......ไม่มีคำบรรยาย.....

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย นักเดินธรรม, 26 เมษายน 2010.

  1. นักเดินธรรม

    นักเดินธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2009
    โพสต์:
    998
    ค่าพลัง:
    +2,393
    [​IMG]

    ทรงพระเจริญ

    ทรงพระเจริญ

    ทรงพระเจริญ

    คำคำนี้จะมีเพื่อพระองค์ท่านพระองค์นี้....เพียงพระองค์เดียวและตราบเท่าที่ผมยังมีลมหายใจ
     
  2. นักเดินธรรม

    นักเดินธรรม เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มกราคม 2009
    โพสต์:
    998
    ค่าพลัง:
    +2,393
    ......วันนี้.....คนไทย...บางกลุ่ม.....ไม่รักในหลวง......เท่าวันวานอีกแล้ว....ทั้งที่ท่าน....ยังคงเป็น "พ่อ" ผู้รักลูกทุกคนเสมอมา.....เป็น "พ่อ" ผู้แสนดีเสมอมา.....จะเอาอะไรจากพ่ออีกหรือลูกไทยเอ๋ย...ต้อง "ชีวิต" ของพ่อมั้ย.....พวกเธอจึงจะหยุดทะเลาะกัน.......
     
  3. emaN resU

    emaN resU เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    2,944
    ค่าพลัง:
    +3,294
    [​IMG]


    [​IMG]

    โองการแช่งน้ำ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


    ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา
    <!-- start content -->[​IMG]
    <TABLE style="BORDER-BOTTOM: #8b5949 1px solid; BORDER-LEFT: #8b5949 1px solid; MARGIN: 0px 0px 0.5em 1.4em; WIDTH: 200px; BORDER-COLLAPSE: collapse; FLOAT: right; CLEAR: right; BORDER-TOP: #8b5949 1px solid; BORDER-RIGHT: #8b5949 1px solid" border=1><TBODY><TR><TD colSpan=2></TD></TR><TR><TH style="BACKGROUND: #8b5949; COLOR: white" colSpan=2>โองการแช่งน้ำ</TH></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">กวี :</TD><TD>พราหมณ์ ในสมัยพระเจ้าอู่ทอง</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">ประเภท :</TD><TD>พิธีกรรม</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">คำประพันธ์ :</TD><TD>ร่ายดั้น และ โคลงห้า</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">ความยาว :</TD><TD>35 บท?</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">สมัย :</TD><TD>ต้นสมัยอยุธยา</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">ปีที่แต่ง :</TD><TD>?</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">ชื่ออื่น :</TD><TD>ลิลิตโองการแช่งน้ำ, ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า, โองการแช่งน้ำพระพิพัฒนสัตยา</TD></TR><TR><TD style="PADDING-LEFT: 0.5em; VERTICAL-ALIGN: top">ลิขสิทธิ์ :</TD><TD>-</TD></TR><TR><TD colSpan=2></TD></TR></TBODY></TABLE>
    โองการแช่งน้ำ เป็นวรรณคดีเก่าแก่มากที่สุดเรื่องหนึ่งของไทย มีความสำคัญทั้งด้านวรรณคดี นิรุกติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และสังคมของไทย เป็นวรรณคดีที่มีความยาวเพียงไม่กี่หน้า แต่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์มากที่สุดเรื่องหนึ่ง เป็นโองการสำหรับใช้อ่านเมื่อมีพิธีถือน้ำกระทำสัตย์สาบานต่อพระมหากษัตริย์
    <TABLE id=toc class=toc><TBODY><TR><TD>เนื้อหา

    [ซ่อน]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <SCRIPT type=text/javascript>//<![CDATA[if (window.showTocToggle) { var tocShowText = "แสดง"; var tocHideText = "ซ่อน"; showTocToggle(); } //]]></SCRIPT>[แก้] ชื่อ

    โองการแช่งน้ำนั้น เรียกด้วยชื่อต่างๆ กัน กล่าวคือ ลิลิตโองการแช่งน้ำ (ใช้ในตำราหรือแบบเรียน), โองการแช่งน้ำ, ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า หรือ โองการแช่งน้ำพระพิพัฒนสัตยา อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดนี้ ล้วนแต่หมายถึงวรรณคดีเล่มเดียวกันนี้
    [แก้] ประวัติ

    โองการแช่งน้ำเป็นวรรณคดีที่เก่าแก่ของไทย นักวิชาการส่วนใหญ่ลงความเห็นตรงกัน ว่าแต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น แต่นักวิชาการบางท่าน เช่น จิตร ภูมิศักดิ์ เชื่อว่าวรรณคดีเรื่องนี้น่าจะแต่งขึ้นอย่างน้อยก็ในสมัย พระเจ้าอู่ทอง ผู้ทรงสถาปนาเมืองอโยธยา (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นอยุธยา) ขึ้น
    [แก้] คำศัพท์และสำนวนภาษา

    โองการแช่งน้ำเป็นวรรณคดีที่ใช้คำเก่า แต่เป็นคำไทยแม้เป็นส่วนมาก ทำให้อ่านเข้าใจยาก ทำให้นักวิจารณ์สับสน ซึ่งแตกต่างจากวรรณคดีที่ใช้ภาษาบาลีหรือสันสกฤต ที่สามารถสืบหาความหมายได้ง่ายกว่า เช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งใช้คำศัพท์บาลีสันสกฤตปะปนอยู่ตลอดทั้งเรื่อง
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเคยมีพระราชดำริ ว่า "โองการแช่งน้ำนี้เรียกว่า โคลง เขียนเป็นหนังสือพราหมณ์ แต่เมื่อตรวจดูจะกำหนดเค่าว่าเป็นโคลงอย่างไรก็ไม่ได้สนัด ได้เค้าๆ บ้างแล้วก็เลือนไป แต่เนื้อความนั้นเป็นภาษาไทย ถอยคำที่ใช้ลึกซึ้งที่ไม่เข้าใจบ้างก็มี..." ("พระราชพิธีศรีสัจจปานกาล", พระราชพิธีสิบสองเดือน)
    คำศัพท์ในโองการแช่งน้ำมีการผสมผสาน เริ่มตั้งแต่คำศัพท์บาลีและสันสกฤต โดยเฉพาะในช่วงต้นที่เป็นการบูชาเทพเจ้าทั้งสาม เช่น โอม สิทธิ มฤตยู จันทร์ ธรณี เป็นต้น
    นอกจากนี้ยังมีคำศัพท์ไทยโบราณ มีลักษณะของคำโดดพยางค์เดียวเป็นส่วนใหญ่ หลายคำปรากฏอยู่ในเอกสารภาษาไทย และจารึกภาษาไทยสมัยสุโขทัย และอยุธยา นอกจากนี้ยังปรากฏคำในภาษาถิ่นของไทยด้วย เช่น สรวง แผ้ว แกล้ว แล้งไข้ แอ่น แกว่น ฯลฯ
    สำหรับคำเขมรนั้นปรากฏไม่มากนัก เช่น ถวัด แสนง ขนาย ขจาย ฯลฯ
    ในส่วนของสำนวนภาษานั้นมีลักษณะการแช่งที่ปรากฏทั่วไปในสังคมไทย เช่น "ขอให้ตายในสามวัน อย่าให้ทันในสามเดือน อย่าให้เคลื่อนในสามปี"
    [แก้] ลักษณะคำประพันธ์

    เชื่อกันว่าโองการแช่งน้ำฉบับนี้ แต่งขึ้นด้วย โคลงห้า ที่นิยมใช้กันในอาณาจักรล้านช้างในยุคเดียวกันนั้น กล่าวคือ บาทหนึ่ง มี 5 คำ เป็นวรรคหน้า 3 คำ วรรคหลัง 2 คำ หนึ่งบทมี 4 บาท นิยมใช้เอกโท (เอกสี่ โทสาม) แต่สามารถเพิ่มสร้อยหน้า และสร้อยหลังบาทได้ ทั้งนี้ยังมีร่ายสลับ จึงนิยมเรียกว่า ลิลิต แม้จะไม่สอดคล้องกับธรรมเนียมการแต่งลิลิตทั่วไป ที่มักจะแต่งร่ายสุภาพร้อยกับโคลงสุภาพ หรือร่ายดั้นร้อยกับโคลงดั้น ก็ตาม
    ตามหลักแล้ว ลิลิต หมายถึง หนังสือที่แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท โคลง และร่าย สลับกันเป็นช่วงๆ ตามธรรมเนียมแล้ว มักจะใช้โคลงและร่ายในแบบเดียวกัน กล่าวคือ โคลงดั้น สลับกับร่ายดั้น, โคลงสุภาพ สลับกับร่ายสุภาพ อย่างนี้เป็นต้น โคลงและร่ายที่สลับกันนั้น มักจะร้อยสัมผัสด้วยกัน เรียกว่า เข้าลิลิต
    วรรณคดีที่แต่งตามแบบแผนลิลิต มักจะใช้ร่ายและโคลงสลับกันเป็นช่วงๆ ตามจังหวะ ลีลา และท่วงทำนอง และความเหมาะสมของเนื้อหาในช่วงนั้นๆ สำหรับโองการแช่งน้ำ แม้จะเคยเรียกกันว่า ลิลิตโองการแช่งน้ำ มาก่อน แต่ในปัจจุบันนักวรรณคดีส่วนใหญ่สมัครใจที่จะเรียกชื่อโดยไม่มีคำว่าลิลิต ทั้งๆ ที่ในโองการแช่งน้ำ ก็แต่งด้วยร่ายสลับโคลง ทว่าเป็นร่ายโบราณ สลับกับโคลงห้า ซึ่งไม่ปรากฏแบบแผนที่ไหนมาก่อน
    [แก้] เนื้อหา

    เนื้อหาในลิลิตโองการแช่งน้ำอาจแบ่งได้เป็น 5 ส่วนด้วยกัน ดังนี้
    1. สดุดีเทพเจ้าทั้ง 3 องค์ ตามความเชื่อของฮินดู ได้แก่ พระผู้ประทับเหนือหลังครุฑ "สี่มือถือสังข์จักรคธาธรณี"(พระนารายณ์) พระผู้ประทับบนวัวเผือก "เอาเงือกเกี้ยวข้าง อ้างทัดจันทรเปนปิ่น" (พระศิวะ) และผู้ประทับ "เหนือขุนห่าน" (พระพรหม) เป็นร่ายสามบทสั้นๆ
    2. กล่าวถึงกำเนิดโลก และสังคมมนุษย์ อัญเชิญเทพยดา พระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ภูตผีต่างๆ มาเป็นพยาน ทั้งหมดนี้พรรณนาด้วยโคลงห้า
    3. คำสาปแช่งผู้ทรยศ คิดไม่ซื่อต่อเจ้าแผ่นดิน ให้ประสบภยันตรายนานา ทั้งหมดนี้พรรณนาด้วยโคลงห้า เป็นเนื้อหาที่ยาวที่สุดในบรรดา 5 ส่วน
    4. คำอวยพรแก่ผู้จงรักภักดีแก่ผู้ที่มีความจงรักภักดี มีเนื้อหาสั้นๆ
    5. ถวายพระพรเจ้าแผ่นดิน เป็นร่ายสั้นๆ เพียง 6 วรรค


    [แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

    [​IMG]

    วิกิซอร์ซ มีข้อมูลต้นฉบับเกี่ยวกับ:
    โองการแช่งน้ำ
    • จิตร ภูมิศักดิ์. โองการแช่งน้ำ และข้อคิดใหม่ในประวัติศาสตร์ไทยลุ่มน้ำเจ้าพระยา. ดวงกมล : กรุงเทพฯ, 2524.
    • จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชพิธีสิบสองเดือน. โรงพิมพ์พระจันทร์ : พระนคร, 2496.
    • สุภาพรรณ ณ บางช้าง, รองศาสตราจารย์. ขนบธรรมเนียมประเพณี : ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติในสมัยสุโขทัย. โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย ฝ่ายวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพฯ, 2535.
    • นิยดา เหล่าสุนทร. พินิจวรรณกรรม. แม่คำผาง : กรุงเทพฯ, 2535



    ลิลิตโองการแช่งน้ำ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา


    <INPUT class=Shared_CommandButton onclick="ShowTopicReportPopup('94291');" value=แจ้งลบ type=button>
    <HR class=TopicRead_MessageHr>ลิลิตโองการแช่งน้ำ เป็นวรรณคดีที่เก่าแก่มาก แต่งขึ้นในแผ่นดินกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่๑
    ลิลิตโองการแช่งน้ำฉบับนี้ แต่งขึ้นด้วย โคลงห้า และร่ายดั้น อันเป็นเอกลักษณ์ เพราะเป็นวรรณคดีเพียงเรื่องเดียวที่ใช้โคลงห้าที่เหลือรอดจนถึงปัจจุบัน ลิลิตโองการแช่งน้ำ จึงเป็นวรรณกรรมทางการเมืองที่เก่าแก่เรื่องหนึ่ง สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามของพระมหากษัตริย์ในสมัยโบราณ ในการที่จะพิทักษ์พระราชอำนาจ โดยพระมหากษัตริย์อาจมุ่งให้ผู้ถือสัตย์เกิดความเกรงกลัวและยึดมั่นในคำสัตย์สาบานของตนอีกประมาณหนึ่ง เป็นเสมือนการตรวจสอบอำนาจและความจงรักภักดีของข้าราชการ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเสวยน้ำสาบานด้วย ทำให้มุ่งหมายขอบเขตของการแช่งน้ำจากการแสดงความจงรักภักดี เป็นประกาศตัวเป็นพวก พระมหากษัตริย์ทรงลดฐานะลงมา กระทำ สัญญาประชาคมทางใจกับข้าราชการ เป็นทำนองต่างฝ่ายจะซื่อตรงต่อกัน

    ลิลิตโองการแช่งน้ำ เป็นวรรณกรรมเก่าแก่ ใช้สำหรับอ่านหรือสอนในพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา ซึ่งเป็นพิธีที่ประกอบขึ้นเพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดีของ ข้าราชการและขุนนาง เชื่อกันว่าลิลิตโองการแช่งน้ำแต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้นคือรัชสมัยของพระรามาธิบดี ที่ ๑ เนื่องจากมีข้อความตอนหนึ่งว่า “ผู้บ่ดีบ่ซื่อใครใจคอใจคด ขบถเจ้าผู้ผ่านเกล้าอยุธยา สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาจักพรรดิศรราชาธิราช ท่านมีอำนาจ มีบุญ”
    เนื้อเรื่องของลิลิตโองการแช่งน้ำแบ่งเป็น ๕ ส่วนด้วยกัน กล่าวคือ
    ๑. คำสดุดีเทพเจ้าทั้ง ๓ องค์ ในศาสนาพราหมณ์หรือตรีมูรติ ประกอบด้วยร่าย ๓ บท สรรเสริญพระนารายณ์ พระอิศรและพระพรหม ต่อมาเป็นเรื่องไฟล้างโลก การ สร้างโลก และการอภิเษกพระเจ้าแผ่นดิน
    ๒. การอัญเชิญพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย มาเป็นพยานในพิธีซึ่งมีคติความเชื่อเรื่องผีบ้านผีเรือน เทวดาชั้นต่าง ๆ และเทวดาอารักษณ์ ที่ทำหน้าที่ปกปักษ์รักษาจึงต้องเชิญมาเพื่อให้เป็นพยานและเป็นหูเป็นตามิให้ผู้คิดคดทรยศ ความเชื่อเรื่องเทวดา หรือเทพเจ้าต่าง ๆ นี้ เป็นคติพราหมณ์แต่มีคติทางพุทธมาเจือปนจากการอัญเชิญพระรัตนตรัยมาเป็นพยาน
    ๓. คำสาปแช่งต่อพระเจ้าแผ่นดินให้ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ ทั้งเมื่อยังมีชีวิตอยู่ ก็ให้ ประสบภัยพิบัติต่าง ๆ ทั้งจากสัตว์ร้ายจากคมหอกคมดาบ
    ๔.คำอวยพรผู้ที่มีความจงรักภักดี คือเมื่อยังมีชีวิตอยู่ให้ได้รับความดีความชอบปูนบำเหน็จจากพระเจ้าแผ่นดิน ให้เจริญด้วยพร ๔ ประการ เมื่อตายไปให้เทวดานำขึ้นไปสู่สวรรค์เป็นต้น
    ๕. คำถวายพระพรต่อพระเจ้าแผ่นดิน

    พระราชพิธีตรีสัจจปานกาลหรือพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาเป็นพิธีพราหมณ์ เกิดจากความเชื่อเรื่องคำสัตย์สาบาน และความเชื่อเรื่องเทพเจ้า การล้างโลก การสร้างโลก ตามคติทางศาสนาพราหมณ์ ประกอบกับความจำเป็นด้านการปกครองบ้านเมือง เนื่องจากสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นครั้งแรก ต้องการความซื่อสัตย์สามัคคีเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของบรรดาข้าราชบริพารทั้งหลายทำให้ต้องมีพระราชพิธีดื่มน้ำสาบานตน
    การถือน้ำครั้งกรุงเก่ากระทำที่วัดศรีสรรเพชญ์ แล้วย้ายไปที่วิหารพระมงคลบพิตร เมื่อถือน้ำแล้ว นำดอกไม้ธูปเทียนเข้าไปกราบถวายบังคมทูลพระรูปพระเจ้าอู่ทอง แล้วพากันเข้าไปถวายบังคมพระเจ้าแผ่นดินพร้อมกัน
    พิธีเริ่มโดยพระมหาราชครูเชิญพระขันหยก มีรูปพระนารายณ์ทรงศรตั้งอยู่กลางขัน แล้วกรมแสงหอกดาบเชิญพระแสงศรพรหมาสตร์ ประลัยวาต และอัคนิวาต ถอดฝักส่งให้พระครูอ่านโองการแช่งน้ำและแทง พระแสงศรองค์ละ ๓ ครั้ง เมื่อกล่าวถึงพระนารายณ์ แทงพระแสงศรปลัยวาต เมื่อกล่าวถึงพระอิศวร แทงพระแสงศรอัคนิวาต เมื่อกล่าวถึงพระพรหม แทงพระแสงสรพรหมมาสตร์
    เมื่ออ่านโองการแช่งน้ำจบแล้ว พระอาลักษณ์อ่านคำประกาศสาบานตน แล้วกรมพระแสงหอกดาบเชิญพระแสงตามลำดับ พระมหาราชครูแทงพระแสงในหม้อและขันสาคร แล้วแจกน้ำให้ข้าราชการบริพารดื่ม

    ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕
    คณะราษฎร์ นำโดยนายปรีดี พนมยงค์ นายพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา พันตรีควง อภัยวงศ์ นายร้อยโทแปลก คีตะสังคะ เป็นต้น ได้ทำการยึดพระราชอำนาจการปกครองแผ่นดินจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว คณะราษฎร์ได้สั่งยกเลิกพระราชพิธีทั้งหมดในองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รวมถึงพระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยาด้วย
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • sp1.jpg
      sp1.jpg
      ขนาดไฟล์:
      9.6 KB
      เปิดดู:
      799
    • m6666.jpg
      m6666.jpg
      ขนาดไฟล์:
      30.5 KB
      เปิดดู:
      771
  4. Hillary

    Hillary เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    78
    ค่าพลัง:
    +338
    [​IMG]

    [​IMG]


    [​IMG]

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ คนไทยโชคดีที่สุดในโลกคะ
     
  5. Mr.Boy_jakkrit

    Mr.Boy_jakkrit เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    2,063
    ค่าพลัง:
    +2,676
    ทรงพระเจริญ
     
  6. ปราบจราจล

    ปราบจราจล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    162
    ค่าพลัง:
    +220
    พระองค์ คือศูนย์รวมใจ ของไทยทั้งผอง

    ขอพระองค์ทรงพระเจริญ ด้วย อายุ วรรณะ สุขะ และ พละ เทอญ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 เมษายน 2010
  7. ucon888

    ucon888 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 กันยายน 2009
    โพสต์:
    299
    ค่าพลัง:
    +992
    ขอจงทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
     
  8. หลวงจีน

    หลวงจีน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    861
    ค่าพลัง:
    +1,326
    ขอให้ชาวไทยทุกคน ได้รู้คุณของพระองค์ที่ได้สร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติอย่างมากมาย ขอทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน
     
  9. รญาณ์

    รญาณ์ Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    104
    ค่าพลัง:
    +39
    ขอทรงพระเจริญค่ะ
     
  10. shesun

    shesun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 กรกฎาคม 2005
    โพสต์:
    471
    ค่าพลัง:
    +1,327
    เคยเรียนมา...จำได้นิดหน่อย...บางส่วนของคำสาบแช่งผู้ที่คิดคดทรยศ.เช่น "บ่ซื่อน้ำตัดคอ...ตัดคอเร็วให้ขาด..." และให้ตายด้วยวิธีการที่สยดสยอง เช่น จระเข้ริด..เสือฟัด..
     
  11. Jedi Master

    Jedi Master Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 กุมภาพันธ์ 2010
    โพสต์:
    35
    ค่าพลัง:
    +75
    โองการแช่งน้ำ

    จาก วิกิซอร์ซ


    ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
    <!-- start content -->
    [​IMG]

    วิกิพีเดีย มีบทความเกี่ยวกับ :โองการแช่งน้ำ

    โองการแช่งน้ำ*
    ๏ โอมสิทธิสรวงศรีแกล้ว แผ้วมฤตยู เอางูเปนแท่น แกว่นกลืนฟ้ากลืนดิน บินเอาครุฑมาขี่ สี่มือถือสังข์จักรคทาธรณี ภีรุอวตาร อสูรแลงลาญทัก ททัคนี (ทักขิณ) จรนายฯ
    ๏ โอมปรเมศวราย ผายผาหลวงอคร้าว ท้าวเสด็จเหนือวัวเผือก เอาเงือกเกี้ยวข้าง อ้างทัดจันทรเป็นปิ่น ทรงอินทรชฎา สามตาพระแพร่ง แกว่งเพชรกล้า ฆ่าภิฆนจัญไรฯ
    ๏ โอมชัยชัย ไขโสฬศพรหมญาณ บานเศียรเกล้า เจ้าคลี่บัวทอง ผยองเหนือขุนห่าน ท่านรังก่อดินก่อฟ้า หน้าจตุรทิศ ไทยมิตรดา มหากฤตราไตร (ไกร) อมรรตัยโลเกศ จงตรีศักดิท่าน พิญาณปรมาธิเบศ ไทธเรศสุรสิทธิ์ฯ
    <TABLE align=center><TBODY><TR><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR><TD></TD><TD>๏ พ่อเสวยพรหมานฑ์</TD><TD>ใช่น้อย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ประถมบุณยภาร</TD><TD>ดิเรก</TD></TR><TR><TD></TD><TD>บูรพภพบรู้กี่ร้อย</TD><TD>ก่อมาฯ</TD><TD> </TD></TR><TR><TD>นานา</TD><TD>อเนกน้าว</TD><TD>เดิมกัลป์</TD></TR><TR><TD>จักร่ำ</TD><TD>จักราพาฬ</TD><TD>เมื่อไหม้</TD></TR><TR><TD>กล่าวถึง</TD><TD>ตระวันเจ็ด</TD><TD>อันพลุ่ง</TD></TR><TR><TD></TD><TD>น้ำแล้งไข้</TD><TD>ขอดหาย ฯ</TD></TR><TR><TD>เจ็ดปลา</TD><TD>มันพุ่งหล้า</TD><TD>เป็นไฟ</TD></TR><TR><TD>วะวาบ</TD><TD>จัตุราบาย</TD><TD>แผ่นขว้ำ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ชักไตรตรึงษ์</TD><TD>เป็นเผ้า</TD></TR><TR><TD></TD><TD>แลบ่ล้ำ</TD><TD>สีลอง ฯ</TD></TR><TR><TD>สามรรถ</TD><TD>ญาณครอบเกล้า</TD><TD>ครองพรหม</TD></TR><TR><TD>ฝูงเทพ</TD><TD>นองบนปาน</TD><TD>เบียดแป้ง</TD></TR><TR><TD></TD><TD>สรลมเต็มพระ</TD><TD>สุธาวาศ</TD><TD>แห่งหั้น</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ฟ้าแจ้งจอด</TD><TD>นิโรโธ ฯ</TD></TR><TR><TD>กล่าวถึง</TD><TD>น้ำฟ้าฟาด</TD><TD>ฟองหาว</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ดับเดโช</TD><TD>ฉ่ำหล้า</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ปลาดินดาว</TD><TD>เดือนแอ่น</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ลมกล้าป่วน</TD><TD>ไปมา ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>แลเป็นแผ่น</TD><TD>เมืองอินทร์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เมืองธาดา</TD><TD>แรกตั้ง</TD></TR><TR><TD>ขุนแผน</TD><TD>แรกเอาดิน</TD><TD>ดูที่</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ทุกยั้งฟ้า</TD><TD>ก่อคืน ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>แลเป็นสี่</TD><TD>ปวงดิน</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เป็นเขายืน</TD><TD>ทรง้ำหล้า</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เป็นเรือนอินทร์</TD><TD>ถาเถือก</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เป็นสร้อยฟ้า</TD><TD>จึ่งบาน ฯ</TD></TR><TR><TD>จึ่งเจ้า</TD><TD>ตั้งผาเผือก</TD><TD>ผาเยอ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ผาหอมหวาน</TD><TD>จึ่งขึ้น</TD></TR><TR><TD></TD><TD>หอมอายดิน</TD><TD>เลอก่อน</TD></TR><TR><TD></TD><TD>สรดึ้นหมู่</TD><TD>แมนมา ฯ</TD></TR><TR><TD>ตนเขา</TD><TD>เรืองร่อนหล้า</TD><TD>เลอหาว</TD></TR><TR><TD></TD><TD>หาวันคืน</TD><TD>ไป่ได้</TD></TR><TR><TD></TD><TD>จาวชิมดิน</TD><TD>แสงหล่น</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เพียงดับไต้</TD><TD>มืดมูล ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ว่นว่นตา</TD><TD>ขอเรือง</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เป็นพระสูรย์</TD><TD>ส่องหล้า</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เป็นดาวเมือง</TD><TD>เดือนฉ่ำ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เห็นฟ้าเห็น</TD><TD>แผ่นดิน ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>แลมีค่ำ</TD><TD>มีวัน</TD></TR><TR><TD></TD><TD>กินสาลี</TD><TD>เปลือกปล้อน</TD></TR><TR><TD>........</TD><TD> </TD></TR><TR><TD>บ่มี</TD><TD>ผู้แต่งต้อน</TD><TD>บรรณา ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เลือกผู้เป็น</TD><TD>ยิ่งยศ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เป็นราชา</TD><TD>อะคร้าว</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เรียกนามสมมติ-</TD><TD>ติราช</TD></TR><TR><TD>เจ้าจึ่ง</TD><TD>ตั้งท้าวจ้าว</TD><TD>แผ่นดิน ฯ</TD></TR><TR><TD>สมมติ</TD><TD>แกล้วตั้งอาทิตย์</TD><TD>เดิมกาล</TD></TR><TR><TD>สายท่าน</TD><TD>ทรงธรณินทร์</TD><TD>เรื่อยหล้า</TD></TR><TR><TD>วันเสาร์</TD><TD>วันอังคาร</TD><TD>วันไอยอาทิ์</TD></TR><TR><TD>กลอยแรก</TD><TD>ตั้งฟ้ากล่าว</TD><TD>แช่งผี ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เชียกบาศก์ด้วย</TD><TD>ชันรอง</TD></TR><TR><TD>ชื่อพระ</TD><TD>กรรมบดี</TD><TD>ปู่เจ้า</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ท่านรังผยอง</TD><TD>มาแขก</TD></TR><TR><TD>(กลอย)</TD><TD>แรกตั้งขวัญเข้า</TD><TD>ธูปเทียน ฯ</TD></TR><TR><TD>เหล็กกล้า</TD><TD>หญ้าแพรกบั้น</TD><TD>ใบตูม</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เชียรเชียรใบ</TD><TD>บาตน้ำ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>โอมโอมภูมิ</TD><TD>เทเวศร์</TD></TR><TR><TD></TD><TD>สืบค้ำฟ้า</TD><TD>เที่ยงเฮย</TD><TD>ย่ำเฮย ฯ</TD></TR><TR><TD>.....</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ผู้ใดเภท</TD><TD>จงคด</TD></TR><TR><TD></TD><TD>พาจกจาก</TD><TD>ซึ่งหน้า</TD></TR><TR><TD>ถือขัน</TD><TD>สรดใบพลู</TD><TD>ตานเสียด</TD></TR><TR><TD></TD><TD>หว้ายชั้นฟ้า</TD><TD>คู่แมน ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>มารเฟียดไท</TD><TD>ทศพล</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ไตรแดนจักร</TD><TD>อยู่ค้อย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ธรรมาระคน</TD><TD>ปรัตเยก</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ห้าร้อยเทียร</TD><TD>แม่นเดียว ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>อเนกถ่อง</TD><TD>พระสงฆ์</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เชียวจรรยา</TD><TD>ยิ่งได้</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ขุนหงษ์ทอง</TD><TD>เกล้าสี่</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ชระอ่ำฟ้าใต้</TD><TD>แผ่นหงาย ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ฟ้าฟัดพรี</TD><TD>ใจยัง</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ใจตายตน</TD><TD>บ่ใกล้</TD></TR><TR><TD>(ทั้ง)</TD><TD>สี่ปวงผี</TD><TD>หาวแห่ง</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>พื้นใต้ชื่อ</TD><TD>กามภูมิ ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ฟ้าชระแร่ง</TD><TD>หกคลอง</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ครูมคลองแผ่น</TD><TD>เผือกช้าง</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ผีกลางหาว</TD><TD>หารแอ่น</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เสียงเงือกงูว้าง</TD><TD>ขึ้นลง ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ฟ้ากระแฉ่น</TD><TD>เรือนผยอง</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เอาธงเป็น</TD><TD>หมอกหว้าย</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เจ้าผาดำ</TD><TD>สามเส้า</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>หันอย้าวปู่</TD><TD>สมิงพราย ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เจ้าผาหลวง</TD><TD>ผาลาย</TD><TD>ช่วยดู ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>แสนผีพึง</TD><TD>ยอมท้าว</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เจ้าผาดำ</TD><TD>ผาเผือก</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ดีร้ายบอก</TD><TD>คนจำ ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>กำรูคลื่น</TD><TD>เปนเปลว</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ผีพรายผี</TD><TD>ชระมื่นถ้ำ</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD>………</TD></TR><TR><TD></TD><TD>บ่ซื่อน้ำ</TD><TD>ตัดคอ ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ตัดคอเร็ว</TD><TD>ให้ขาด</TD></TR><TR><TD>บ่ซื่อ</TD><TD>มล้างออเอา</TD><TD>ใส่เล้า</TD></TR><TR><TD>บ่ซื่อ</TD><TD>น้ำอยาดท้อง</TD><TD>เปนรุ่ง</TD></TR><TR><TD>บ่ซื่อ</TD><TD>แร้งกาเต้า</TD><TD>แตกตา ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เจาะเพาะพุง</TD><TD>ใบแบ่ง</TD></TR><TR><TD>บ่ซื่อ</TD><TD>หมาหมีหมู</TD><TD>เข่นเขี้ยว</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เขี้ยวชาชแวง</TD><TD>ยายี</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ยมราชเกี้ยว</TD><TD>ตาตาว</TD><TD>ช่วยดู ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ชื่อทุณพี</TD><TD>ตัวโตรด</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ลมฝนฉาว</TD><TD>ทั่วฟ้า</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ฟ้าจรโลด</TD><TD>ลิวขวาน</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ขุนกล้าแกล้ว</TD><TD>ขี่ยูง</TD><TD>ช่วยดู ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เคล้าฟ้าเคลือก</TD><TD>เปลวลาม</TD></TR><TR><TD></TD><TD>สิบหน้าเจ้า</TD><TD>อสุร</TD><TD>ช่วยดู</TD></TR><TR><TD>...</TD></TR><TR><TD></TD><TD>พระรามพระลักษณ์</TD><TD>ชวักอร</TD></TR><TR><TD></TD><TD>แผนทูลเขา</TD><TD>เงือกปล้ำ</TD><TD>ช่วยดู ฯ</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ปล้ำเงี้ยวรอน</TD><TD>ราญรงค์</TD></TR><TR><TD>ผีดง</TD><TD>ผีหมื่นถ้ำล้ำ</TD><TD>หมื่นผา ฯ</TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE><TBODY><TR><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>๏ มาหนน้ำหนบก</TD><TD>ตกนอกขอกฟ้าแมน</TD><TD>แดนฟ้าตั้งฟ้าต่อ</TD><TD>หล่อหลวงเต้า</TD></TR><TR><TD>ทังเหง้าภูตพนัสบดี</TD><TD>ศรีพรหมรักษ์</TD><TD>ยักษ์กุมาร</TD><TD>หลายบ้านหลายท่า</TD></TR><TR><TD>ล้วนผีห่าผีเหว</TD><TD>เร็วยิ่งลมบ้า</TD><TD>หน้าเท่าแผง</TD><TD>แรงไถยเอาขวัญ</TD></TR><TR><TD>ครั้นมาถึงถับเสียง</TD><TD>เยียชระแรงชระแรง</TD><TD>แฝงข่าวยินเยีย</TD><TD>ชระรางชระราง</TD></TR><TR><TD>รางชางจุบปากเยีย</TD><TD>จะเจี้ยวจะเจี้ยว</TD><TD>เขี้ยวสระคาน</TD><TD>อานมลิ้นเยีย</TD></TR><TR><TD>ละลาบละลาบ</TD><TD>ตราบมีในฟ้าในดิน</TD><TD>บินมาเยีย</TD><TD>พะพลุ่งพะพลุ่ง</TD></TR><TR><TD>จุ่งมาสูบเอา</TD><TD>เขาผู้บ่ซื่อ</TD><TD>ชื่อใครใจคด</TD><TD>ขบถเกียจกาย</TD></TR><TR><TD>หว้ายกะทู้ฟาดฟัน</TD><TD>คว้านแคว้นมัดศอก</TD><TD>หอกดิ้นเด้าเท้าทก</TD><TD>หลกเท้าให้ไป่มิทันตาย</TD></TR><TR><TD>หงายระงมระงม</TD><TD>ยมพบาลลากไป</TD><TD>ไฟนรกปลาบปลิ้นดิ้นพลาง</TD><TD>เขาวางเหนืออพิจี</TD></TR><TR><TD>ผู้บดีบซื่อ</TD><TD>ชื่อใครใจคด</TD><TD>ขบถแก่เจ้า</TD><TD>ผู้ผ่านเกล้าอยุทธยา</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระรามาธิบดี</TD><TD>ศรีสินทรบรมมหา</TD><TD>จักรพรรดิศรราชาธิราช</TD><TD>ท่านมีอำนาจมีบุญ</TD></TR><TR><TD>คุณอเนกา</TD><TD>อันอาศรัยร่ม</TD><TD>แลอาจข่มชัก</TD><TD>หักกิ่งฆ่า</TD></TR><TR><TD>อาจถอนด้วยฤทธานุภาพ</TD><TD>บาปเบียนตน</TD><TD>พนธุพวกพ้องญาติกามาไสร้</TD><TD>ไขว้ใจจอด</TD></TR><TR><TD>ทอดใจรัก</TD><TD>ชักเกลอสหาย</TD><TD>ตนทั้งหลายมาเพื่อจะทำขบถ</TD><TD>ทดโหร่ห์แก่เจ้าตนไสร้</TD></TR><TR><TD>จงเทพยดาฝูงนี้</TD><TD>ให้ตายในสามวัน</TD><TD>อย่าให้ทันในสามเดือน</TD><TD>อย่าให้เคลื่อนในสามปี</TD></TR><TR><TD>อย่าให้มีศุขสวัสดิเมื่อใด ฯ</TD></TR><TR><TD>๏ อย่ากินเข้าเพื่อไฟ</TD><TD>จนตาย</TD><TD>อย่าอาไศรยแก่น้ำ</TD><TD>จนตาย</TD></TR><TR><TD>นอนเรือนคำรนคา</TD><TD>จนตาย</TD><TD>ลืมตาหงายสู่ฟ้า</TD><TD>จนตาย</TD></TR><TR><TD>ก้มหน้าลงแผ่นดิน</TD><TD>จนตาย</TD><TD>สีลองกินไฟต่างง้วน</TD><TD>จนตายฯ</TD></TR><TR><TD>๏ จงไปเป็นเปลวปล่อง</TD><TD>น้ำคลองกลอกเป็นพิษ</TD><TD>คาบิดเปนเทวงุ้ม</TD><TD>ฟ้ากระทุ่มทับลง</TD></TR><TR><TD>แล่งแผ่นดินปลงเอาชีพ</TD><TD>จรเข้ริบเสือฟัด</TD><TD>หมีแรดถวัดแสนงขนาย</TD><TD>หอกปืนปลายปักครอบ</TD></TR><TR><TD>ใครต้องจอบจงตาย</TD><TD>งูเงี้ยวพิษทั้งหลายลุ่มฟ้า</TD><TD>ตายต่ำหน้ายังดิน ฯ</TD></TR><TR><TD>๏ อรินทรหยาบหลาบหล้า</TD><TD>ใครกวินซื่อแท้ผ่านฟ้า</TD><TD>ป่าวอวยพรฯ</TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE align=center><TBODY><TR><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR><TD>อำนาจ</TD><TD>แปล้เมือแมน</TD><TD>อมรสิทธิ</TD></TR><TR><TD>มีศรี</TD><TD>บุญพ่อก่อ</TD><TD>เศกเหง้า</TD></TR><TR><TD></TD><TD>ยศท้าวตริ</TD><TD>ไตรจักร</TD></TR><TR><TD></TD><TD>มิ่งเมืองบุญ</TD><TD>ศักดิ์แพร่</TD></TR><TR><TD></TD><TD>เพิ่มช้างม้า</TD><TD>แผ่วัวควาย</TD></TR><TR><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE align=center><TBODY><TR><TD> </TD></TR><TR><TD>๏ เพรงรัตนพรายพรรณยื่น</TD><TD>เพิ่มเขาหมื่นมหาไชย</TD><TD>ใครซื่อเจ้าเติมนาง</TD><TD>ใครซื่อรางควายทอง</TD></TR><TR><TD>ใครซื่อฟ้าสองอย้าวเร่งยิน</TD><TD>ใครซื่อสินเภตรา</TD><TD>ใครซื่อใครรักเจ้ายศยง</TD><TD>จงกลืนชนมาให้ยืนยิ่ง</TD></TR><TR><TD>เทพายศล่มฟ้า</TD><TD>อย่ารู้ว่าอันตราย</TD><TD>ใจกล้าได้ดังเพชร</TD><TD>ขจายขจรอเนกบุณย์</TD></TR><TR><TD>สมเด็จพระรามาธิบดี</TD><TD>ศรีสินทรบรมมหา</TD><TD>จักรพรรดิศรราชเรื่อยหล้า</TD><TD>ศุขผ่านฟ้า</TD></TR><TR><TD>เบิกสมบุญ</TD><TD>พ่อสมบุญฯ</TD></TR></TBODY></TABLE>



    [​IMG]
     
  12. a-pin-ya

    a-pin-ya เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 ธันวาคม 2008
    โพสต์:
    314
    ค่าพลัง:
    +672
    ศตรูของชาติ คือ ปวงประชามีองค์ความรู้(ทางศีลธรรม)ไม่ตรงกัน
    ต่อไปก็คงจะมี นักการเมืองมารตัวใหม่มาอีก ถ้าไม่สร้างปัญญาให้ปวงชน
     
  13. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,168
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +29,753
    [​IMG]
     
  14. นโมโพธิสัตโต

    นโมโพธิสัตโต ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ผู้ดูแลเว็บบอร์ด สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,168
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +29,753
    ถ้าคำสนทนาที่มีการจดบันทึกไว้ที่พระตำหนักภูพิงค์ ระหว่างหลวงพ่อฤาษีฯ กับ ในหลวง
    ท่านเป็นจริง...


    ...อีกเพียงห้าชาติ ในหลวงท่านจะบารมีเต็ม

    พร้อมรอคิวตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประเภทวิริยาธิกะ บารมีไม่ต่ำกว่า 16 อสงไขย
    กำไรแสนมหากัปป์



    ........ขอนักรบธรรม และ สาธุชน รวมพลังแห่งความดีกันเทอญ......
     

แชร์หน้านี้

Loading...