศัตรูได้

ในห้อง 'กฎแห่งกรรม - ภพภูมิ' ตั้งกระทู้โดย รักไร้พ่าย, 14 พฤศจิกายน 2008.

  1. รักไร้พ่าย

    รักไร้พ่าย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    886
    ค่าพลัง:
    +2,861
    กฎแห่งกรรมเปรียบเหมือนเราเตะลูกบอลไปชนกำแพง
    แล้วลุกบอลก็เด้งกลับมาหาเรา
    จะเด้งมาแรงหรือเบาอยู่ที่ว่าเราเตะแรงแค่ไหน
    และอยู่ที่ว่ากำแพงนั้นแข็งมากแค่ไหน

    ถ้าเตะแรง ก็จะสะท้อนกลับมาแรง และถ้ากำแพงนั้นแข็งมาก
    ก็จะสะท้อนกลับมาแรงด้วย

    กรรมก็เหมือนกันครับ

    กรรมคือการกระทำ มี 3 ทาง คือ ทางใจ ทางคำพูดและทางกาย

    เมื่อเราทำกรรมขึ้น จะเป็นกรรมดี หรือไม่ดีผ่าน 3 ทางนี้
    จะมีผลสะท้อนกลับมาในรูแปบบเดียวกับที่เรากระทำออกไป

    คือ ถ้าเราทำดี ผลย่อมได้ดี ทำไม่ดี ผลออกมาก็ไม่ดี

    ผลสะท้อนย้อมกลับมานั้น เรียกว่า วิบากรรม

    และกรรมอย่างหนึ่งที่คนเรามักพลาดพลั้งล่วงทุจริตกรรมอยู่เนือง ๆ
    คือ วจีกรรม เพราะเป็นกรรมที่ทำได้ง่าย

    การที่เราไปว่าคนอื่น เป็น กรรมทางวาจา ที่ไม่ดี ผลสะท้อนกลับมาคือ
    เราจะเป็นผู้ถูกต่อว่า นินทา
    ทำให้เราเจ็บช้ำน้ำใจ เพราะตอนที่เราไปว่าเขา เขาก็เจ็บช้ำน้ำใจเหมือนกัน

    กรรมไม่ดีทางคำพูดมี 4 อย่าง

    1 พูดโกหก จะมีผลไห้เราเป็นคนไม่มีความน่าไว้ใจ
    พูดจาไม่มีน้ำหนักและมีกลิ่นปากเหม็นด้วย

    2 พูดเสียดสี หรือพูดจายุยงให้คนอื่นแตกแยก จะมีผลให้เราต้องได้รับความอับอาย
    ภูกนินทากล่าวร้าย และไม่มีใครคบหาด้วย

    3 พูดคำหยาบ จะมีผลทำให้เราไม่มีเสน่ห์ ไม่มีใครอยากอยู่ใกล้
    และทำให้เราถูกต่อว่าด้วยคำที่หยาบคาย

    4 พูดเพ้อเจ้อ ไม่มีสาระ จะมีผลทำให้เรา เป็นคนไม่มีหลักการ ขาดความน่าเชื่อถือ
    และเราจะเป็นคนชอบตำหนิตัวเอง โทษตัวเองเสมอๆ


    ในสมัยก่อน พระอรหันต์เป็นภิกษุณีรูปหนึ่งชื่อว่า นางอัมพปาลี
    ได้เล่าถึงอดีคชาติของนางว่า
    ครั้งหนึ่งนางได้ไปนมัสการพระเจดีย์
    โดยได้ทำประทักษิณ เวียนขวารอบเจดีย์

    ขณะกำลังเดินประทักษิณอยู่
    นางได้เห็นภิกษุณีรูปหนึ่งได้เดินทำประทักษิณอยู่ตรงหน้าเธอ ภิกษุณีรูปนั้นได้
    บ้วนน้ำลายลงพื้น เมื่อนางอัมพปาลีเห็น จึงเกิดความไม่พอใจที่เห็นกิริยาดังนั้น
    จึงได้สบถคำด่า ภิกษุณีรูปนั้นว่า
    "อีหญิงแพศยา"

    นางอัมพปาลีนั้นหารู้ไม่ว่า ภิกษุณีรูปนั้นคือพระอรหันตขีณาสพ ผู้สิ้นอาสวะ

    ผลกรรมที่ใช้วาจาหยาบด่าว่าพระอรหันต์นั้น เมื่อนางอัมพปาลี
    ซึ่งที่จริงแล้วก็ได้บำเพ็ญบารมีมากมาก และใกล้จะบรรลุธรรมชั้นสูงในชาตนั้น
    แต่ได้พลาดพลั้งด่าทอพระอรหันต์

    หลังจากภพชาตินั้น นางอัมพปาลีได้เสวยทุกขเวทนาในมหานรกนานแสนนาน
    เมื่อหมดกรรมจากนรก จึงได้มาเกิดเป็นมนุษย์บริเวณสวนมะม่วง
    แต่เศษกรรมที่ติดมาด้วยคือ ทำให้นางต้องเป็นหญิงโสเภณีในชาตินั้น
    เพราะผลกรรมที่ด่าพระอรหันต์ว่าเป็น หญิงแพศยา

    และต่อมานางได้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ได้สร้างวิหารถวายสงฆ์
    ได้ฟังธรรมจนเลื่อมใสในรสพระธรรม แล้วได้ออกบวชเป็นภิกษุณี
    จนที่สุดได้บรรลุเป็นพระอรหันต์

    นี่คือโทษของคำพูดไม่ดี ที่เราอาจคิดว่าไม่มีโทษมาก

    ดังนั้นขอให้เรา พูดจาดี อย่าได้พูดคำไม่ดีกับผู้ใดเลย
    เพราะเราไม่รู้ว่าคนที่เราด่านั้นภูมิธรรมอยู่ในขั้นไหน

    หากเขามีภูมิธรรมสูง ผลร้ายย่อมสะท้อนกลับมากเราแรงมาก เหมือน
    เตะบอลอัดกำแพงเหล็กหนา ลูกบอลจะสะท้อนกลับมาแรง

    การพูดจาดี มี 4 ประเภท คือ

    1 พูดความจริง
    2 พูดให้คนปรองดอง สามัคคีกัน
    3 พูดจาอ่อนหวาน
    4 พูดจามีหลักการ มีประโยฃน์สาระ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 28 พฤศจิกายน 2008
  2. วิญญาณนิพพาน

    วิญญาณนิพพาน ทีมงานอาสาฯ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 เมษายน 2008
    โพสต์:
    22,463
    กระทู้เรื่องเด่น:
    51
    ค่าพลัง:
    +21,012
    ครับ คําพูดของเรานั้นเสมือนอาญาประกาศิตครับ จะดี ไม่ดีขึ้นอยู่ที่ปากของเรา
     
  3. กัมพ์

    กัมพ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 เมษายน 2008
    โพสต์:
    222
    ค่าพลัง:
    +118
    อนุโมทนาสาธุครับ..

    --------------------------------

    น่าเอาไปให้พวกนักการเมืองอ่านเนอะ...

    ไม่ก็พวกพันธมิตรและก็ นปช. นะ...ว่ามั้ย
     
  4. TUK2800

    TUK2800 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    1,766
    ค่าพลัง:
    +1,161
    ขออนุโมทนาบุญด้วยค่ะ...


    ;aa22 การให้ธรรมเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง <O:p</O:p
    <!-- / message -->
     
  5. ประทีปแก้ว

    ประทีปแก้ว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2008
    โพสต์:
    3,506
    ค่าพลัง:
    +8,328
    กำลังปล้ำกับวจีกรรม 4 อยู่ค่ะ...เพื่อนๆเวปเป็นกำลังใจด้วยนะคะ
     
  6. a5g1aeka

    a5g1aeka เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    728
    ค่าพลัง:
    +1,578
    แล้วพระอรหันต์ทำไมถึงไม่สำรวมหนอ...ส่วนหญิงนั้นก็ด่าหนักไป...การด่าคนชั่ว...การแช่งคนโกง...แม้คิดด่าในใจ...จะมีผลดีผลเสียอย่างไรบ้างหนอ...ใครก็ได้ช่วยแสดงความเห็นที...เพราะเบื่อพวกโกงบ้านกินเมืองหน้าหนาเต็มบ้านเต็มเมืองจริงๆ...อนุโมทนาสาธุกับบทความด้วย...ครับ...
     
  7. รักไร้พ่าย

    รักไร้พ่าย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    886
    ค่าพลัง:
    +2,861
    การที่ท่านภิกษุณีผู้เป็นอรหันต์ไม่สำรวมนั้น เป็นเพราะวาสนาของท่าน
    วาสนาคือจิตส่วนลึกที่สุดที่เกิดจากการกระทำมานานจนเคยชินแล้ว ไม่สามารถละได้

    เหมือนเช่นพระสารีบุตร ก็เคยกระโดดข้ามแอ่งน้ำที่ขวางทางเดิน
    เพราะท่านเคยเกิดเป็นลิงมาหลายชาติ

    หรืออย่างพระอรหันต์ท่านหนึ่งที่ชอบสบถคำด่าคนอื่นว่า "อ้ายถ่อย"

    ก็เป็นเพราะวาสนา หรืออนุสัยส่วนลึกที่ละไม่ได้

    แต่จิตของท่านนั่นบริสุทธ์ หมดซึ่งกิลเส
    เพียงแต่อากัปกิริยาของท่านที่เป็นเช่นนั้น

    มีแต่พระพุทธเจ้าเท่านั้นที่ละวาสนาได้
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 พฤศจิกายน 2008
  8. คะแนนชีวิต

    คะแนนชีวิต Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +78
    เกิดมาสร้างกรรม ทำไม่ดีไว้ก็เยาะ พูดไม่ดีไว้ก็มาก
    ขออโหสิกรรมทุกท่านด้วยค่ะ

    [​IMG]
     
  9. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    การพูดสร้างมิตร หรือ ศัตรูก็ได้

    ดังนั้นคิดสักนิดก่อนพูดครับ

    โมทนาครับ
     
  10. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    <TABLE borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center bgColor=#e2e2e2 border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ecfae0>พูดจาแบบมีเสน่ห์ </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffcc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>โบราณเคยบอก "พูดดีเป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วอัปราชัย"

    หลายคนมาแผลงเป็น "พูดดีเป็นศรีแก่ปาก พูดมากปากจะมีสี" จะยึดคำกล่าวไหนก็ได้ค่ะ เพราะหัวใจสำคัญอยู่ที่การ "พูดให้ดี"

    ทำไมต้องพูดให้ดี...

    เพราะการพูดให้ดีนั้น ฟังแล้ว "เข้าหู" ชวนฟัง ชวนให้คล้อยตาม ชวนให้รู้สึกประทับใจและก่อให้เกิดสิ่งดี ๆ ตามมาได้อีกมากมาย

    การพูดเป็นเรื่องสำคัญในชีวิตค่ะ เพราะตลอดทั้งชีวิต เราต้องอาศัยการพูดเป็นการสื่อสารที่สำคัญ

    พูดไม่เป็น
    พูดไม่เข้าหูคน
    หรือพูดแล้วคนอยากพาไป

    "ผ่าสุนัขออกจากปาก" อย่างที่เขาล้อ ๆ กันนั้น

    ท่าทางชีวิตจะย่ำแย่ ดังนั้นมาเรียนรู้การพูดการจาให้เป็นสง่าราศีแก่ชีวิตดีกว่าค่ะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>1. คนจะพูดดีได้ต้องเริ่มจากคิดดี

    ไม่มีประโยชน์ที่เราจะเริ่มต้นจากการคิดร้ายแม้กับคนที่เราไม่ถูกชะตาด้วยที่สุด ก็ไม่มีเหตุผลอะไรที่เราจะต้องพูดจาไม่ดีกับเขา

    การคิดดี ถือเป็นเรื่องพื้นฐานของมนุษย์ เป็นพื้นฐานของจิตใจที่ดีงาม

    ใครก็ตามที่รู้จักคิดดี

    เขาก็จะเห็นแง่งามของโลกของชีวิต ของตนเอง และของผู้อื่น เมื่อเห็นแง่งามหรือแง่ดีของสิ่งต่าง ๆ เขาก็ย่อมมีทัศนคติที่ดี

    มีท่าทีที่ดีและเมื่อต้องพูดจากเสวนากัน เขาก็ย่อมพูดจาดี

    การพูดจาดี

    ไม่เพียงแต่สะท้อนการให้เกียรติและเคารพในตัวคนอื่น แต่ยังสะท้อนการให้เกียรติและเคารพตนเองอีกด้วย คนจะพูดจาดีได้ต้องรับการอบรมมาดี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี

    ดิฉันขอย้ำอีกครั้งว่า

    บุคลิกภาพดี ๆ เริ่มต้นที่ครอบครัว การพูดจาดีก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ต้องเริ่มจากในบ้าน พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่างของคนที่พูดจาดี ๆ ต่อกัน ต้องเป็นผู้ชี้แนะคุณค่าของการพูดดี

    พูดดีในที่นี้หมายความว่าอะไร

    หมายความว่า

    พูดเพราะ
    พูดคำสุภาพ
    มีน้ำเสียงที่สุภาพ
    มีหางเสียงครับ ค่ะ จ๊ะ จ้ะ
    เพื่อแสดงความมีมารยาท
    มีไมตรีจิต
    ไม่พูดคำหยาบ
    ไม่ใส่ร้าย
    ไม่ตะคอกตะเบ็งใส่กัน
    ไม่ประชดประชัน
    ไม่โกหกพกลม

    คนจะพูดดีเช่นนี้ได้จะคิดร้ายอยู่ในใจไม่ได้แน่นอน

    เพราะความร้ายกาจในใจจะเผยมาทางคำพูด น้ำเสียง แววตา หรือท่าทีขณะที่พูดได้ จึงจำเป็นต้องฝึกตนให้เป็นคนคิดดี
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>2. พูดถูกกาลเทศะ

    ไม่ใช่ตลอดเวลาหรอกค่ะ ที่คนเราจะพูดได้ ต้องมีบ้างบางขณะที่เราหยุดพูด เพื่อเป็นผู้ฟังคนอื่นพูดบ้าง

    คนบางคนถูกตั้งข้อสังเกตว่า "ผีเจาะปากมาพูด"

    คือพูด ๆๆๆๆ ฟังไม่เป็น ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นพูด ทำตัวเป็นผู้รู้ไปหมดทุกเรื่อง จึงพูดอยู่ตลอดเวลาคนแบบนี้น่ารำคาญ จริงไหมคะ

    อย่าทำตัวน่ารำคาญ

    ด้วยการพูดจาไม่หยุดไม่หย่อน ไม่ดูวาระและโอกาส คนพูดเป็นจะรู้ว่าโอกาสไหนควรพูด โอกาสไหนควรฟัง และโอกาสไหนควรวางเฉย คนที่รู้จักพูดเขาจะดูสถานที่

    และเลือกวิธีพูดจาให้เหมาะสมกับผู้ฟังและสถานที่

    ผู้ฟังที่อาวุโสกว่าเรา เราต้องพูดด้วยท่าทีและน้ำเสียงอย่างหนึ่ง
    เป็นเพื่อนกันก็พูดอย่างหนึ่ง
    เป็นน้องเป็นนุ่งเราก็ต้องพูดอีกแบบหนึ่ง
    พูดในที่ประชุมจะเหมือนพูดในกลุ่มเพื่อนไม่ได้
    พูดคุยกับเพื่อนก็อย่าทำตัวน่าเบื่อเหมือนบรรยายวิชาการ

    การปรับตัวหรือพลิกแพลงตามสถานการณ์ที่ต่างกันไปเหล่านี้เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องเรียนรู้

    หลักการพูดให้ถูกกาลเทศะทำได้ง่าย ๆ คือ

    ดูว่าเราต้องพูดในหัวข้อไหน
    เรื่องอะไร
    พูดที่ไหน
    ใครฟัง
    ผู้ฟังกี่คน
    ฟังกันในที่เปิดเผยหรือในห้องจำกัด
    พูดสั้นหรือพูดยาว
    จริงจังหรือกันเอง
    ใครอ่านสถานการณ์ออก
    เตรียมตัวพร้อม ก็สามารถพูดจาได้น่าจดจำตามวาระและโอกาสนั้น ๆ ได้เสมอ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>3. พูดมีเนื้อหาสาระ

    ห้ามพูดเรื่อยเปื่อย ไม่ว่าจะคุยกันกับเพื่อน ผู้ร่วมงานพ่อแม่ หรือพูดในที่ประชุมหรือที่สาธารณะ

    ก็ต้องมีเป้าหมายในการพูด พูดอย่างมีสาระ มีขอบเขตชัดเจนว่าต้องการสื่อสารเรื่องอะไร หรือต้องการจะบอกกับผู้ฟังว่าอะไร
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>4. พูดจาให้น่าฟัง

    น้ำเสียงที่กังวานแจ่มใส ดังพอประมาณ พูดจาฉะฉานชัดเจน จะดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังได้มาก การพูดในบ้างครั้งต้องพูดปากเปล่า แต่บ่อยครั้งก็ต้องพูดผ่านไมโครโฟน

    หากมีโอกาสฝึกฝนเรื่องการใช้เสียงอย่างเหมาะสมทั้งแบบปากเปล่าและผ่านไมโครโฟนได้

    ก็ควรทำ เพราะการพูดผ่านไมโครโฟนนั้น ต้องมีระยะใกล้ไกลระหว่างปากกับไมโครโฟนที่พอเหมาะ เสียงจึงจะชัดเจน ไม่มีเสียงเสียดแทรกจนผู้ฟังรู้สึกไม่สบายหู หรือรำคาญ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>5. พูดให้เกิดความรู้สึกร่วม

    วิธีการง่าย ๆ คือ

    สบตากับผู้ฟังอย่างทั่วถึง ตั้งคำถามในขณะพูดแล้วค่อย ๆ อธิบายเพื่อนำไปสู่คำตอบ สอบถามผู้ฟังบ้างในบางหัวข้อที่ง่าย ๆ หรือเป็นเรื่องของประสบการณ์ เป็นเรื่องของความคิดเห็นที่ไม่ใช่เรื่องซึ่งเมื่อตอบแล้วอาจถูกหรือผิด

    ผู้พูดจำเป็นต้องรู้พื้นภูมิของผู้ฟังบ้าง

    เพื่อพูดในภาษาที่เขาเข้าใจง่าย บางครั้งการพูดด้วยสำเนียงท้องถิ่นก็ทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี รู้สึกเป็นกันเอง อย่าพูดไทยผสมกับภาษาต่างประเทศโดยไม่อธิบาย เลือกใช้ภาษาต่างประเทศเท่าที่จำเป็นเท่านั้น

    และยกตัวอย่างที่คาดว่าผู้ฟังน่าจะมีประสบการณ์ร่วม อย่ายกตัวอย่างไกลตัว

    การพูดเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของคนเรา

    เป็นภาพฟ้องอุปนิสัยใจคอ จึงไม่อาจพูดจาเรื่อยเปื่อย ไร้จุดหมาย ไร้การระมัดระวังได้

    การพูดนำมาซึ่งมิตรและศัตรู แต่ก็นั่นแหละ เราเลือกได้นี่คะว่าจะพูดให้ได้เพื่อน หรือพูดให้ได้ศัตรู

    การพูดทำให้คนเราดูดีหรือดูแย่ได้ทั้งนั้น อยู่ที่ว่าเราเลือกอะไร


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    สนับสนุนข้อคิดนานาสาระโดย:
    เครือขายสุขภาพเพื่อประชาชน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา : http://variety.teenee.com/foodforbrain/1476.html
     
  11. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    <TABLE borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center bgColor=#e2e2e2 border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ecfae0>พูดจาแบบมีเสน่ห์ </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE borderColor=#fac963 cellPadding=0 width=725 align=center border=5><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR bgColor=#ffffcc><TD vAlign=center> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>โบราณเคยบอก "พูดดีเป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วอัปราชัย"

    หลายคนมาแผลงเป็น "พูดดีเป็นศรีแก่ปาก พูดมากปากจะมีสี" จะยึดคำกล่าวไหนก็ได้ค่ะ เพราะหัวใจสำคัญอยู่ที่การ "พูดให้ดี"

    ทำไมต้องพูดให้ดี...

    เพราะการพูดให้ดีนั้น ฟังแล้ว "เข้าหู" ชวนฟัง ชวนให้คล้อยตาม ชวนให้รู้สึกประทับใจและก่อให้เกิดสิ่งดี ๆ ตามมาได้อีกมากมาย

    การพูดเป็นเรื่องสำคัญในชีวิตค่ะ เพราะตลอดทั้งชีวิต เราต้องอาศัยการพูดเป็นการสื่อสารที่สำคัญ

    พูดไม่เป็น
    พูดไม่เข้าหูคน
    หรือพูดแล้วคนอยากพาไป

    "ผ่าสุนัขออกจากปาก" อย่างที่เขาล้อ ๆ กันนั้น

    ท่าทางชีวิตจะย่ำแย่ ดังนั้นมาเรียนรู้การพูดการจาให้เป็นสง่าราศีแก่ชีวิตดีกว่าค่ะ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>1. คนจะพูดดีได้ต้องเริ่มจากคิดดี

    ไม่มีประโยชน์ที่เราจะเริ่มต้นจากการคิดร้ายแม้กับคนที่เราไม่ถูกชะตาด้วยที่สุด ก็ไม่มีเหตุผลอะไรที่เราจะต้องพูดจาไม่ดีกับเขา

    การคิดดี ถือเป็นเรื่องพื้นฐานของมนุษย์ เป็นพื้นฐานของจิตใจที่ดีงาม

    ใครก็ตามที่รู้จักคิดดี

    เขาก็จะเห็นแง่งามของโลกของชีวิต ของตนเอง และของผู้อื่น เมื่อเห็นแง่งามหรือแง่ดีของสิ่งต่าง ๆ เขาก็ย่อมมีทัศนคติที่ดี

    มีท่าทีที่ดีและเมื่อต้องพูดจากเสวนากัน เขาก็ย่อมพูดจาดี

    การพูดจาดี

    ไม่เพียงแต่สะท้อนการให้เกียรติและเคารพในตัวคนอื่น แต่ยังสะท้อนการให้เกียรติและเคารพตนเองอีกด้วย คนจะพูดจาดีได้ต้องรับการอบรมมาดี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี

    ดิฉันขอย้ำอีกครั้งว่า

    บุคลิกภาพดี ๆ เริ่มต้นที่ครอบครัว การพูดจาดีก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ต้องเริ่มจากในบ้าน พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่างของคนที่พูดจาดี ๆ ต่อกัน ต้องเป็นผู้ชี้แนะคุณค่าของการพูดดี

    พูดดีในที่นี้หมายความว่าอะไร

    หมายความว่า

    พูดเพราะ
    พูดคำสุภาพ
    มีน้ำเสียงที่สุภาพ
    มีหางเสียงครับ ค่ะ จ๊ะ จ้ะ
    เพื่อแสดงความมีมารยาท
    มีไมตรีจิต
    ไม่พูดคำหยาบ
    ไม่ใส่ร้าย
    ไม่ตะคอกตะเบ็งใส่กัน
    ไม่ประชดประชัน
    ไม่โกหกพกลม

    คนจะพูดดีเช่นนี้ได้จะคิดร้ายอยู่ในใจไม่ได้แน่นอน

    เพราะความร้ายกาจในใจจะเผยมาทางคำพูด น้ำเสียง แววตา หรือท่าทีขณะที่พูดได้ จึงจำเป็นต้องฝึกตนให้เป็นคนคิดดี
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>2. พูดถูกกาลเทศะ

    ไม่ใช่ตลอดเวลาหรอกค่ะ ที่คนเราจะพูดได้ ต้องมีบ้างบางขณะที่เราหยุดพูด เพื่อเป็นผู้ฟังคนอื่นพูดบ้าง

    คนบางคนถูกตั้งข้อสังเกตว่า "ผีเจาะปากมาพูด"

    คือพูด ๆๆๆๆ ฟังไม่เป็น ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นพูด ทำตัวเป็นผู้รู้ไปหมดทุกเรื่อง จึงพูดอยู่ตลอดเวลาคนแบบนี้น่ารำคาญ จริงไหมคะ

    อย่าทำตัวน่ารำคาญ

    ด้วยการพูดจาไม่หยุดไม่หย่อน ไม่ดูวาระและโอกาส คนพูดเป็นจะรู้ว่าโอกาสไหนควรพูด โอกาสไหนควรฟัง และโอกาสไหนควรวางเฉย คนที่รู้จักพูดเขาจะดูสถานที่

    และเลือกวิธีพูดจาให้เหมาะสมกับผู้ฟังและสถานที่

    ผู้ฟังที่อาวุโสกว่าเรา เราต้องพูดด้วยท่าทีและน้ำเสียงอย่างหนึ่ง
    เป็นเพื่อนกันก็พูดอย่างหนึ่ง
    เป็นน้องเป็นนุ่งเราก็ต้องพูดอีกแบบหนึ่ง
    พูดในที่ประชุมจะเหมือนพูดในกลุ่มเพื่อนไม่ได้
    พูดคุยกับเพื่อนก็อย่าทำตัวน่าเบื่อเหมือนบรรยายวิชาการ

    การปรับตัวหรือพลิกแพลงตามสถานการณ์ที่ต่างกันไปเหล่านี้เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องเรียนรู้

    หลักการพูดให้ถูกกาลเทศะทำได้ง่าย ๆ คือ

    ดูว่าเราต้องพูดในหัวข้อไหน
    เรื่องอะไร
    พูดที่ไหน
    ใครฟัง
    ผู้ฟังกี่คน
    ฟังกันในที่เปิดเผยหรือในห้องจำกัด
    พูดสั้นหรือพูดยาว
    จริงจังหรือกันเอง
    ใครอ่านสถานการณ์ออก
    เตรียมตัวพร้อม ก็สามารถพูดจาได้น่าจดจำตามวาระและโอกาสนั้น ๆ ได้เสมอ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>3. พูดมีเนื้อหาสาระ

    ห้ามพูดเรื่อยเปื่อย ไม่ว่าจะคุยกันกับเพื่อน ผู้ร่วมงานพ่อแม่ หรือพูดในที่ประชุมหรือที่สาธารณะ

    ก็ต้องมีเป้าหมายในการพูด พูดอย่างมีสาระ มีขอบเขตชัดเจนว่าต้องการสื่อสารเรื่องอะไร หรือต้องการจะบอกกับผู้ฟังว่าอะไร
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>4. พูดจาให้น่าฟัง

    น้ำเสียงที่กังวานแจ่มใส ดังพอประมาณ พูดจาฉะฉานชัดเจน จะดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังได้มาก การพูดในบ้างครั้งต้องพูดปากเปล่า แต่บ่อยครั้งก็ต้องพูดผ่านไมโครโฟน

    หากมีโอกาสฝึกฝนเรื่องการใช้เสียงอย่างเหมาะสมทั้งแบบปากเปล่าและผ่านไมโครโฟนได้

    ก็ควรทำ เพราะการพูดผ่านไมโครโฟนนั้น ต้องมีระยะใกล้ไกลระหว่างปากกับไมโครโฟนที่พอเหมาะ เสียงจึงจะชัดเจน ไม่มีเสียงเสียดแทรกจนผู้ฟังรู้สึกไม่สบายหู หรือรำคาญ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 align=left bgColor=#f5f5f5 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>5. พูดให้เกิดความรู้สึกร่วม

    วิธีการง่าย ๆ คือ

    สบตากับผู้ฟังอย่างทั่วถึง ตั้งคำถามในขณะพูดแล้วค่อย ๆ อธิบายเพื่อนำไปสู่คำตอบ สอบถามผู้ฟังบ้างในบางหัวข้อที่ง่าย ๆ หรือเป็นเรื่องของประสบการณ์ เป็นเรื่องของความคิดเห็นที่ไม่ใช่เรื่องซึ่งเมื่อตอบแล้วอาจถูกหรือผิด

    ผู้พูดจำเป็นต้องรู้พื้นภูมิของผู้ฟังบ้าง

    เพื่อพูดในภาษาที่เขาเข้าใจง่าย บางครั้งการพูดด้วยสำเนียงท้องถิ่นก็ทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี รู้สึกเป็นกันเอง อย่าพูดไทยผสมกับภาษาต่างประเทศโดยไม่อธิบาย เลือกใช้ภาษาต่างประเทศเท่าที่จำเป็นเท่านั้น

    และยกตัวอย่างที่คาดว่าผู้ฟังน่าจะมีประสบการณ์ร่วม อย่ายกตัวอย่างไกลตัว

    การพูดเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของคนเรา

    เป็นภาพฟ้องอุปนิสัยใจคอ จึงไม่อาจพูดจาเรื่อยเปื่อย ไร้จุดหมาย ไร้การระมัดระวังได้

    การพูดนำมาซึ่งมิตรและศัตรู แต่ก็นั่นแหละ เราเลือกได้นี่คะว่าจะพูดให้ได้เพื่อน หรือพูดให้ได้ศัตรู

    การพูดทำให้คนเราดูดีหรือดูแย่ได้ทั้งนั้น อยู่ที่ว่าเราเลือกอะไร


    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=2 cellPadding=2 width="95%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>
    สนับสนุนข้อคิดนานาสาระโดย:
    เครือขายสุขภาพเพื่อประชาชน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา : http://variety.teenee.com/foodforbrain/1476.html
     
  12. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>


    <DD>ไม่ว่าชีวิตคู่ของคุณจะเพิ่งเริ่มต้นหรือดำเนินชีวิตคู่มานานเพียงใดก็ตาม เชื่อได้เลยว่าในใจของคุณอยากมีชีวิตคู่ที่มีความสุข

    <DD>สังคมปัจจุบันพบว่า มีอัตราการหย่าร้างสูงขึ้นมาก สังคมในอดีตนั้น สามีและภรรยาต่างก็แบ่งหน้าที่กันไป สามีทำงานหาเงินเลี้ยงดูครอบครัว โดยไม่ประพฤติตัวเหลวไหลแต่มุ่งเน้นความรับผิดชอบในหน้าที่ของตน ส่วนภรรยาก็จัดการงานบ้านและดูแลลูกครอบครัวจึงเป็นสถาบันที่ให้ความสุข ความอบอุ่นแก่สมาชิกในครอบครัวเสมอมา แต่สังคมปัจจุบันครอบครัวส่วนใหญ่ ไม่ได้สัมพันธ์กันด้วยหน้าที่อย่างเดิม เนื่องจากทั้งสามีและภรรยาทำงานนอกบ้านทั้งคู่ หัวใจสำคัญที่ทำให้ครอบครัวผูกพันธ์กันดีจึงกลายเป็นเรื่องการพูดจาสื่อสารที่เหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดผลดีต่อความผูกพันธ์ ความเข้าอกเข้าใจให้ความใส่ใจต่อกัน เกิดความอบอุ่นใจ และเสริมกำลังใจซึ่งกันและกัน นอกจากนั้นจำเป็นต้องหลีกเลี่ยงการพูดจาสื่อสารไม่เหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาลูกโซ่ตามมามากมาย

    <DD>ลักษณะของการพูดจาสื่อสารที่ไม่เหมาะสม ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยนัย มีลักษณะดังต่อไปนี้

    <DD>การพูดจาสื่อสารแบบก้าวร้าว ตัวอย่างเช่น สามีตกงานไม่มีรายได้ ส่วนภรรยาต้องทำงานคนเดียว รายได้ลดลง จึงพูดจาตำหนิสามี ส่วนสามีก็พูดจาก้าวร้าว เพื่อตอบโต้ ต่างฝ่ายต่างเสียงดัง กล่าวโทษ ท้าทายและประชดประชัน การพูดจาสื่อสารแบบนี้เป็นการพยายามแสดงอำนาจข่มกันเพื่อสื่อสารว่าอีกฝ่ายไม่ดี ไม่ถูกต้อง ทั้งคู่จะทะเลาะกัน ประชดประชันกันและอาจทวีความรุนแรง ถึงขั้นทำลายข้าวของหรือทำร้ายร่างกายกัน <DD>ตัวอย่างประโยคที่แสดงการพูดจาสื่อสารแบบก้าวร้าว ได้แก่ <DD>"โอ้ย ไม่เอา คุณน่าจะรู้ว่ามันแพงเกินไป" ประโยคนี้แสดงความก้าวร้าวแบบเสียงดัง <DD>"เดี๋ยวนี้นะผู้ชายต้องช่วยงานบ้าน" ประโยคนี้แสดงความก้าวร้าวแบบพร่ำสอน <DD>"คุณไปเก็บผ้าเร็วๆ ฝนจะตกแล้วนะ" ประโยคนี้แสดงความก้าวร้าวแบบใช้คำสั่ง <DD>"คุณไม่มีมือหรือไง" ประโยคนี้แสดงความก้าวร้าวแบบประชดประชัน <DD>"ภรรยาคนข้างบ้านไม่เห็นเหมือนคุณเลย" ประโยคนี้แสดงความก้าวร้าว แบบพูดเปรียบเทียบกับผู้อื่น <DD>"ทำไมคุณไม่เคยล้างจานเลย ถ้าคุณไม่ทำอีก คอยดูสิ" ประโยคนี้แสดงความก้าวร้าว ในลักษณะสืบสวนและข่มขู่

    <DD>การพูดจาสื่อสารแบบผสมผสาน

    <DD>ตัวอย่างเช่น ภรรยาทำงานนอกบ้านเช่นเดียวกับสามี ไม่มีคนรับใช้ในบ้าน ภรรยาไม่สามารถทำงานบ้านตามลำพังส่วนสามีก็ไม่คุ้นเคยกับงานบ้านมาก่อน บางครั้งลืมช่วยบ้าง บางครั้งทำผิดทำถูกบ้าง ภรรยาอารมณ์เสียกลายเป็นคนขี้บ่นชอบใช้คำสั่ง ซึ่งจะทำให้สามีดูเป็นคนรับใช้ บางครั้งก็พร่ำสอนซึ่งจะทำให้สามีดูเป็นเด็กในบ้าน การพูดจาสื่อสารของสามีรายนี้เป็นแบบสมยอม ยอมรับว่าตนเองไม่ดี ไม่ถูกต้องยอมให้ภรรยาของตนอยู่เหนือกว่าและข่มตนได้ ลักษณะเช่นนี้ทำให้เก็บกด พอเก็บกดมากเข้าอาจจะระเบิดอารมณ์รุนแรงได้ บางครั้งอาจรุนแรงถึงฆาตกรรมได้ ดังที่เป็นข่าวอยู่เสมอ <DD>ตัวอย่างประโยคที่แสดงการพูดจาสื่อสารแบบสมยอม ได้แก่ <DD>"ความจริงผมอยากพักผ่อน แต่เอาล่ะ ผมจะไปเป็นเพื่อนคุณ" <DD>"ฉันผิดเองที่ไม่ได้ทำอาหารให้ทันเวลาทั้งที่รู้ว่าคุณเหนื่อยและหิว" <DD>"จะด่าจะว่าผมอย่างไรก็ได้ เพราะผมเป็นคนไม่ดีเอง"

    <DD>การพูดจาสื่อสารแบบหาเหตุผลมาอ้าง เป็นการชักแม่น้ำทั้งห้า

    <DD>ตัวอย่าง เช่น สามีตกงานแต่ไม่หางานหรือหารายได้มาจุนเจือครอบครัว ปล่อยให้ภรรยาทำงานคนเดียว แบกรับรายได้ไม่พอใช้จ่ายเพียงคนเดียว เมื่อภรรยาปรึกษาด้วยสามีก็จะอ้างเหตุผลว่าสมัยนี้มีคนตกงานมากมายนับได้ว่าเป็นคนทันสมัย <DD>ตัวอย่างประโยคที่แสดงการพูดจาสื่อสารแบบหาเหตุผลมาอ้าง ได้แก่ <DD>"ถึงผมจะตกงานแต่คนตกงานมีหลายล้านคน นับว่าเป็นเรื่องทันสมัยเหมือนคนอื่น" <DD>"ถึงคุณว่ามันแพงแต่มันก็สวยนะคุณ" <DD>"ที่ฉันโมโหเพราะคุณเริ่มก่อน" <DD>การพูดจาสื่อสารที่ไม่เหมาะสมว่าแบบใดก็ตามจะทำให้อีกคนรู้สึกด้อยค่าหรือถูกเอาเปรียบ แต่สิ่งสำคัญที่สุดในชีวิตคู่ คือ ความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อความผูกพันธ์ในชีวิตคู่

    <DD>การพูดจาสื่อสารที่เหมาะสมจะบ่งบอกความต้องการของตนเองอย่างตรงไปตรงมา โดยกล้าแสดงสิทธิของตนของตนเองและไม่ล่วงเกินสิทธิของผู้อื่น การพูดแบบนี้เริ่มจากตัวเรา ผมอยากให้คุณช่วยทำสิ่งนั้นสิ่งนี้ ควรบอกตรงไปตรงมาอีกฝ่ายไม่ได้รู้สึกว่าตนเองถูกลดคุณค่า แต่จะรู้สึกว่าตนได้รับเกียรติจากการขอความช่วยเหลือ ถ้าช่วยทำให้ได้ตามคำขอนั้น จะทำให้รู้สึกว่าตนมีค่า การพูดจาสื่อสารแบบนี้มักจะสื่อสารในลักษณะที่ว่า "นี่คือสิ่งที่ฉันรู้สึก" หรือ "นี่คือสิ่งที่ฉันเห็นในสถานการณ์นี้" โดยที่การพูดจาแบบนี้ไม่ได้ทำตัวเหนือกว่าผู้อื่น ทำให้อีกฝ่ายรู้สึกเสียหน้าหรือเสียเกียรติ ในขณะเดียวกันก็ไม่ใช่การสมยอม โดยยอมจำนนว่าผู้อื่นดีกว่า หรือเก่งกว่าตน การพูดจาสื่อสารที่ตรงไปตรงมามักไม่ค่อยมีปัญหาลูกโซ่ ซึ่งต่างจากการประชดประชันการใช้คำสั่ง พร่ำสอน อ้างเหตุผลโน่นนี่ หรือเก็บกดความต้องการของตนเอง

    <DD>การพูดจาสื่อสารที่เหมาะสมเริ่มต้นจากการมีทัศนคติที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น แตกต่างจากการพูดจาสื่อสารที่ไม่เหมาะสมมักเริ่มจากทัศนคติที่ไม่ดีต่อตนเอง หรือต่อผู้อื่นหรือทั้งสองอย่าง <DD>ตัวอย่างประโยคที่แสดงการพูดจาสื่อสารที่เหมาะสม ได้แก่ <DD>"พูดตรงๆ เลยนะ ถ้าคุณไม่ถามผม ผมก็ไม่ได้ว่าอะไร แต่ถ้าคุณถาม ผมรู้สึกว่าราคาแพงไป" <DD>"ขอโทษที่ทำให้คุณไม่สบายใจ" <DD>"วันนี้ฉันอยากให้คุณกลับบ้านเร็วหน่อย ได้มั้ยค่ะ" <DD>"ขอโทษด้วยนะ วันนี้ผมรู้สึกเหนื่อยมาก ผมอยากพักผ่อน" <DD>"ฉันรู้ว่าพี่เหนื่อยและหิว พอดีฉันมีงานด่วนสำคัญมาก พี่รอเดี๋ยวนะ ฉันจะรีบกลับไปจัดการแล้วค่ะ"

    </DD>การพูดจาสื่อสารในชีวิตคู่ที่เหมาะสมเป็นส่วนสำคัญให้มีความสุขในชีวิตครอบครัว แม้ว่าจะมีอุปสรรคใดๆ ในชีวิตก็สามารถฟันฝ่าไปได้ด้วยสายใยผูกพันที่ดี มีอะไรก็สามารถพูดกัน
    นพ.วีรวุฒิ เอกกมลกุล

    ที่มา : http://www.geocities.com/yongyang_98/doctors/family_tech04.html
     
  13. Komodo

    Komodo หัวหน้าศูนย์ประชาสัมพันธ์ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    11,610
    กระทู้เรื่องเด่น:
    145
    ค่าพลัง:
    +104,605
    พูดจาดีจะเป็นศรีแก่ตัว
    เรื่อง : ประณม ถาวรเวช สถาบันพัฒนาบุคลิก

    คนโบราณเคยเตือนสติในเรื่องการพูดจาเอาไว้ให้จำกันได้ง่ายๆ ว่า “พูดดีเป็นศรีแก่ตัว พูดชั่วอัปราชัย” หลายคนมาแผลงเป็น “พูดดีเป็นศรีแก่ปาก พูดมากปากจะมีสี” จะยึดคำกล่าวไหนก็ได้ค่ะ เพราะหัวใจสำคัญอยู่ที่การ “พูดให้ดี”

    ทำไมต้องพูดให้ดี...

    เพราะการพูดให้ดีนั้น ฟังแล้ว “เข้าหู” ชวนฟัง ชวนให้คล้อยตาม ชวนให้รู้สึกประทับใจ และก่อให้เกิดสิ่งดีๆ ตามมาได้อีกมากมาย
    การพูดเป็นเรื่องสำคัญในชีวิตค่ะ เพราะตลอดทั้งชีวิต เราต้องอาศัยการพูดเป็นการสื่อสารที่สำคัญ
    พูดไม่เป็น พูดไม่เข้าหูคน สื่อสารไม่สัมฤทธิผล วกไปวนมา หาประเด็นไม่ได้ ท่าทางชีวิตจะย่ำแย่ ดังนั้น มาเรียนรู้การพูดการจาให้เป็นสง่าราศีแก่ชีวิตดีกว่าค่ะ

    1.คนจะพูดดีได้ต้องเริ่มจากคิดดี

    ไม่มีประโยชน์ที่เราจะเริ่มต้นจากการคิดร้าย แม้กับคนที่เราไม่ถูกชะตาด้วยที่สุด ก็ไม่มีเหตุผลอะไรที่เราจะต้องพูดจาไม่ดีกับเขา การคิดดีถือเป็นเรื่องพื้นฐานของมนุษย์ เป็นพื้นฐานของจิตใจที่ดีงาม ใครก็ตามที่รู้จักคิดดี เขาก็จะเห็นแง่งามของโลก ของชีวิต ของตนเอง และของผู้อื่น เมื่อเห็นแง่งามหรือแง่ดีของสิ่งต่างๆ เขาก็ย่อมมีทัศนคติที่ดี มีท่าทีที่ดี และเมื่อต้องพูดจาเสวนากัน เขาก็ย่อมพูดจาดี

    การพูดจาดี ไม่เพียงแต่สะท้อนการให้เกียรติและเคารพในตัวคนอื่น แต่ยังสะท้อนการให้เกียรติและเคารพตนเองอีกด้วย คนจะพูดจาดีได้ ต้องได้รับการอบรมมาดี อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี ดิฉันขอย้ำอีกครั้งว่า บุคลิกภาพดีๆ เริ่มต้นที่ครอบครัว การพูดจาดีก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ต้องเริ่มจากในบ้าน พ่อแม่ต้องเป็นตัวอย่างของคนที่พูดจาดีๆ ต่อกัน ต้องเป็นผู้ชี้แนะคุณค่าของการพูดดี

    พูดดีในที่นี้หมายความว่าอะไร หมายความว่าพูดเพราะ พูดคำสุภาพ มีน้ำเสียงที่สุภาพ มีหางเสียงครับ ค่ะ จ๊ะ จ้ะ เพื่อแสดงความมีมารยาท มีไมตรีจิต ไม่พูดคำหยาบ ไม่ใส่ร้าย ไม่ตะคอกตะเบ็งใส่กัน ไม่ประชดประชัน ไม่โกหกพกลม คนจะพูดดีเช่นนี้ได้จะคิดร้ายอยู่ในใจไม่ได้แน่นอน เพราะความร้ายกาจในใจจะเผยมาทางคำพูด น้ำเสียง แววตา หรือท่าทีขณะที่พูดได้ จึงจำเป็นต้องฝึกตนให้เป็นคนคิดดี

    2.พูดถูกกาลเทศะ

    ไม่ใช่ตลอดเวลาหรอกนะคะ ที่คนเราจะพูดได้ ต้องมีบ้างบางขณะที่เราหยุดพูด เพื่อเป็นผู้ฟังคนอื่นพูดบ้าง คนบางคนถูกตั้งข้อสังเกตว่า “ผีเจาะปากมาพูด” คือพูดๆๆๆๆ ฟังไม่เป็น ไม่เปิดโอกาสให้คนอื่นพูด ทำตัวเป็นผู้รู้ไปหมดทุกเรื่อง จึงพูดอยู่ตลอดเวลา คนแบบนี้น่ารำคาญ จริงไหมคะ
    อย่าทำตัวน่ารำคาญ ด้วยการพูดจาไม่หยุดไม่หย่อน ไม่ดูวาระและโอกาส คนพูดเป็นจะรู้ว่าโอกาสไหนควรพูด โอกาสไหนควรฟัง และโอกาสไหนควรวางเฉย คนที่รู้จักพูดเขาจะดูสถานที่ และเลือกวิธีพูดจาให้เหมาะสมกับผู้ฟังและสถานที่ ผู้ฟังที่อาวุโสกว่าเรา เราต้องพูดด้วยท่าทีและน้ำเสียงอย่างหนึ่ง เป็นเพื่อนกันก็พูดอย่างหนึ่ง เป็นน้องเป็นนุ่งเราก็ต้องพูดอีกแบบหนึ่ง พูดในที่ประชุมจะเหมือนพูดในกลุ่มเพื่อนไม่ได้ พูดคุยกับเพื่อนก็อย่าทำตัวน่าเบื่อเหมือนบรรยายวิชาการ การปรับตัวหรือพลิกแพลงตามสถานการณ์ที่ต่างกันไปเหล่านี้ เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องเรียนรู้

    หลักการพูดให้ถูกกาลเทศะทำได้ง่ายๆ คือ ดูว่าเราต้องพูดในหัวข้อไหน เรื่องอะไร พูดที่ไหน ใครฟัง ผู้ฟังกี่คน ฟังกันในที่เปิดเผย หรือในห้องจำกัด พูดสั้นหรือพูดยาว จริงจังหรือกันเอง ใครอ่านสถานการณ์ออก เตรียมตัวพร้อม ก็สามารถพูดจาได้น่าจดจำตามวาระและโอกาสนั้นๆ ได้เสมอ

    3.พูดมีเนื้อหาสาระ

    ห้ามพูดเรื่อยเปื่อย ไม่ว่าจะคุยกันกับเพื่อน ผู้ร่วมงาน พ่อแม่ หรือพูดในที่ประชุมหรือที่สาธารณะ ก็ต้องมีเป้าหมายในการพูด พูดอย่างมีสาระ มีขอบเขตชัดเจนว่าต้องการสื่อสารเรื่องอะไร หรือต้องการจะบอกกับผู้ฟังว่าอะไร

    4.พูดจาให้น่าฟัง

    น้ำเสียงที่กังวานแจ่มใส ดังพอประมาณ พูดจาฉะฉานชัดเจน จะดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังได้มาก การพูดในบางครั้งต้องพูดปากเปล่า แต่บ่อยครั้งก็ต้องพูดผ่านไมโครโฟน หากมีโอกาสฝึกฝนเรื่องการใช้เสียงอย่างเหมาะสมทั้งแบบปากเปล่าและผ่านไมโครโฟนได้ก็ควรทำ เพราะการพูดผ่านไมโครโฟนนั้น ต้องมีระยะใกล้ไกลระหว่างปากกับไมโครโฟนที่พอเหมาะ เสียงจึงจะชัดเจน ไม่มีเสียงเสียดแทรกจนผู้ฟังรู้สึกไม่สบายหูหรือรำคาญ

    ในการพูดนั้น ควรมีการเน้นจังหวะและเว้นจังหวะ เพื่อให้เกิดความน่าสนใจ ชวนติดตาม ควรฝึกลมหายใจระหว่างการพูด อย่าให้ติดขัด ดูเหมือนหอบเหนื่อย หรือกักลมหายใจจนผู้ฟังเห็นแล้วอึดอัด หรือรู้สึกเหนื่อยแทน การออกเสียงอักขระ ร เรือ ล ลิง และคำควบกล้ำต้องชัดเจน ลองฝึกอ่านออกเสียง หรือพูดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งในเทป แล้วเปิดฟังบ่อยๆ จะพบข้อบกพร่องและแก้ไขได้ง่าย

    5.พูดให้เกิดความรู้สึกร่วม

    วิธีการง่ายๆ คือ สบตากับผู้ฟังอย่างทั่วถึง ตั้งคำถามในขณะพูดแล้วค่อยๆ อธิบายเพื่อนำไปสู่คำตอบ สอบถามผู้ฟังบ้างในบางหัวข้อที่ง่ายๆ หรือเป็นเรื่องของประสบการณ์ เป็นเรื่องของความคิดเห็นที่ไม่ใช่เรื่อง ซึ่งเมื่อตอบแล้วอาจถูกหรือผิด

    ผู้พูดจำเป็นต้องรู้พื้นภูมิของผู้ฟังบ้าง เพื่อพูดในภาษาที่เขาเข้าใจง่าย บางครั้งการพูดด้วยสำเนียงท้องถิ่นก็ทำให้ผู้ฟังรู้สึกดี รู้สึกเป็นกันเอง อย่าพูดไทยผสมกับภาษาต่างประเทศโดยไม่อธิบาย เลือกใช้ภาษาต่างประเทศเท่าที่จำเป็นเท่านั้น และยกตัวอย่างที่คาดว่าผู้ฟังน่าจะมีประสบการณ์ร่วม อย่ายกตัวอย่างไกลตัว

    การพูดเป็นเสน่ห์อย่างหนึ่งของคนเรา เป็นภาพฟ้องอุปนิสัยใจคอ จึงไม่อาจพูดจาเรื่อยเปื่อย ไร้จุดหมาย ไร้การระมัดระวังได้
    การพูดนำมาซึ่งมิตรและศัตรู แต่ก็นั่นแหละ เราเลือกได้นี่คะ ว่าจะพูดให้ได้เพื่อน หรือพูดให้ได้ศัตรู
    การพูดทำให้คนเราดูดี หรือดูแย่ได้ทั้งนั้น
    อยู่ที่ว่าเราจะเลือกอะไร

    เขียนโดย SHINE ที่ <A class=timestamp-link title="permanent link" href="http://shine-management-tips.blogspot.com/2008/03/blog-post_05.html" rel=bookmark><ABBR class=published title=2008-03-05T12:26:00+07:00>12:26 หลังเที่ยง</ABBR> [​IMG]
    ป้ายกำกับ: Human Resources Managment

    ที่มา : http://shine-management-tips.blogspot.com/2008/03/blog-post_05.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 พฤศจิกายน 2008
  14. ถนอม021

    ถนอม021 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กันยายน 2008
    โพสต์:
    2,098
    ค่าพลัง:
    +3,163
    อนุโมทนาสาธุด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ

    และขออุทิศบุญกุศลทั้งปวงแด่เจ้ากรรมนายเวรทุกภพทุกชาติ
    ให้ทุกท่านมีความสุขกายสุขใจตลอดไป ขอให้อโหสิรรมและ
    ขออโหสิกรรมกับทุกรูปทุกนามด้วยเถิด ให้ทุกท่านได้พระนิพพาน
    ในชาตินี้ด้วยเถิด

    ถนอม สุพัตรา ถกนธ์ พร้อมครอบครัวและญาติมิตร

    หลังจากสวดบูชาพระรัตนตรัยเสร็จเรียบร้อยแล้วสำหรับท่านที่ไม่ค่อยมีเวลามาก แนะนำบทสวดพุทธมนต์แบบย่อ ๆ แต่มีพลานุภาพมาก มีอานิสงส์มาก สวดไม่เกิน 5 นาทีจบ ดังนี้

    นะโม 3 จบ


    หัวใจ อิติปิโส ว่า
    อิสะวาสุ
    หัวใจพาหุง
    พา มา นา อุ กะ สะ นะ ทุ
    หัวใจพระเจ้าสิบชาติ
    เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
    หัวใจบารมี 30 ทัส
    ทา สี เน ปะ วิ ขะ สะ อะ เม อุ
    หัวใจพระอาการวัตตาสูตร
    มุนินทะ วะทะนัมโพชะ คัพพะสัมภาวะ สุนทะรีปาณีนัง สะระณัง วาณี มัยหัง ปิณะ ยะตัง มะนัง
    หัวใจพระธารณะปริตร
    ทิฏฐิลา ทัณฑิลา มันติลา โรคิลา ขะระรา ทุพพิลา เอเตนะ สัจจะ วัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
    หัวใจพระไตรปิฎก
    จิเจรุนิ
    หัวใจพระคาถาชินบัญชร
    ชะ จะ ต ะ สะ สี สัง หะ โก ทะ กะ เก นิ กุ โส ปุ เถ เส เอ ชะ ระ ธะ ขะ อา ชิ วา อะ ชิ สะ อิ ตัง
    คาถาบูชาพระพุทธเจ้า 16 พระองค์
    นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะอัง อุมิอะมิ มะหิสุตัง สุนะพุทธัง สุอะนะอะ

    นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะพะกะสะ นะมะอะอุ

    [​IMG]สวดจบควรแผ่เมตตาทุกครั้ง[​IMG]
     
  15. โป๊ยเซียนสาว

    โป๊ยเซียนสาว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,543
    ค่าพลัง:
    +2,279
    อนุโมทนา สาธุ
    ก่อนพูดเราเป็นนาย แต่เมื่อพูดไปแล้วสิ คำพูดนั้นเป็นนายเรา
     
  16. capsule1

    capsule1 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    72
    ค่าพลัง:
    +7
    ขอบคุณมากครับ
     
  17. หนูแว่น

    หนูแว่น เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 พฤษภาคม 2007
    โพสต์:
    1,188
    ค่าพลัง:
    +3,207
    เห็นด้วยค่ะ คิดดี พูดดี คนคิดชั่วก็พูดชั่ว
     
  18. ตะเกียงพลอย

    ตะเกียงพลอย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    86
    ค่าพลัง:
    +134
    อืม
    พูดไม่ดีกับผู้อื่นไว้เยอะ อาจจะเนื่องจากทำตามอารมณ์
    หรือบางทีมีจิตริษยา
    ต้องขออนุโมทนาให้ท่านทั้งซึ่งที่ข้าพเจ้าเคยทำให้เจ็บช้ำน้ำใจขออโหสิกรรมให้ข้าพเจ้าด้วยเทอญ สาธุ
     
  19. เหินหาว

    เหินหาว Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    62
    ค่าพลัง:
    +30
    พูดดีทำดีก็เจริญแล้ว พี่น้อง
     

แชร์หน้านี้

Loading...