รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    สมุนไพรแก้พิษงู ตะขาบ แมงป่อง

    เกล็ดนาคราช

    [​IMG]

    [​IMG]

    <TABLE style="WIDTH: 522px; BORDER-COLLAPSE: collapse; HEIGHT: 232px" cellSpacing=1 cellPadding=0 width=522 align=center border=1><TBODY><TR><TD width=450 bgColor=#ddeeee>สมุนไพรแก้พิษสัตว์</TD></TR><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>ชื่อสมุนไพร <TD width=450 bgColor=#ddeeee>เกล็ดนาคราช</TD><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>ชื่อวิทยาศาสตร์ <TD width=450 bgColor=#ddeeee>Davallia denticulata Mett.</TD><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>ชื่ออื่น <TD width=350 bgColor=#ddeeee>เถาเกล็ดนาคราช เฟิร์น Fern</TD><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>ชื่อวงค์ <TD width=450 bgColor=#ddeeee>POLYPODIACEAE</TD><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>ชื่อพ้อง <TD width=450 bgColor=#ddeeee></TD><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>ส่วนที่นำมาใช้เป็นยา <TD width=450 bgColor=#ddeeee>หัว เถา </TD><TR><TD vAlign=top width=150 bgColor=#accee9>สรรพคุณตามตำรายาไทย <TD width=450 bgColor=#ddeeee>หัว แก้พิษงู ถอนพิษงู ทาบาดแผล แก้พิษตะขาบ แมงป่อง เถา แก้พิษตะขาบ แมงป่อง แก้พิษงู และถอนพิษต่าง ๆ</TD></TR></TBODY></TABLE>​

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2006
  2. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    พืชผักที่ควรปลูกเอาไว้กินเมื่อยามเกิดอุทกภัย

    <TABLE height=727 width="100%" align=center><TBODY><TR><TD colSpan=2 height=201>
    ผักกะเฉด
    Water cress
    ผักกะเฉดเป็นพืชคลุมดินตระกูลถั่วที่มีเถาเลื้อยจัดอยู่ในตระกูล Leguminosae
    มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Neptumia oleracea Lour.FL. มีถิ่นกำเนิดแถวเอเชียแถบร้อนเป็นพืชพื้นเมืองของไทยและมาเลเซีย สามารถเจริญได้ดีทั้งบนบกและในน้ำผักกะเฉดที่เจริญในน้ำจะประกอบด้วย "นม" (Aerenchyme) ทำหน้าที่เป็นทุ่นพยุงเถาให้ลอยน้าได้ และมีรากตามข้อที่ทอดในน้ำ ซึ่งคนไทยเรียกว่า "หนวด"

    </TD></TR><TR><TD width="49%" height=72>
    การเตรียมดิน
    การเตรียมดินปลูกผักกะเฉดหรือการทำนาผักกะเฉด คล้ายๆการเตรียมดินเพื่อทำนาข้าวคือมีการ ไถดิน คราดดินให้ละเอียด เอาน้าเข้าแปลงทำเทือกให้ดี พร้อมที่จะปลูก


    </TD><TD width="51%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=2 height=10>
    การปลูก
    หลังจากทำเทือกดีแล้วนำเถาผักกะเฉดมาปักดำในนา ให้ระยะระหว่างต้นกัน 1 เมตรระยะระหว่างแถวห่างกัน
    1.50 เมตร
    การดูแลรักษา
    เมื่อปลูกผักกะเฉดเสร็จแล้ว ให้หว่านปุ๋ยแคลเซียมแอมโมเนียไนเตรทในอัตราไร่ละ 25 กิโลกรัมทั่วทั้งผืนนา ไขน้ำ ให้ทั่วผืนนาสูง 7 ซม. ทิ้งไว้ 3 วัน แล้งจึงไขน้ำออกอีกครั้งหนึ่งให้สูง 50 ซม. ปุ๋ยจะกระจายทั้งแปลงนอกจาก นี้ยังนิยมใส่แหนเขียวลงในแปลงปลูกผักกะเฉดเพื่อช่วยบังแสง จะช่วยให้ลำต้นเป็นสีเขียวอ่อนและนมเป็นสีขาว น่ารับประทาน
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา http://www.doae.go.th/library/html/detail/vegetable/pukkached_index.html

    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%" border=0><TBODY><TR><TD width="38%">[​IMG]</TD><TD width="62%">
    ผักบุ้ง
    (Water Morning Glory)
    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD width="64%">ลักษณะ
    ไม้เถาเนื้ออ่อน เลื้อยทอดยอดไปตามพื้นดินหรือบนผิวน้ำ เถาเป็นปล้อง ภายในกลวง ทั้งต้นมีน้ำยางขาว ใบเดี่ยวออกสลับ รูปใบหอก กว้าง 2-10 เซนติเมตร ยาว 4-12 เซนติเมตร ปลายแหลมโคนรูปหัวใจ ดอกสีขาวอมชมพูหรือม่วงอ่อน ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อละ 1-7 ดอก กลีบดอกโคนติดกันเป็นหลอด ปลายบานออกคล้ายปากแตร เมื่อบานเต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-4 เซนติเมตร ผลรูปไข่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร ผลมีสัน 4 สัน เป็นไม้ที่เจริญได้ดีในน้ำ มักพบตามที่ลุ่มชื้นแฉะ และตามคูคลองทั่วไป ผักบุ้งมี 2 ชนิดคือ ผักบุ้งไทย ลำต้นอวบ สีม่วงแดง ดอกสีม่วง และผักบุ้งจีน ลำต้นสีเขียว ดอกสีขาว ใบเล็กว่าผักบุ้งไทย
    </TD><TD width="36%">[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    การปลูก

    ผักบุ้งชอบดินที่มีความชื้นสูง ดินร่วนซุย หลังเตรียมพรวนดินใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยเคมีแล้วจึงหว่านเมล็ด กลบดินหนา 1 เซนติเมตร การหว่านอาจจะหว่านเป็นแถว แต่ละแถวห่างกัน 10-15 เซนติเมตร คลุมด้วยเศษหญ้าหรือเศษฟาง รดน้ำเช้า-เย็น ต้นกล้าจะงอกใน 2-3 วัน ให้ถอนต้นที่เบียดกันทิ้ง หลังจากต้นกล้างอก 7 วัน ให้ใส่ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต อายุเก็บเกี่ยว 20-30 วัน

    ที่มา http://singburi.doae.go.th/acri/www/Plant/pugbung.htm

    การเพาะเห็ดฟาง
    [​IMG]
    เงินลงทุน

    ครั้งแรกประมาณ 6,000 บาท/ไร่ (เชื้อเห็ดฟาง ราคาประมาณถุงละ 15 บาท)

    รายได้
    ประมาณ 10,000 บาทขึ้นไป/ไร่

    วัสดุ/อุปกรณ์
    เชื้อเห็ดฟาง ฟาง อาหารเสริม แบบเพาะ ผ้าพลาสติกใส (หน้ากว้างประมาณ 1.20 เมตร ความยาวไม่จำกัด) บัวรดน้ำ
    แหล่งจำหน่ายเชื้อเห็ด
    ศูนย์รวมสวนเห็ดบ้านอรัญญิก ฟาร์มเพาะเห็ดทั่วไป
    วิธีดำเนินการ
    1. เตรียมดิน โดยถางหญ้าออก พรวนดินปรับเป็นกองหลังเต่า ตากแดดก่อนเพาะ 2-3 วัน เพื่อฆ่าเชื้อโรค ปรับสภาพให้เป็นกลางรดน้ำให้ชุ่มก่อนเพาะ เพื่อให้ดินอุ้มน้ำได้ดี

    2. นำฟางแช่น้ำ 1 คืน หรืออย่างน้อย 6 ชั่วโมง แช่ให้เปียกทั่ว นำอาหารเสริมประเภทย่อยง่าย เช่น ขี้ฝ้าย ไส้นุ่น ผักตบชวาสับตากแห้ง จอกแหนสับตากแห้ง ต้นกล้วยสับตากแห้งแช่น้ำเช่นเดียวกับฟาง

    3. นำแบบเพาะทำด้วยไม้รูปสี่เหลี่ยมคางหมู ขนาดสูง 35-40 ซม. ฐานกว้าง 35-40 ซม. ด้านบนกว้าง 25-30 ซม. ยาว 1-1.5 เมตร วางลงบนแปลง

    4. นำฟางที่สะเด็ดน้ำ ประมาณ 7-8 กก. ใส่ในแบบเพาะ กดให้แน่นหนาประมาณ 4-6 นิ้ว

    5. นำอาหารเสริมประมาณ 0.5-1 กก. ที่สะเด็ดน้ำโรยในแบบเพาะรอบขอบกว้างประมาณ 2 นิ้ว หนาประมาณ 1 นิ้ว แล้วจึงเอาเชื้อเห็ด 1 ถุง หนักประมาณ 3-4 ขีด แบ่งเป็น 3 ส่วน โรยส่วนที่ 1 ทับอาหารเสริมให้ทั่วรอบขอบแบบเพาะ เป็นอันเสร็จชั้นที่ 1 ทำสลับกันแบบนี้สามชั้น แล้วเอาฟางประมาณ 2-5 กก. ปิดทับชั้นที่ 3 ให้หนา 1-2 นิ้ว

    6. ยกแบบเพาะออก แล้วทำการเพาะเช่นเดียวกันต่อไปเรื่อยๆ โดยเว้นระยะห่างแต่ละกองประมาณ 1 คืบ และรดน้ำให้ชุ่มทุกกอง

    7. เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการเพิ่มผลผลิตได้อีก ควรพรวนดินระหว่างกองเพาะ แล้วนำเชื้อเห็ดมาคลุกกับอาหารเสริมในอัตราส่วน 1:10 หว่านบนผิวดินที่พรวน

    8. เอาผ้าพลาสติกคลุมโดยใช้ 2 ผืน เกยทับกันตรงกลางกอง ให้คลุมพื้นที่ดินรอบกองเพาะออกมาประมาณ 50 ซม. เพื่อให้ดอกเห็ดเกิดบนดินได้สะดวก


    9. นำฟางแห้งคลุมทับผ้าพลาสติกให้มิด เพื่อป้องกันแสงแดด ถ้าอากาศร้อนให้คลุมทับหนา อากาศหนาวคลุมบาง
    การดูแลรักษา
    1. ในช่วงวันที่ 1-3 เห็ดต้องการอุณหภูมิประมาณ 32-38 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูงเกิน 38 องศาเซลเซียส ต้องระบายความร้อน โดยเปิดผ้าพลาสติกกลางกองเพาะออก 2 นิ้ว

    2. ถ้ากองเพาะแห้งเกิน (ดูได้จากการดึงฟางออกจากกองเพาะ แล้วลองบิดดูจะไม่มีน้ำซึมออกมาเลย) ให้ใช้บัวรดน้ำเป็นฝอยเพียงเบาๆ ให้ชื้น ระวังอย่าให้แฉะเกินไป

    3. ช่วงวันที่ 4-7 อุณหภูมิไม่ควรเกิน 32 องศาเซลเซียส ถ้าเกินต้องเปิดผ่าพลาสติกตรงกลางกองเพาะออก 3 นิ้ว ประมาณวันที่ 7 จะเริ่มมีตุ่มดอกเห็ดสีขาวเล็กๆ ช่วงนี้ต้องอย่ารดน้ำโดนเห็ด เพราะดอกเห็ดจะฝ่อและเน่าเสียหาย ให้รดน้ำที่ดินรอบกองเพาะ

    4. ในช่วงวันที่ 7-12 เป็นระยะการเจริญของดอกเห็ด ต้องการอากาศมากขึ้นให้เปิดผ้าพลาสติกตรงกลางกองเพาะออก 5-6 นิ้ว อุณหภูมิที่เหมาะสม 28-32 องศาเซลเซียส รักษาสภาพนี้ไว้จนดอกเห็ดโตเต็มวัย คือก่อนที่จะบานจึงเก็บได้
    การเก็บดอกเห็ด

    เก็บโดยใช้มือจับทั้งกอเบาๆ หมุนซ้าย-ขวาเล็กน้อย แล้วค่อยๆ ดึงขึ้น พยายามอย่าให้เส้นใยกระทบกระเทือน ผลผลิตที่ได้ประมาณ 1-2 กก. ต่อ 1 กองเพาะ ดอกเห็ดที่ขึ้นเป็นกอ มีทั้งดอกเล็กและดอกใหญ่ถ้ามีดอกเล็กมากกว่า ควรรอเก็บรุ่นที่ 2 ซึ่งห่างจากรุ่นแรกประมาณ 2-3 วัน
    ตลาด/แหล่งจำหน่าย
    ตลาดสด ขายส่งให้พ่อค้าแม่ค้า ซุปเปอร์มาเก็ต โรงงานแช่แข็ง โรงงานบรรจุ กระป๋อง

    สถานที่ให้คำปรึกษา

    1. กองส่งเสริมพืชสวน กรมส่งเสริมการเกษตร โทร.561-4878
    2. สำนักงานเกษตรจังหวัด, อำเภอ

    สถานที่ฝึกอบรม

    1. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.942-8200-45 ต่อ 1336-1339
    2. ศูนย์รวมสวนเห็ดบ้านอรัญญิก โทร.441-0369
    ข้อแนะนำ
    1. การเลือกเชื้อเห็ดที่ดี ควรเลือกที่มีเส้นใยเต็มถุง มีสีขาวนวล ไม่อ่อนหรือแก่เกินไป ไม่มีการปนเปื้อนของเชื้อรา และมีกลิ่นหอมของเห็ดฟาง

    2. พื้นที่เพาะเห็ด ต้องเป็นบริเวณที่ไม่มียาฆ่าแมลง น้ำไม่ท่วมขัง มีการระบายน้ำได้ดี และสภาพดินต้องไม่เค็ม เพราะความเค็มของดินจะทำให้เส้นใยเห็ด ไม่รวมตัวกันเป็นดอกเห็ด

    3. วัสดุที่ใช้เพาะ อาจใช้วัสดุอื่นแทนฟาง ซึ่งแล้วแต่จะหาได้ในท้องถิ่น เช่น ตอซัง เปลือกถั่วเขียว ขี้เลื่อย ทะลายปาล์ม เป็นต้น

    4. เศษวัสดุที่เหลือจากการเพาะเห็ดฟาง สามารถนำมาเป็นปุ๋ยหมักใช้กับพืช อื่นๆ หรือขายเป็นรายได้เสริม
    ---------------------------------------​
    ที่มา : ส่งเสริมการมีงานทำ , กอง กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม,"เพาะเห็ดฟาง," 150 อาชีพเส้นทางประกอบอาชีพอิสระ กรุงเทพฯ , 2544 ,
    หน้า 249-250.


    <TABLE width=500 align=center><TBODY><TR><TD width=747>การเพาะถั่วงอก



    <DD>มีใครบ้างไม่รู้จักถั่วงอก โดยเฉพาะถั่วงอกที่ได้จากถั่วเขียว ซึ่งมา เกี่ยวข้องกับอาหารประจำวันของคนไทย ไม่ว่าจะเป็นผัดถั่วงอก หรือ เกาเหลาก็ต้องใส่ถั่วงอกทั้งนั้น แต่การที่จะได้ถั่วงอกปลอดสารพิษร้อย เปอร์เซ็นต์ก็ต้องเพาะเองเพื่อใช้ในครัวเรือน ดังนั้น จึงขอชักชวนทุกคนมาทำ ถั่วงอกไว้รับประทานเอง โดยเฉพาะเกษตรกรผู้ปลูกถั่วเขียวซึ่งมีวัตถุดิบ พร้อมอยู่แล้ว แต่จะลงมือเพาะต้องหาอุปกรณ์และความรู้เท่านั้น

    <DD>วัสดุและอุปกรณ์

    <DD>1. เมล็ดถั่วเขียวที่มีคุณภาพดี
    <DD>2. ภาชนะผิวเรียบทรงสูงตรง เช่น ขวดน้ำมันพืชขนาด 2 ลิตร โถ พลาสติกหรือกระป๋องพลาสติก ใช้ตะปูเผาไฟเจาะรูระบายน้ำให้มีขนาดเล็ก กว่าเมล็ดถั่วเขียวที่ก้นภาชนะประมาณ 10-15 รู
    <DD>3. ถุงเพาะสีดำ (สำหรับเพาะต้นไม้) ขนาด 5x10 นิ้ว
    <DD>4. ผ้าขนหนูผืนเล็ก
    <DD>5. อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น ถังแช่เมล็ด ขันน้ำ ฝักบัวหรือสายยาง
    <DD>6. น้ำสะอาด เช่น น้ำประปา หรือน้ำบาดาลที่ทิ้งให้ตกตะกอนและ เย็น

    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>7. สถานที่เพาะควรเป็นที่ร่มและเย็น

    <DD>วิธีการเพาะ

    <DD>1. ใช้เมล็ดถั่วเขียวประมาณ 1 ถ้วยตวง แช่ในน้ำอุ่นอุณหภูมิประ- มาณ 55-60 องศาเซลเซียส ประมาณ 1/2-1 ชั่วโมง แล้วล้างเมล็ดถั่ว- เขียวให้สะอาด โดยล้างเอาสิ่งเจือปนต่างๆ และเมล็ดที่พองตัวออกเพราะจะ เป็นเมล็ดอ่อน เมล็ดที่ถูกแมลงทำลายและเมล็ดที่เสื่อมคุณภาพ ซึ่งเป็น สาเหตุให้ถั่วงอกเน่าเสียหายได้ หลังจากนั้นแช่น้ำต่อไปอีก 8-10 ชั่วโมง หรือ 1 คืน
    <DD>2. วันรุ่งขึ้นล้างเมล็ดที่แช่น้ำแล้ว นำขึ้นมาผึ่งในตะแกรงสักครู่เมล็ด จะพองตัวขึ้นได้ประมาณ 2 ถ้วยตวง จากเมล็ดถั่วเขียวแห้ง 1 ถ้วยตวง ถ้า เพาะในขวดน้ำมันพืชใช้เมล็ดที่แช่น้ำแล้วประมาณ 1 ถ้วยตวงต่อขวด สามารถเพาะได้ประมาณ 2 ขวด ใส่เมล็ดในภาชนะเพาะปิดทับเมล็ดด้วยผ้า ขนหนู รดน้ำให้ชุ่มทุก 2-3 ชั่วโมง
    <DD>3. ปิดคลุมภาชนะเพาะอีกครั้งด้วยถุงเพาะสีดำ เพื่อไม่ให้โดนแสง นำไปวางไว้ในร่มและเย็น
    <DD>4. เมื่อเพาะถึงวันที่ 3 (ประมาณ 65-72 ชั่วโมง) นำมาล้างเอา เปลือกถั่วเขียวออกจะได้ถั่วงอกสำหรับบริโภค 1-2 มื้อ 5. ระยะเวลาในการเพาะถั่วงอกขึ้นอยู่กับอุณหภูมิในช่วงเวลา ระหว่างการเพาะ

    <DD>เทคนิคในการเพาะถั่วงอก

    <DD>1. การเลือกเมล็ดถั่วเขียว ควรเป็นเมล็ดที่มีคุณภาพดีไม่ใหม่หรือ เก่าเกินไป อายุการเก็บรักษาประมาณ 3-6 เดือน
    <DD>2. ภาชนะเพาะถั่วงอก มีให้เลือกหลายแบบและหลายชนิด ขึ้นอยู่ กับวิธีการเพาะและการใช้วัสดุเพาะ แต่ที่เหมาะสำหรับการเพาะถั่วงอกควร เป็นภาชนะผิวเรียบทรงตรง หรือปากแคบเล็กน้อย เพื่อเป็นการจำกัดพื้นที่ ในการงอกของเมล็ดถั่วเขียวจะทำให้ถั่วงอกมีลักษณะอวบอ้วนมากขึ้นและ ภาชนะควรมีสีดำ หรือสีทึบเพื่อป้องกันแสงสว่าง และข้อสำคัญภาชนะต้อง สะอาดก่อนนำไปเพาะถั่วงอกทุกครั้ง
    <DD>3. การเตรียมเมล็ดก่อนเพาะ การแช่เมล็ดก่อนเพาะเป็นการช่วย เร่งให้ระยะเวลาเพาะถั่วงอกเร็วขึ้น ในกรณีที่เพาะหลายครั้งแล้วถั่วงอกยัง เน่าอยู่ ไม่แน่ใจว่าเมล็ดมีเชื้อโรคติดมาหรือไม่ ให้แช่เมล็ดในน้ำคลอรีนก่อน โดยใช้คลอรีนผง 1/2-1 ช้อนชา ผสมน้ำ 1 ลิตร แช่นาน 1 ชั่วโมง เพื่อล้าง เชื้อโรคที่ติดมากับเมล็ด หลังจากนั้นจึงแช่ในน้ำอุ่นประมาณ 55-60 องศา- เซลเซียส อีกประมาณ 8-10 ชั่วโมง จุดสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ในชั่วโมง แรกของการแช่น้ำของเมล็ด จะมีเมล็ดบางส่วนพองตัวอย่างรวดเร็ว เมล็ด ลักษณะนี้จะเป็นเมล็ดอ่อน เมล็ดที่ถูกแมลงทำลาย และเมล็ดที่เสื่อม คุณภาพ ต้องล้างหรือเก็บออกให้หมด รวมทั้งเมล็ดแตกด้วย เพราะเมล็ด เหล่านี้จะเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ถั่วงอกเน่า ดังนั้น การล้างเมล็ดในช่วงนี้ เพื่อจะช่วยให้เมล็ดถั่วเขียวมีความงอกสม่ำเสมอมากยิ่งขึ้น
    <DD>4. น้ำ เป็นปัจจัยสำคัญต่อการงอกของเมล็ด ควรเป็นน้ำสะอาด เช่น น้ำประปาหรือถ้าเป็นน้ำบาดาลต้องปล่อยทิ้งให้เย็นและตกตะกอนก่อนนำมาใช้รดถั่วงอก การให้น้ำถั่วงอกนอกจากใช้ในการเจริญเติบโตแล้ว ยัง ใช้ในการระบายความร้อนที่เกิดขึ้นจากการหายใจระหว่างการเจริญเติบโต ของต้นอ่อนภายในภาชนะด้วยการให้น้ำ ควรให้อย่างสม่ำเสมอ ทุก ๆ 2-3 ชั่วโมง การให้น้ำแต่ละครั้งควรให้ในปริมาณที่มากพอ กล่าวคือให้จน กระทั่งน้ำที่ไหลออกมาทางก้นภาชนะเย็นเท่ากับน้ำที่รดให้ การให้น้ำเพียง เล็กน้อย เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ถั่วงอกเน่าได้ เพราะเกิดการสะสมความ ร้อนในภาชนะ

    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>5. ระยะเวลาในการเพาะถั่วงอก ถั่วงอกปกติจะใช้เวลาเพาะประ- มาณ 3-4 วัน (นับตั้งแต่เริ่มแช่เมล็ดถั่ว) การเพาะในฤดูหนาวที่มีอุณหภูมิ ต่ำ อาจใช้เวลาในการเพาะมากกว่าฤดูร้อนที่มีอุณหภูมิสูงกว่า
    <DD>6. ลักษณะของถั่วงอก ในสภาพอากาศหนาว ถั่วงอกจะมีลักษณะ ค่อนข้างอ้วนรากสั้นกว่าถั่วงอกที่เพาะในสภาพอากาศร้อน การเพาะใน ภาชนะปากแคบจะทำให้ถั่วงอกมีลักษณะอวบอ้วนกว่าภาชนะปากกว้าง
    <DD>7. การใช้สารเคมีกับถั่วงอก สารที่ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย คือ สารส้ม และน้ำมะนาวที่ใช้แช่ถั่วงอก เพื่อช่วยให้ถั่วงอกกรอบ มีสีขาวไม่เขียว คล้ำ การเพาะถั่วงอกด้วยวิธีการดังกล่าวนี้ ทำให้ได้ถั่วงอกปลอดสารพิษไว้ รับประทาน เพื่อสุขภาพที่ดีของผู้บริโภคและประหยัดค่าใช้จ่าย และหาก เพาะในปริมาณมาก จะสามารถสร้างรายได้เสริมให้แก่ครอบครัวได้เป็น อย่างดี
    <CENTER>ข่าวสารสถาบันวิจัยพืชไร่ ต.ค.-ธ.ค. 2542 </CENTER></DD></TD></TR></TBODY></TABLE><!--Address Bar --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>
    <HR color=#cc3366 SIZE=1>สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
    เทคโนธานี ถ.เลียบคลองห้า ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 ประเทศไทย
    โทรศัพท์ 0-2577-9000
    โทรสาร 0-2577-9009
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

     
  3. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    วิธีทำเต้าหู้
    [SIZE=+0]
    <TABLE width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#ffffff>
    [​IMG]
    </TD><TD bgColor=#ffffff>
    [​IMG]
    </TD><TD bgColor=#ffffff>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD>
    เต้าหู้อ่อน (ห่อใบตอง)
    </TD><TD>
    เต้าหู้อ่อน (แบบเป็นอัน)
    </TD><TD>
    เต้าหู้แข็ง (เหลือง)
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    [/SIZE]
    กระบวนการผลิตเต้าหู้โดยทั่วไป เริ่มจากเอาเมล็ดถั่วเหลืองที่แช่น้ำจนอิ่มตัวมาบดกับน้ำจนละเอียด จากนั้นกรองเอาแต่น้ำที่ได้มาต้มให้สุก แล้วนำมาใส่สารตกตะกอนโปรตีน แล้วโปรตีนก็จะจับตัวเป็นก้อนสีขาวนวลลักษณะนิ่มหรือแข็งก็ขึ้นอยู่กับเต้าหู้แต่ละแบบที่ต้องการ

    เต้าหู้เป็นอาหารที่ทำได้ไม่ยากเลย ไม่ว่าจะเป็นเต้าหู้อ่อนหรือแข็งก็ต้องเริ่มจากการทำน้ำเต้าหู้เสียก่อน สิ่งสำคัญต้องเริ่มต้นตั้งแต่การคัดถั่วเหลือง แนะนำให้เลือกถั่วเหลืองเมล็ดอ้วน ไม่ลีบแบน คัดสิ่งสกปรก บรรดาเศษดิน หิน ทราย ออกให้หมดแล้วนำไปแช่น้ำให้ท่วม​

    การแช่ถั่วเหลืองไม่ควรนานเกิน 2-3 ชั่วโมง ให้สังเกตว่าพอเม็ดถั่วเริ่มพอง อมน้ำเต็มที่ก็จะใช้ได้ ถ้าเราแช่เมล็ดถั่วเหลืองในน้ำนานเกินไปจะทำให้โปรตีนในถั่วจับตัวกันได้ไม่ดีเท่าที่ควร

    การทำเต้าหู้แข็งกับเต้าหู้อ่อนแตกต่างกันตรงสารที่ใส่ให้โปรตีนในถั่วเหลืองจับตัวเป็นก้อน ในการทำเต้าหู้แข็งให้ใส่สารแมกนีเซียมซัลเฟต หรือที่เรียกว่า "ดีเกลือ" ถ้าเป็นสารละลายก็เรียกว่า ​
    น้ำดีเกลือ
    ส่วนในการทำเต้าหู้อ่อนใส่แคลเซียมซัลเฟต หรือที่เรียกว่า "หินอ่อน"

    หากจะลองทำเต้าหู้เอง ควรจะทำในปริมาณน้อยๆ ก่อน แค่เพียงพอรับประทานใน 1-2 วัน ก็พอ เพราะเต้าหู้เป็นอาหารที่บูดหรือเสียได้ง่าย โดยเฉพาะหากเราไม่ใส่สารกันบูด เมื่อทำเสร็จแล้วสามารถเก็บไว้ในตู้เย็นได้ไม่เกินสองวัน ขอให้สนุกนะคะ

    ส่วนผสม
    ถั่วเหลือง 1 กิโลกรัม
    น้ำดีเกลือ 2 ช้อนโต๊ะ
    น้ำ 4 ลิตร
    อุปกรณ์
    เครื่องปั่น ผ้าขาวบาง ตะแกรง ถ้วยตวงน้ำ พิมพ์ไม้สี่เหลี่ยม เขียงหรือของหนัก
    วิธีทำ
    1. เลือกเมล็ดถั่วที่เสียออก ล้างน้ำแล้วแช่ในน้ำร้อน 2-3 ชั่วโมง จนเมล็ดถั่วพองและอมน้ำเต็มที่ บี้เอาเปลือกออกให้หมด
    2. ใส่ถั่วและน้ำลงในโถปั่น ครั้งละ 1/3 ของโถปั่น ปั่นเข้าด้วยกันจนละเอียด ทำจนหมด
    3. กรองส่วนผสมด้วยผ้าขาวบาง
    4. บีบเอาน้ำนมถั่วเหลืองออกให้หมด
    5. นำน้ำนมถั่วเหลืองมาต้ม โดยใช้ไฟกลางค่อนข้างแรง พอเดือดสักครู่ ปิดไฟ ยกลงแช่ในอ่างน้ำประมาณ 10 นาที จนอุณหภูมิ 70-80 องศาเซลเซียส ยกหม้อออก
    6. เทน้ำดีเกลือลงในหม้อทีละน้อย คนให้เข้ากัน ใส่น้ำดีเกลืออีก จนข้นและโปรตีนถั่วเหลืองจับตัวเป็นก้อน จนหมดน้ำดีเกลือ
    7. ตั้งหม้อทิ้งไว้สักครู่ให้โปรตีนตกตะกอน
    8. ตักโปรตีนถั่วเหลืองใส่พิมพ์ไม้ที่รองด้วยผ้าขาวบางจนพูน ห่อให้เรียบร้อย
    9. ทับด้วยเขียงหรือของหนักๆ ประมาณ 30 นาที จะได้เต้าหู้แข็ง
    10. นำเต้าหู้ที่ได้ไปนึ่งสักครู่จนร้อน ทิ้งไว้ให้เย็น เก็บใส่กล่องที่มีน้ำ ปิดฝา แช่ตู้เย็น

    http://www.matichon.co.th/adm/tour/template1p.php?selectid=2488

    หมายเหตุ เมล็ดถั่วเหลืองสามารถหาซื้อได้ตามซุปเปอร์มาเก็ตทั่วไป ซึ่งมักใส่เป็นถุงขาย สามารถเก็บไว้ได้นาน เมื่อต้องการทำเต้าหู้แข็ง หรือทำน้ำเต้าหู้ไว้รับประทาน ก็สามารถแบ่งออกมาใช้เป็นคราวๆ ไปได้ครับ ส่วนน้ำดีเกลือ(สำหรับทำเต้าหู้แข็ง) ไม่แน่ใจว่าจะหาซื้อได้ที่ไหน ลองถามหาตามร้านขายยาทั่วไปก็คงทราบ<!-- A=80.144.38.197 X= -->
     
  4. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    ปีนี้น้ำมาเยอะมากกำลังจะสูงกว่าปี 38 ค่อนข้างแน่ครับ..
    ริมแม่น้ำสะแกกรังระดับน้ำสูงถึงเอว..วัดท่าซุงคงท่วมหนักครับ บ้านใครอยู่ใกล้แม่น้ำช่วงนี้..เหนื่อยกันหน่อยนะครับ เหมือนการซ้อมใหญ่ กว่า 20 จังหวัดแล้วครับตอนนี้ ฝนก็ตกทุกว้น ที่อุทัยตอนนี้น้ำขึ้นเรื่อยๆ 3-4 ชั่วโมงขึ้นราวๆ 10 เซนติเมตร..ต้องหาซื้อเรือพายหรือเรือไฟเบอร์ลำละประมาณ 3,500-6,000 บาทเก็บเอาไว้นะครับ ...เพราะปีถัดไปทราบว่าจะหนักขึ้นอีกเรื่อยๆครับ..เรื่องไฟฟ้า ต้องระมัดระวังโดยเฉพาะคัตเอาท์ ปิดไว้ก่อนปลอดภัยที่สุดครับ..ของบ้างอย่างขนไม่ได้ก็ต้องปล่อยวางครับ..เอาที่จำเป็นๆเท่านั้นๆยกขึ้นที่สูงพอ..เขื่อนภูมิพลยังต้องปล่อยน้ำอีกราวๆ 6 วัน ระดับน้ำจะสูงขึ้นอีกเยอะครับ (ระดับสูงสุดอีก 70 เซนติเมตรเป็นอย่างน้อย)..ตอนนี้ผมย้ายไปอยู่อีกบ้านแล้วครับใกล้ภูเขา ไม่มีอะไรต้องเป็นห่วงครับ..เตรียมพร้อมไว้หมดแล้ว..
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2006
  5. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอขอบคุณข้อมูลมหาศาลจากคุณเกษมอย่างยิ่งเลยครับ สมกับเป็นพหูสูตรครับ เราหลายคนคงได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ครับ และผมขออนุญาต นำ ข้อมูลเรื่องนิวเคลียร์ที่คุณเกษมโพสไว้ในกระทู้อื่นมาเพิ่มเติมไว้ด้วยนะครับ
     
  6. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    คุณ Mead ขอให้ปลอดภัยนะครับ เลยกลายเป็นเจอภัยพิบัติก่อนอีกหลายคน คิดว่ารอบนี้เอาจริงหรือเป็นซิม ครับ ยังไงก็ขอเอาใจช่วยนะครับ ยังมีงานที่พวกเราต้องช่วยกันอีกเยอะครับ ขาดเหลืออะไรส่งข่าวกันในเวบนะครับ
     
  7. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    ขอบคุณคุณคนานันท์ครับ..ซ้อมรับมือครับ แต่รู้อยู่ครับว่าปีนี้ท่วมแน่ๆ เบื้องบนก็บอกไว้แล้ว..เลยพร้อมเสมอครับ ไม่ต้องห่วง..อิอิ..
    และข้อมูลคุณเกษมมีประโยชน์มากเลยครับ..ขอบคุณนะครับ
    เอาไปประยุกต์ใช้ได้ได้ทันที ใครว่างๆจะทดลองซ้อมปลูกแปลงผักไว้ก่อนก็ไม่เลวครับ..ทดลองปลูกในอาคารได้ยิ่งดีครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 ตุลาคม 2006
  8. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ยินดีครับที่คุณคนานันท์ จะนำข้อมูลที่ให้ไว้ไปใช้ประโยชน์ เรื่องข้อมูลต่างๆ ที่ผมนำมาลงไว้ในกระทู้นี้ หรือกระทู้อื่นๆ ผมเองก็ยังงงกับตัวเองว่าไปหามาลงได้อย่างไร เหมือนกับว่ามีบางสิ่งคอยดลใจให้ไปหามาลงเอาไว้ครับ เช่นพอนั่งพักผ่อนสบาย ๆ อยู่ก็เกิดนึกขึ้นมาว่าเราควรจะเอาเรื่องโน้นบ้าง เอาเรื่องนี้บ้างมาลง หรื่อบางทีพอเข้าไปดูตามเว็บไซต์ต่างๆ ก็ไปเจอกับรูปภาพบ้าง เนื้อหาบทความบ้าง ที่กำลังตั้งใจหาโดยบังเอิญ เป็นอย่างนี้บ่อย ๆ จนนึกถามกับตัวเองว่ามันจะบังเอิญอะไรขนาดนั้น

    พอดีเมื่อตะกี้นี้ผ่านเข้าไปดูกระทู้ "ประเทศไทยจะเกิดอุบัติภัยฯ" ได้มีคนสนใจถามปัญหาเรื่องการนั่งสมาธิ ว่ามีเจ้ากรรมนายเวรมาคอยมารบกวน ผมเองก็ยังนั่งสมาธิไม่เก่งจึงจนปัญญาไม่รู้จะตอบอย่างไร จึงขอรบกวนคุณคนานันท์ ช่วยตอบปัญหาในกระทู้ดังกล่าวให้ด้วยนะครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 1 มีนาคม 2007
  9. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เพชรพญานาค ของดีที่ไม่ควรมองข้าม
    <TABLE height=30 cellSpacing=3 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top align=right><TD align=right> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>
    [​IMG]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE height=30 cellSpacing=3 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR vAlign=top align=right><TD align=right> </TD></TR><TR vAlign=top><TD>
    [​IMG]

    เพชรพญานาค เป็นของวิเศษอีกอย่างหนึ่งที่ผมอยากจะแนะนำให้หามาไว้ป้องกันตัว เพราะมีพลังบารมีของพญานาค ซึ่งเป็นจ้าวแห่งพญางู และ สัตว์มีพิษทั้งหลาย ในช่วงที่เกิดอุทกภัยนี้ มักจะมีงู ตะขาบ แมงป่อง ว่ายหนีน้ำมาอาศัยอยู่ในบ้าน ซึ่งอาจจะมาทำอันตรายให้กับผู้อยู่อาศัยในบ้านได้

    เพชรพญานาค มีคุณวิเศษป้องกันงู ตะขาบ แมงป่อง และสัตว์มีพิษต่างๆ ได้ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่ต้องการมี วัตถุมงคลไว้ป้องกันอันตราย แต่เพชรพญานาคมีทั้งที่เป็นของจริง และของปลอม ทำอย่างไรถึงจะรู้ได้ ผมจึงอยากจะแนะนำให้ไปหา อาจารย์อาชวิน จิรจินดา(ตาที่สาม) ให้ท่านตรวจสอบดูว่าเพชรพญานาคเม็ดนั้น ว่ามีพลังอะไรอยู่บ้าง และจะเหมาะกับผู้นั้นหรือไม่ เพราะพลังบางอย่างมันก็ขัดแย้งกันเอง แทนที่จะเป็นประโยชน์กับผู้มีไว้ติดตัว อาจจะกลับเป็นอันตรายก็ได้ครับ

    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  10. Good_oom

    Good_oom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    145
    ค่าพลัง:
    +562
    ขอบคุณพี่ๆ ทุกคนมาก ครับผมได้รับรู้ข้อมูลมากมาย
    และ ขอให้พี่ๆ ทุกคน รอดปลอดภัยจากอันตราย ทั้งปวงด้วยครับ

    พี่ เกษม ครับ แล้วผักตบชวากินได้ไหมครับเห็นมีเยอะดี
     
  11. Good_oom

    Good_oom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    145
    ค่าพลัง:
    +562
    ข้อมูลส่วนหนึ่งครับ จากhttp://www.tjanews.org/cms/index.php?option=com_content&task=view&id=984&Itemid=57

    พัชรา ยิ่งดำนุ่น
    นักจัดรายการวิทยุ มอ.ปัตตานี
    ศูนย์ข่าวอิศรา สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย

    (พัชรา ยิ่งดำนุ่น นักจัดรายการวิทยุ สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ถ่ายทอดประสบการณ์เดินทางไปร่วมประชุม ASIAN RETREAT 2006 ณ Wisma MCA ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 2- 5 มิ.ย.ที่ผ่านมา)

    ท่ามกลางกระแสของความไม่สงบ ความรุนแรง และความขัดแย้ง รวมทั้งความวิตกกังวลของผู้คนต่อสถานการณ์การก่อการร้ายและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่กำลังเกิดขึ้นทั่วทุกมุมโลก ความหวังเดียวที่ทุกคนเฝ้ารอคอยและปรารถนาจะให้เกิดขึ้น คือ สันติภาพและความสงบสุข แต่จะเกิด ขึ้นได้อย่างไรและด้วยวิธีการใด
    “บรามาห์ กุมารี มาเลเซีย” ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของบรามาห์ กุมารี มหาวิทยาลัยทางจิตของโลก (World Spiritual University) องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงกำไร มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ เทือกเขาอาบู รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย มุ่งสอนความรู้ทางจิตและการฝึกจิตแบบราชาโยคะ (Raja Yoga Meditation) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ยกระดับจิตใจและจิตวิญญาณให้ดีงามสูงส่ง เน้นหลักคุณ ธรรมและการตระหนักถึงคุณค่าของชีวิต ได้ริเริ่มจัดประชุม ASIAN RETREAT 2006Wisma MCA ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ระหว่างวันที่ 2- 5 มิ.ย.49 เพื่อแสวงหาคำตอบสำคัญดังกล่าว
    ความสงบเกิดขึ้นได้อย่างไร
    ดาดี้แจงกี (Dadi Janki) ผู้ร่วมบริหารของบรามาห์ กุมารี มหาวิทยาลัยทางจิตของโลก กล่าวเปิดรายการอย่างสนใจโดยการตั้งคำถามว่า “เรามีศัตรูต่อใครในหัวใจของเราหรือไม่ ให้เรามองดูหัวใจ ดูกระจกหัวใจของตัวเอง ผู้คนในโลกทำบุญเพื่อให้โลกรับรู้ แต่ซ่อนเร้นบาปในจิตใจ ความทุกข์ทรมานที่เกิดขึ้นในใจเรา มาจากความวิตกกังวล เพราะเราไม่มีความรักในชีวิต”
    ดาดี้แจงกี ซึ่งบรรยายในหัวข้อ “ความกล้าหาญที่จะเดินตามหัวใจตัวเอง (Courage to Follow your Heart)” ยังพาเราเดินทางค้นหาคำตอบในใจอีกว่า “เราจะหยุดสงครามภายนอกได้ เมื่อเราหยุดสงครามในหัวใจเราเอง และตระหนักได้ในที่สุดว่า อะไร คือ สัจจะ อะไร คือ ความหลอกลวง อะไรดี อะไรผิด อะไรถูก หรือ อะไรผิด”
    เขา กล่าวเน้นย้ำว่า “อย่าได้มีความคิดที่เป็นบาป อย่าได้พูดโกหก คอรัปชั่น หรือ คดโกง ให้สร้างชีวิตด้วยศรัทธาและความซื่อสัตย์และอย่าได้ประณามผู้ใด ขอให้เรามีความกล้าหาญและศรัทธา มีความซื่อสัตย์ในหัวใจ คนที่ประณามเราให้ถือว่า คือ มิตรที่ดีที่สุด เพราะเขาช่วยให้เรารู้จักตนเองและเปลี่ยนแปลงตัวเราเอง ขอให้เรามีความอดกลั้น เราจึงจะกล้าหาญได้ และทำให้จิตใจของเราแข็งแกร่ง เมื่อเราใช้ความกล้าหาญ เราจะอยู่อย่างสอดดคล้องปรองดองกัน”
    คำพูดของ ดาดี้แจงกี สื่อให้เห็นถึงความคิดที่มาจากพื้นฐานของความสงบที่ได้สั่งสมมายาวนาน ความคิด และคำพูดของแจงกีมีพลังและจุดประกายให้ผู้ที่มาร่วมรับฟังสัมผัสถึงกระแสของสงบ และความรักและความปรารถนาดีอย่างจริงใจ เป็นประสบการณ์ของผู้ที่ได้อุทิศตัวตนเพื่อการสร้างคุณประโยชน์แก่โลก บนพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลงตนเอง ด้วยการตระหนักในคุณค่าของตนเอง คุณค่าของผู้อื่น ฉากละครแห่งชีวิต และเวลาที่เหลืออยู่
    ด้าน ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ผู้ร่วมกล่าวสุนทรพจน์ เรื่อง การสร้างสันติภาพโลก กล่าวสนับสนุนการสร้างสันติภาพว่า “สงคราม คือ อาชญากรรม ผู้ก่อสงคราม คือ อาชญากร ผู้ที่ปฏิเสธสงคราม สมควรได้รับการเลือกให้เป็นผู้นำสังคม”
    นอกจากนี้ ยังได้เชิญชวนให้ทุกคนในโลกปฏิเสธสงคราม ทุกรูปแบบ และมีส่วนร่วมกันสร้างสันติภาพ และกล่าวด้วยว่า “แม้แต่แม่ของผู้ที่ถูกฆ่าตายในอิรักก็กำลังเรียกร้องสันติภาพ”
    อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซียยังได้ให้สัมภาษณ์สำนักข่าวต่างประเทศเมื่อเร็วๆ นี้ด้วยว่า วิกฤตินิวเคลียร์ อาจก่อสงครามโลกครั้งใหม่ และหากสหรัฐอเมริกาใช้กำลังโจมตีอิหร่าน อาจจุด ชนวนของการก่อเหตุร้ายขึ้นทั่วโลก ซึ่งทำให้ความไม่ปลอดภัยขยายวงกว้างขึ้น
    เขายังกล่าวด้วยว่า จากประสบการณ์ของเขาที่เคยเดินทางไปอิหร่าน ได้เห็นว่าชาวอิหร่านมีความมุ่งมั่นที่จะปกป้องประเทศ และจะไม่ละทิ้งสิทธิในการวิจัยวัสดุนิวเคลียร์และเชื่อด้วยว่า ชาวอิหร่านมีศักยภาพที่จะตอบโต้และสร้างความเสียหายแก่ใครก็ตามที่เป็นฝ่ายโจมตีก่อน (ไทยรัฐ 7 มิ.ย. 2549)
    เส้นทางสู่ความสงบ
    จะเห็นว่า ในเวลานี้คนทั่วทุกมุมโลก กำลังทุกข์ทรมานกับการก่อการร้าย เหตุการณ์ความรุนแรงและความไม่สงบ รวมทั้งภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้น ความสูญเสียที่เกิดขึ้นต่อทุกชีวิตบนโลก ถึงเวลาหรือยังที่เราจะร่วมกันหยุดความรุนแรงและร่วมกันสร้างสันติภาพให้เกิดขึ้นบนโลกใบนึ้ด้วยการสร้างความสงบภายในจิตใจของเราเอง
    อย่าได้ลืมว่า ความสงบเป็นคุณสมบัติดั่งเดิมภายในจิตวิญญาณของมนุษย์เรา เราได้สูญเสียพลังแห่งความสงบ และคลังสมบัติที่ดีในตัวเองไป เพราะใจเราถูกกระทบด้วยความคิด คำพูดและการกระทำที่ไม่ดีของผู้อื่นและเราเฝ้าแต่มีคำถามว่า ทำไม ทำไม ทำไม เราเฝ้าแต่คาดหวังให้ผู้อื่นเปลี่ยนแปลงนิสัยเก่าที่ไม่ดีก่อน แล้วเราถึงจะเปลี่ยนตาม
    แต่แล้วในความเป็นจริงเราต่างรู้ดีว่า เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น หรือ สถานการณ์รอบข้างให้ดีขึ้นได้ นอกจากเราเริ่มที่จะเปลี่ยนแปลงนิสัยเก่าที่ไม่ดีของตัวเราเอง โดยเริ่มเพาะความคิดที่ดีงาม บริสุทธิ์ ให้คำพูดที่จริงใจสื่อสารด้วยความรักและมิตรภาพ และแสดงออกอย่างมีเมตตา ให้ความเคารพ ร่วมมือ และเข้าใจซึ่งกันและกัน มองกันด้วยสายตาของความเป็นพี่น้อง มองข้ามความแตกต่างภายนอก ไม่ว่าจะเป็น เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา
    เราสามารถสร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันได้ หากเรามองเห็นคุณค่าความดีในตัวผู้อื่น ความเคารพในตัวเองจึงจะเกิดขึ้น เมื่อเรามีความเคารพในตัวเอง เราก็จะเคารพผู้อื่น เมื่อเราเคารพผู้อื่น ก็ไม่มีเหตุผลใดที่จะใช้ความรุนแรงหรือจับอาวุธเข้าประหัตประหารรบราฆ่าฟัน หรือจะอ้างความชอบธรรม หรือเพราะสาเหตุใดก็ตาม ก็ไม่ใช่เหตุผลที่เราจะยอมรับได้
    ถ้าเราตระหนักได้ในที่สุดว่า แท้จริงแล้ว พลังแห่งสัจจะ พลังแห่งความดีงาม และพลังแห่งคุณธรรม เท่านั้นที่เป็นรากฐานสำคัญของการค้ำจุนโลกให้สงบสุขและเป็นหนึ่งเดียว
     
  12. Good_oom

    Good_oom เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    145
    ค่าพลัง:
    +562
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เกาหลีเหนือขู่! หากโดนโจมตีเจอ “สงครามนิวเคลียร์” แน่</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>4 กรกฎาคม 2549 03:03 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> สำนักข่าวของรัฐบาลเกาหลีเหนือรายงานในวันจันทร์(3)ว่า เกาหลีเหนือจะตอบโต้หากว่าถูกกองทัพสหรัฐฯโจมตีก่อน ด้วย “การโจมตีให้ราบคาบและสงครามนิวเคลียร์” ซึ่งการรายงานข่าวครั้งนี้ทำให้เพิ่มกระแสต่อต้านสหรัฐฯ ในระหว่างที่นานาชาติจับตาโครงการทดสอบขีปนาวุธของเกาหลีเหนืออย่างใกล้ชิด

    โดยสำนักข่าวกลางเกาหลีได้กล่าวโทษสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับการเพิ่มความกดดันทางการทหารกับเกาหลีเหนือ และการส่งเครื่องบินสอดแนมเข้าไปประจำการอยู่ในคาบสมุทรเกาหลี


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ไฟป่าออสเตรเลียโหมลุกไหม้กว่า 300 จุด</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>13 ตุลาคม 2549 13:30 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> กระแสลมแรง และอุณหภูมิที่ร้อนจัด กว่า 35 องศาเซลเซียส ได้ทำให้เกิดไฟป่าลุกไหม้ขึ้นกว่า 300 จุด ทั่วรัฐวิกตอเรีย เซาท์ออสเตรเลีย นิวเซาท์เวลส์ และแทสเมเนีย ของออสเตรเลีย เมื่อวานนี้ ทำให้ต้องระดมเจ้าหน้าที่ดับเพลิงหลายร้อยคนช่วยยับยั้งไฟป่า
    อย่างไรก็ตาม จากสภาพอากาศที่เย็นลงเมื่อคืนที่ผ่านมา ช่วยให้ไฟป่าบรรเทาความรุนแรงลง และเจ้าหน้าที่สามารถทำงานได้สะดวกขึ้น โดยสามารถยับยั้งไฟป่าได้เกือบทั้งหมดแล้วทั่วรัฐวิกตอเรีย แต่ยังเหลือจุดใหญ่ๆ ที่ยังไม่สามารถควบคุมได้ ในเมืองแห่งหนึ่งของรัฐแทสเมเนีย ส่วนในรัฐเซาท์ออสเตรเลีย เจ้าหน้าที่ดับเพลิงยังคงต่อสู้กับไฟป่า ซึ่งได้เผาผลาญพื้นที่ป่าไปแล้วกว่า 3,700 เอเคอร์

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>จีนยอมรับเกาหลีเหนือทดลองนุกสร้างวิกฤติในภูมิภาค</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>13 ตุลาคม 2549 13:28 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. มีรายงานว่า ความพยายามของสหรัฐฯ ที่จะล็อบบี้จีนและรัสเซียให้ใช้มาตรการลงโทษเกาหลีเหนือซึ่งทดลองอาวุธนิวเคลียร์ใต้ดินไปแล้วเมื่อวันจันทร์ ยังคงดำเนินต่อไป ล่าสุด ดร.คานดาลีซซา ไรซ์ รัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐฯ แถลงต่อผู้สื่อข่าวหลังจากเจรจากับเอกอัครราชทูตจีน ว่า จีนเห็นด้วยว่าการทดลองนิวเคลียร์ของเกาหลีเหนือเป็นพัฒนาการที่วิกฤติยิ่งต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>[​IMG]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  13. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ประโยชน์และโทษของผักตบชวา

    [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=3 width="97%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top bgColor=#f2f2ff>
    ประวัติผักตบชวา

    ผักตบชวา เป็นพืชน้ำมีชื่อทางพฤกษาศาสตร์ ว่าEichhornia crassipes "จัดเป็นวัชพืชประเภทลอย น้ำมีความคงทนต่อดินฟ้าอากาศได้อย่างดีเยี่ยมมีดอก สีม่วงอ่อนงดงามคล้ายช่อดอกกล้วยไม้และแพร่พันธุ์เจริญ เติบโตได้อย่างรวดเร็ว
    ตามประวัติกล่าวว่า ผักตบชวาเริ่มเข้ามาในเมือง ไทยตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 คือในปีพ.ศ.2444โดยครั้งนั้นเจ้า นายฝ่ายในตามเสด็จประพาสที่ประเทศลาว (อินโดนีเซีย) ได้ เห็นพืชชนิดนี้ออกดอกสวยงามทั่วไปจึงได้แยกต้นกลับมาปลูก ในประเทศไทยและใส่อ่างดินเลี้ยงไว้หน้าสนามวังสระปทุม และเพิ่มจำนวนมากขึ้น จนกระทั่งน้ำท่วมวังสระปทุมทำให้ น้ำตบชวาล่องลอยกระจายไปตามแม่น้ำลำคลองทั่วไปและ แพร่พันธุ์จำนวนมากอันเป็นปัญหาอุปสรรคต่อการคมนาคม ทางน้ำ และการระบายน้ำทางชลประทาน

    ตั้งแต่นั้นมา คนไทยจึงมีความคุ้นเคยกับผักตบชวา จนทุกวันนี้ และนำผักตบชวาไปใช้ประโยชน์เป็นอาหารสัตว์ ทำปุ๋ย เพาะเห็ด ทำก๊าซหุงต้ม เยื่อกระดาษ ตลอดจนเป็น เส้นใยที่ใช้ทำหัตถกรรมเครื่องจักสานแต่มีข้อเสียคือเชื้อรา ติดขึ้นได้ง่าย ซึ่งป้องกันโดยวิธีใช้สารเคมีกำจัดเชื้อรา และ ระวังความชื้น


    ลักษณะทั่วไป :

    เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู มีลำต้นสั้นแตกใบเป็นกอลอยไปตามน้ำ มีไหล ซึ่งเกิดตามซอกใบแล้วเจริญเป็นต้นอ่อนที่ปลายไหล ถ้าน้ำตื้นก็จะหยั่งรากลงดิน เป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่หรือเกือบกลม ก้านใบกลมอวบน้ำตรงกลางพองออกภายในเป็นช่องอากาศคล้ายฟองน้ำ ดอกเกิดเป็นช่อที่ปลายยอดมีดอกย่อย 3-25 ดอก สีม่วงอ่อน มีกลีบดอก 6 กลีบ กลีบบนสุดขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น ๆ และมีจุดเหลืองที่กลางกลีบ

    ประโยชน์ของผักตบชวา เช่น ทำปุ๋ยหมัก อาหารหมู รวมทั้งผลิตภัณฑ์หัตถกรรม ประเภทเครื่องจักสาน ทำไวท์เป็นต้น
    โทษ ของผักตบชวา เป็นวัชพืชที่ดูรกรุงรัง และยังทำให้เกิดน้ำเสียและการไหลเวียนของน้ำไม่สะดวก

    </TD></TR><TR bgColor=#ffffff><TD width="3%"> ที่มา http://www.rakbankerd.com/agriculture/commerce/new_board01.html?id=3523</TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
  14. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    ความรู้เรื่องโรคที่อาจเกิดภายหลังน้ำท่วมและการป้องกัน

    อหิวาตกโรค<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    อหิวาตกโรค เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชนิดเฉียบพลันที่มีอาการเกิดขึ้นทันทีทันใด คือ ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำคราวละมาก ๆ โดยไม่มีอาการปวดท้อง บางครั้งอาจมีอาเจียนด้วย ทำให้ผู้ป่วยมีอาการขาดน้ำ ตาลึกโหล ริมฝีปากแห้ง ความดันโลหิตต่ำ ช็อก และเสียชีวิตได้ กรณีที่มีอาการท้องร่วง ให้รีบดื่มสารละลายน้ำตาลเกลือแร่ ORS โดยสามารถรับผงน้ำตาลเกลือแร่ได้ที่สถานบริการสาธารณสุข หรือ ซื้อได้ตามร้านขายยาทั่วไป หรือทำได้เอง โดยผสมน้ำตาล 1 ช้อนโต๊ะ กับเกลือ &frac12; ช้อนชา ละลายในน้ำต้มสุก 1 ขวดกลม (750 ซีซี.) และรีบไปพบแพทย์
    สถานการณ์หลังจากภัยคลื่นสึนามิ ถือว่ามีปัจจัยและสาเหตุสำคัญที่อาจทำให้เกิดอหิวาตกโรค เช่น การขาดแคลนอาหาร น้ำดื่มและน้ำใช้ที่สะอาด เนื่องจากระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานถูกทำลาย อีกทั้งน้ำทะเลได้ผสมกับบ่อน้ำจืด ทำให้มีสภาวะน้ำกร่อยซึ่งเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อ เกิดขึ้นในทุกพื้นที่ ซึ่งปีที่ผ่านมา พบการระบาดของอหิวาตกโรคเกิดขึ้นในจังหวัด</㾐ˈ꣔γ춬瘡䈠йⵐй>ภูเก็ต ตรัง และ สตูล จึงอาจมีโอกาสสูงที่จะเกิดการระบาดของโรคได้อีก
    การป้องกันอหิวาตกโรคที่สำคัญ คือ ประชาชนต้องเลือกรับประทานอาหาร น้ำที่ปลอดภัย และมีการรักษาความสะอาดที่ถูกต้อง กล่าวคือ ให้ล้างมือทุกครั้งก่อนรับประทานอาหาร ระหว่างการเตรียมอาหารและ หลังเข้าห้องน้ำ ทำความสะอาดฆ่าเชื้อพื้นผิวและอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบอาหาร ให้ปลอดจากแมลงและสัตว์ต่างๆ รวมไปถึงแยกอาหาร อุปกรณ์ภาชนะประกอบอาหาร เก็บอาหารที่ปรุงสุกแล้วออกจากอาหารสด ปรุงอาหารให้สุกทั่วถึง รวมทั้งเก็บอาหารในอุณหภูมิที่เหมาะสม ไม่ทิ้งอาหารที่ปรุงสุกแล้วไว้เกินกว่า 2 ชั่วโมง เก็บอาหารที่ปรุงแล้วและอาหารที่เน่าเสียได้ไว้ในตู้เย็น (อุณหภูมิต่ำกว่า 5 องศาเซลเซียส) อาหารที่ปรุงแล้วจะต้องนำไปอุ่น (ที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสขึ้นไป) ก่อนรับประทาน

     
  15. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    โรคหวัด

    โรคหวัด<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    โรคหวัดเป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลันที่ระบบหายใจส่วนต้น (จมูกและคอหอย) เกิดจากเชื้อไวรัส ทำให้มีอาการน้ำมูกใสหรือคัดจมูก จาม อาจมีตัวร้อนเล็กน้อย ต่อมามีอาการไอ อาการเป็นมากใน 1-2 วันแรก แล้วค่อยๆ ดีขึ้น จากนั้นน้ำมูกข้นขึ้นกลายเป็นสีขาวขุ่นหรือเขียวคล้ายหนอง อาจไอมากขึ้น 2-3 วัน ส่วนใหญ่อาการจะหายภายใน 2 สัปดาห์<o:p></o:p>
    สภาวะหลังภัยจากคลื่นสึนามิ ประชาชนในศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่อยู่กันอย่างแออัด มีโอกาสติดโรคได้ง่าย เนื่องจากสูดอากาศที่มีเชื้ออยู่เข้าไป หรือจากการคลุกคลีใกล้ชิดผู้ป่วย<o:p></o:p>
    ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคหวัดควรปฏิบัติตนคือ รับประทานอาหารตามปกติ ถ้าเบื่ออาหาร ให้รับประทานบ่อยๆ หลายมื้อแทน ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ พักผ่อนตามสมควร รักษาร่างกายให้อบอุ่น ถ้ามีไข้ให้เช็ดตัวและกินยาลดไข้ ถ้าไอให้ดื่มน้ำมากๆ หรือจิบน้ำผึ้งผสมมะนาว และทำความสะอาดไม่ให้น้ำมูกอุดตันในจมูก กรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงขึ้น เช่น หายใจเร็ว หอบ ควรไปพบแพทย์

     
  16. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    ไข้หวัดใหญ่
    ไข้หวัดใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส เป็นโรคที่พบเป็นสาเหตุอันดับแรก ๆ ของอาการไข้ที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย ส่วนมากจะพบในช่วงฤดูฝน (เดือนกรกฎาคม-ธันวามคม) ผู้ป่วยมีอาการดังต่อไปนี้อย่างทันทีทันใด คือไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เจ็บคอ น้ำมูกใส ไอแห้ง ๆ อาการแทรกซ้อนที่สำคัญได้แก่ ปอดอักเสบ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    สภาวะหลังภัยจากคลื่นสึนามิ ไข้หวัดใหญ่มีโอกาสระบาดในศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้ เนื่องจากสภาวะอากาศเย็น และประชาชนอยู่กันอย่างแออัด ผู้ที่มีความเสี่ยงจะป่วยรุนแรงและเสียชีวิตได้ ได้แก่ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคหัวใจ
    <o:p>การดูแลปฏิบัติตัว และรักษาตามอาการเหมือนไข้หวัด คือ นอนพักมากๆ ห้ามตรากตรำงานหนัก ห้ามอาบน้ำเย็น ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัว เวลามีไข้สูงรับประทานอาหารอ่อน ดื่มน้ำและน้ำหวาน หรือน้ำผลไม้มากๆ ให้ยาลดไข้แก้ปวด (ในเด็กควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน) ยาแก้ไอ เป็นต้น ถ้ามีอาการหอบ โดยเฉพาะถ้าพบในคนสูงอายุหรือเด็กเล็ก ควรรีบไปพบแพ</o:p>ทย์

     
  17. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    ความรู้เรื่องโรคที่อาจเกิดภายหลังน้ำท่วมและการป้องกัน

    <TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="50%">โรคปอดบวม<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    โรคปอดบวม เกิดได้จากเชื้อหลายชนิด เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส หรือสำลักสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในปอด ทำให้มีการอักเสบของปอด โดยผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูง ไอและหายใจหอบ ในเด็กเล็กอาจมีอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเดิน อาเจียนกระสับกระส่าย หรือชัก<o:p></o:p>
    ผู้ที่ประสบภัยจากคลื่นสึนามิ หากมีการสำลักน้ำทะเลเข้าไปในปอด ก็มีโอกาสที่จะเกิดโรคปอดบวมขึ้นได้ นอกจากนี้การที่ประชาชนอาศัยอยู่กันอย่างแออัด ประกอบกับสภาวะอากาศ อาจทำให้มีโอกาสเป็นโรคปอดบวมได้ง่ายขึ้น<o:p></o:p>
    การป้องกันโรค ได้แก่ พักผ่อนตามสมควร รักษาร่างกายให้อบอุ่น ถ้ามีไข้ให้เช็ดตัวและกินยาลดไข้ ถ้าไอให้ดื่มน้ำมากๆ หรือจิบน้ำผึ้งผสมมะนาว หากเริ่มมีอาการข้างต้น ควรรีบไปพบแพทย์


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="80%">โรคหัด<o:p></o:p>
    เป็นโรคที่มักเป็นกับเด็กเล็ก 9 เดือนถึง 6 ปี ติดต่อโดยทางหายใจ น้ำลายที่ออกจากปาก คอ อาการนำเริ่มต้นด้วยเด็กจะมีอาการงอแง กระสับกระส่าย ปวดตามตัว น้ำมูกไหล ตาจะแดงและแพ้แสง ไอแห้งๆ มีอาการไข้สูง หลังมีไข้ 3-4 วันจะไอมากขึ้น มีผื่นโดยผื่นขึ้นหน้าผาก และลามไปที่หน้า คอ และลำตัว เมื่อผื่นขึ้นอาการปวดเมื่อยจะดีขึ้น ไข้จะค่อยๆ ลง ผื่นจะใช้เวลา 3 วันลามจากศีรษะถึงขา และจะเริ่มจางที่ศีรษะก่อน ผื่นจะจางใน 7-10 วัน เหลือรอยดำ โดยทั่วไปโรคจะหายใน 10-14 วัน นับจากตั้งแต่เริ่มมีอาการวันแรก และสามารถไปโรงเรียนหรือทำงานได้หลังจากไข้ลง หรือผื่นหายไปแล้ว 7 วัน<o:p></o:p>
    ในสภาวการณ์ที่เด็กอยู่ร่วมกันมาก มีโอกาสสูงที่จะเกิดการระบาดของโรค เราสามารถป้องกันได้โดยการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัด ซึ่งโดยปกติจะมีการฉีดให้ในเด็กตามเกณฑ์อายุ แต่หากเด็กไม่ได้รับการฉีดวัคซีนหรือประวัติการฉีดวัคซีนไม่แน่ชัด ก็จำเป็นต้องมีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคหัดนี้แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 5 ปี

    </TD><TD width="20%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="15%"> </TD><TD width="50%">โรคตาแดง <o:p></o:p>
    เกิดจากการอักเสบของเยื่อบุตา จากการติดเชื้อไวรัส ส่วนใหญ่จะติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสน้ำตาของผู้ป่วย ที่ติดมากับนิ้วมือ และแพร่จากนิ้วมือมาติดที่ตาโดยตรง ไม่ติดต่อทางการสบสายตา ทางอากาศ หรือทางรับประทานอาหารร่วมกัน <o:p></o:p>
    ผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส จะมีอาการตาแดง เคืองตา ตาขาวจะมีสีแดงเรื่อๆ น้ำตาไหล เจ็บตา มักจะมีขี้ตามากร่วมด้วย ต่อมน้ำเหลืองหลังหูมักเจ็บ และบวม มักเป็นที่ตาข้างใดข้างหนึ่งก่อน แล้วจะติดต่อมายังตาอีกข้างได้<o:p></o:p>
    การป้องกันโรค สามารถทำได้โดยล้างมือด้วยน้ำและสบู่ให้สะอาดอยู่เสมอ ไม่คลุกคลีใกล้ชิด หรือใช้สิ่งของส่วนตัว ร่วมกับผู้ป่วยตาแดง ถ้ามีฝุ่นละออง หรือน้ำสกปรกเข้าตา ควรล้างตาด้วยน้ำสะอาดทันที อย่าปล่อยให้แมลงหวี่ หรือแมลงวันตอมตา หมั่นดูแลรักษาความสะอาดของร่างกาย สิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ผ้าเช็ดตัว ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน ให้สะอาดอยู่เสมอ ผู้ป่วยโรคตาแดงควรหยุดเรียนหรือหยุดงานรักษาตัวอยู่ที่บ้าน เพื่อป้องกันไม่ให้โรคตาแดงลุกลาม หรือติดต่อสู่ผู้อื่น

    แหล่งข้อมูล


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    http://www-ddc.moph.go.th/after_flood_disease.html
     
  18. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    โรคติดต่อนำโดยแมลงที่สำคัญ

    <TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="80%">โรคติดต่อนำโดยแมลงที่สำคัญ<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    </TD><TD width="20%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="80%">โรคไข้มาลาเรีย<o:p></o:p>
    เกิดจากเชื้อโปรโตซัวชนิดพลาสโมเดียม ติดต่อโดยยุงพาหะคือยุงก้นปล่องนำเชื้อมากัด ยุงในประเทศไทยที่เป็นพาหะหลักพบได้ในพื้นที่ป่าเขาที่มีแหล่งน้ำจืดตามธรรมชาติ มักเข้ากัดคนในเวลากลางคืน หลังจากได้รับเชื้อแล้ว 7-10 วันจะเริ่มมีอาการไข้ ปวดศีรษะ หรือเป็นไข้จับสั่นซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ และอาจเจ็บป่วยถึงชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสมทันท่วงที<o:p></o:p>
    ความเสี่ยงต่อไข้มาลาเรียในพื้นที่ 6 จังหวัดชายฝั่งภาคใต้ที่ได้รับผลกระทบของคลื่นสึนามิ พื้นที่ชายฝั่งติดหรือใกล้กับทะเลไม่มีความเสี่ยง ยกเว้นบริเวณป่าเขาลึกเข้าไปในบางพื้นที่ของจังหวัดระนอง พังงาและกระบี่มีความเสี่ยงต่อไข้มาลาเรียได้บ้าง เนื่องจากยังมียุงพาหะโดยเฉพาะอย่างยิ่งจุดที่มีแรงงานต่างด้าวซึ่งป่วยเป็นไข้มาลาเรียอาศัยอยู่ การอพยพเคลี่อนย้ายของประชาชนไปสู่พื้นที่ป่าเขาลึกเข้าไปในแผ่นดินซึ่งเคยมีการพบผู้ป่วยมาลาเรียเช่น อุทยานแห่งชาติเขาสก จังหวัดสุราษฏ์รธานี อาจต้องเตรียมการป้องกันควบคุมโรคล่วงหน้า โดยเฉพาะการป้องกันตนเองโดยให้ประชาชนใช้มุ้งกางนอน


    </TD><TD width="20%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="15%"> </TD><TD width="50%">โรคไข้เลือดออก<o:p></o:p>
    มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ยุงตัวเมียออกหากินเวลากลางวันและดูดเลือดคนเป็นอาหาร ยุงลายบ้านเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ ยุงลายบ้านเพาะพันธุ์ในภาชนะขังน้ำต่างๆ เช่น โอ่งน้ำดื่มและน้ำใช้ จานรองขาตู้กันมด ไห ถังน้ำมัน แจกัน ยางรถยนต์เก่า เป็นต้น ส่วนยุงลายสวนจะพบในแหล่งที่มีน้ำขังตามธรรมชาติ เช่น โพรงไม้ กาบใบของพืชหลายชนิด (กล้วย พลับพลึง บอน ฯลฯ) กระบอกไม้ไผ่ที่มีน้ำขัง รวมทั้งกะลามะพร้าว ถ้วยรองน้ำยางพารา เป็นต้น<o:p></o:p>
    พื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากคลื่นสึนามิ จะมีซากปรักหักพังของบ้านเรือนและอาคาร ตลอดจนเศษวัสดุและขยะแห้งจำนวนมาก ซึ่งหากมีน้ำจืดหรือน้ำฝนขังอยู่ จะกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายบ้านได้ สำหรับโพรงไม้และโพรงหินที่มีน้ำจืด ก็อาจมียุงลายสวนไปวางไข่ไว้ ควรทยอยเก็บทำลายเศษวัสดุ และในขณะเดียวกันควรประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประสบภัยที่อาศัยอยู่ ณ ที่พักพิงชั่วคราว ช่วยกันรักษาความสะอาดของสิ่งแวดล้อม ไม่ทิ้งขยะเกลื่อนกลาด และป้องกันตนเองอย่าให้ถูกยุงลายกัด หากมีไข้สูง แต่ไม่มีอาการของหวัด (ไม่ไอ ไม่มีน้ำมูก) ให้รีบไปพบแพทย์ ถ้าจำเป็นต้องรับประทานยาลดไข้ ให้รับประทานยาพาราเซตามอล การป้องกันและควบคุมโรคเฉพาะหน้าในพื้นที่เริ่มมีปัญหา คือการพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย และควรทำควบคู่ไปกับการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในระยะยาว


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="80%">ข้อแนะนำในการปฏิบัติและป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากยุง<o:p></o:p>

    • <LI class="" style="TEXT-JUSTIFY: inter-cluster; MARGIN: 0in 0in 0pt; COLOR: red; TEXT-ALIGN: justify; mso-list: l0 level1 lfo1; tab-stops: list .5in">เร่งกำจัด เก็บกวาดขยะ ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง<o:p></o:p> <LI class=MsoNormal style="TEXT-JUSTIFY: inter-cluster; MARGIN: 0in 0in 0pt; COLOR: red; TEXT-ALIGN: justify; mso-list: l0 level1 lfo1; tab-stops: list .5in">ป้องกันตนเองจากการถูกยุงกัด โดยนอนในมุ้ง ทายากันยุง<o:p></o:p>
    • กรณีมีไข้ หากอาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าเขาให้คิดถึงไข้มาลาเรียและรีบพบแพทย์เพื่อตรวจรักษา<o:p></o:p>

    </TD><TD width="20%"></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD width="15%"> </TD><TD width="50%">
    [B][FONT=Tahoma][SIZE=4][COLOR=#9400d3]แมลงและสัตว์พาหะนำโรคที่อาจเป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ประสบภัย[/COLOR][/SIZE][/FONT][/B][B][FONT=Tahoma]<o:p></o:p>[/FONT][/B]​
    <o:p> </o:p>
    <TABLE class=MsoTableGrid cellSpacing=0 cellPadding=0 width=631 border=1><TBODY><TR style="mso-yfti-irow: 0; mso-yfti-firstrow: yes"><TD vAlign=center align=middle width=130 bgColor=#9370db>
    ชนิดแมลง/สัตว์<o:p></o:p>
    </TD><TD vAlign=top width=189 bgColor=#9370db>
    โรค/ปัญหาสาธารณสุข<o:p></o:p>
    </TD><TD vAlign=center align=middle width=312 bgColor=#9370db>
    การป้องกันและควบคุมโรค<o:p></o:p>
    </TD></TR><TR style="mso-yfti-irow: 1; mso-yfti-lastrow: yes"><TD vAlign=top width=130> ยุงชนิดต่างๆ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    แมลงวัน<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    แมลงสาบ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    ริ้นน้ำเค็ม<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    แมลงหวี่<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เหา<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    เรือด<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    เห็บ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    หมัดจากหนู/
    สัตว์ฟันแทะ<o:p></o:p>

    </TD><TD vAlign=top width=189> มาลาเรีย ไข้เลือดออก
    ไข้สมองอักเสบ เท้าช้าง
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    โรคอุจจาระร่วง บิด ตาแดง
    ไทฟอยด์ ริดสีดวงตา
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    โรคอุจจาระร่วง บิด อหิวาต์
    โรคติดเชื้อซัลโมเนลลา
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    กัดเจ็บ ผิวหนังอักเสบจากการเกา<o:p></o:p>
    ก่อความรำคาญ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ก่อความรำคาญ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ไข้รากสาดใหญ่ ไข้กลับซ้ำ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    กัดดูดเลือด ผิวหนังอักเสบ
    จากการเกา<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ไข้จากเชื้อ ริคเกตเซีย ไข้กลับซ้ำ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    สครับไทฟัส โรคฉี่หนู
    โรคติดเชื้อซัลโมเนลลา<o:p></o:p>

    </TD><TD vAlign=top width=312>&sect; นอนในมุ้ง ทายากันยุงกัด ควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; ล้างมือ รับประทานอาหารสะอาด ปรุงสุกใหม่ๆ
    ดื่มน้ำสะอาด
    <o:p></o:p>
    &sect; ปกปิดอาหารและภาชนะไม่ให้แมลงวันตอม
    กำจัดขยะมูลฝอย
    <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; รักษาความสะอาดโดยเฉพาะห้องครัว พื้นที่ประกอบอาหาร<o:p></o:p>
    &sect; ปกปิดถังขยะและกำจัดขยะมูลฝอย<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; นอนในมุ้ง ทาสารไล่แมลง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; ปกปิดอาหารไม่ให้แมลงหวี่มาตอม<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; รักษาอนามัยส่วนบุคคล <o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; รักษาอนามัยส่วนบุคคล เตียงนอน ที่นอน ฯลฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; รักษาอนามัยส่วนบุคคล ทาสารไล่แมลง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    &sect; ปกปิดถังขยะและกำจัดขยะมูลฝอย เศษอาหาร กำจัดหนู<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=3 cellPadding=0 width="92%" border=0><TBODY><TR><TD height=0>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www-ddc.moph.go.th/after_flood_disease.html
     
  19. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ก๊าซชีวภาพ (Biogas)

    ส่วนใหญ่ คือ ก๊าซมีเทนที่ได้จากการหมักมูลสัตว์หรือของเสียจากโรงเลี้ยงสัตว์ เช่น สุกร โค กระบือ โดยรวบรวมของเสียเหล่านี้ใส่ในถังหมักที่มีเชื้อจุลินทรีย์ เมื่อทิ้งไว้ให้เกิดปฏิกิริยาในที่ไม่มีอากาศ จุลินทรีย์จะใช้สารอินทรีย์ในของเสียและเกิดก๊าซมีเทนขึ้น ก๊าซมีเทนสามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในการปรุงอาหารและกระบวนการอื่นๆ ที่ต้องการใช้ความร้อน ส่วนของเหลือจากถังหมักเมื่อสะสมมากๆ ยังนำไปใช้เป็นปุ๋ยได้อีกด้วย ปัจจุบันครอบครัวตามชนบทสามารถผลิตเชื้อเพลิงแบบนี้ใช้ได้เอง โดยก๊าซชีวภาพ 1 ลูกบาศก์เมตรมีค่าความร้อน 21.5 MJ หรือเท่ากับค่าความร้อนของก๊าซหุงต้ม (Liquefied Petroleum Gas : LPG) 0.46 กก. หรือไฟฟ้า 1.2 kWh และถ่าน 1.6 กก.

    -----------------------------------------------------------------------​

    อยากได้แบบการทำ เตา ก๊าซชีวภาพ ภายในครัวเรือน อยากเช่นการหมักพืชผักหรือเศษหญ้าให้เป็น LPG .ใช้ในครัวเรือน เพื่อจะได้เผยแพร่ ขอบคุณท่านผู้รู้ครับ

    โดย: Mr.A [​IMG] [IP: 203.114.123.90,,]
    วันที่ 21 ส.ค. 2549 - 10:07:10

    -----------------------------------------------------------------------

    มีหลายหน่วยงานที่ทำงานเกี่ยวกับไบโอแก้ส การส่งเสริมรู้สึกว่าจะประสบความสำเร็จมากกว่าเชื้อเพลิงชนิดอื่น ๆ ผมเคยเห็นแบบก่อสร้างอยู่หลายแบบจะลองค้นให้อีกที ดูตรงนี้ไปพลาง ๆ ก่อน ครับ

    http://www.re-energy.ca/t-i_biomassbuild-1.shtml
    http://www.ees.adelaide.edu.au/pharris/biogas/beginners.html
    โดย: thawankesmala [​IMG] [IP: 202.12.97.118,10.210.1.7,]
    วันที่ 5 ก.ย. 2549 - 11:25:11

    http://www.vcharkarn.com/include/ar...=2&PHPSESSID=dd4a13852c9f268a33d8efbd259623ee


    Biogas Generator<!/p>
    <!p>Basic Principles

    What Is Biogas?
    <!-- start of padded image table --><TABLE cellPadding=10 align=left bgColor=#000000 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=83 align=center bgColor=#ff0000 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000>[FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]A microscope photo of the methane-producing bacteria.[/FONT][FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--end of image table-->Biogas is actually a mixture of gases, usually carbon dioxide and methane. It is produced by a few kinds of microorganisms, usually when air or oxygen is absent. (The absence of oxygen is called "anaerobic conditions.") Animals that eat a lot of plant material, particularly grazing animals such as cattle, produce large amounts of biogas. The biogas is produced not by the cows themselves, but by billions of microorganisms living in their digestive systems. Biogas also develops in bogs and at the bottom of lakes, where decaying organic matter builds up under wet and anaerobic conditions.
    <!--p>[CP-3A: Methanogens. Caption: A microscope photo of the methane-producing bacteria. Source:???. Credit line: ???.]</p--><!-- start of padded image table --><TABLE cellPadding=10 width=210 align=right bgColor=#000000 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 bgColor=#ff0000 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000>[FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]Plant-eating animals such as bison release large amounts of biogas to the atmosphere.[/FONT][FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--end of image table-->
    Besides being able to live without oxygen, methane-producing microorganisms have another special feature: They are among the very few creatures that can digest cellulose, the main ingredient of plant fibres. Another special feature of these organisms is that they are very sensitive to conditions in their environment, such as temperature, acidity, the amount of water, etc.
    <!--p>[CP-3B: Elephant. Caption: Plant-eating animals such as elephants release large amounts of biogas to the atmosphere. Credit line: none.]</p-->Biogas is a Form of Renewable Energy
    Flammable biogas can be collected using a simple tank, as shown here. Animal manure is stored in a closed tank where the gas accumulates. It makes an excellent fuel for cook stoves and furnaces, and can be used in place of regular natural gas, which is a fossil fuel.
    <!--p>[CP-3C: Carbon cycle biogas. Caption: Biogas is a form of renewable energy, because it is produced with the help of growing plants. Credit line: None.]</p--><!-- start of padded image table --><TABLE cellPadding=10 align=right bgColor=#000000 border=0 !align="left"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=300 bgColor=#ff0000 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000>[FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]Biogas is a form of renewable energy, because it is produced with the help of growing plants.[/FONT][FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--end of image table-->
    Biogas is considered to be a source of renewable energy. This is because the production of biogas depends on the supply of grass, which usually grows back each year. By comparison, the natural gas used in most of our homes is not considered a form of renewable energy. Natural gas formed from the fossilized remains of plants and animals-a process that took millions of years. These resources do not "grow back" in a time scale that is meaningful for humans.
    Biogas is Not New
    People have been using biogas for over 200 years. In the days before electricity, biogas was drawn from the underground sewer pipes in London and burned in street lamps, which were known as "gaslights." In many parts of the world, biogas is used to heat and light homes, to cook, and even to fuel buses. It is collected from large-scale sources such as landfills and pig barns, and through small domestic or community systems in many villages.
    For more information about biogas, read the backgrounder entitled Biomass Energy.
    Safety Precautions
    The main hazards in this activity are from sharp tools such as tubing cutters and scissors. Exercise caution while using any tool. There is no risk of explosion due to the leakage of methane because the gas develops so slowly that it dissipates long before it can reach flammable concentrations in room air. Exercise the normal precautions in the use of Bunsen burners: keep hair and clothing away from the burner while it is lit.

    Build It!

    (Click to continue to the construction plans)
    Test It!
    <!-- start of padded image table --><TABLE cellPadding=10 align=left bgColor=#000000 border=0 !align="right"><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=1 width=83 bgColor=#ff0000 border=0 !align="right"><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#000000>[FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]Use caution when testing the biogas.[/FONT][FONT=Arial, Helvetica, sans-serif]
    [/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!--end of image table-->
    For the first few weeks, your biogas generator will produce mainly carbon dioxide. When the aerobic bacteria use up all the oxygen inside the bottle, the anaerobic bacteria, which make methane, can take over. It can take up to a month for the generator to start making biogas with enough methane to be flammable.
    When gas begins to accumulate in the balloon, test it by attempting to light the Bunsen burner:
    <!--p>[CP-3M: Testing biogas. Caption: Use caution when testing the biogas.]</p-->
    1. First, open the clamp or valve so that biogas can flow back from the balloon to the Bunsen burner.
    2. Have a friend squeeze the Mylar balloon gently while you attempt to light the Bunsen burner with a match or spark igniter.
    3. If your Bunsen burner ignites, your biogas generator is a success!
    http://www.re-energy.ca/t-i_biomassbuild-1.shtml
     
  20. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    [​IMG]
    ๑. วัตถุดิบ


    <DD>ใน<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิงแข็ง<WBR>นอก<WBR>จาก<WBR>จะ<WBR>ใช้<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>แล้ว<WBR>ยัง<WBR>ใช้<WBR>แกลบ<WBR>ผสม<WBR>ใน<WBR>อัตรา<WBR>ส่วน<WBR>ต่างๆกัน<WBR>ด้วย<WBR>เพื่อ<WBR>ให้<WBR>สาร<WBR>ลิกนิน<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>ส่วน<WBR>ประกอบ<WBR>หนึ่ง<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>แกลบ<WBR>ได้<WBR>รับ<WBR>ความร้อน<WBR>จาก<WBR>กระบวน<WBR>การ<WBR>อัด<WBR>สลาย<WBR>ตัว<WBR>ออก<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>ประสาน<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>แข็ง<WBR>แรง<WBR>ขึ้น<WBR>ไม่<WBR>เปราะ<WBR>หรือ<WBR>แตก<WBR>ได้<WBR>ง่าย

    ๑.๑ การเตรียมวัตถุดิบ

    <DD>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ที่<WBR>ใช้<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ทด<WBR>ลอง<WBR>ผลิต<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>รวบ<WBR>รวม<WBR>จาก<WBR>แหล่ง<WBR>น้ำ<WBR>ริม<WBR>ถนน<WBR>รัช<WBR>ดาภิเษก เขต<WBR>อำเภอ<WBR>บาง<WBR>กะปิ กรุง<WBR>เทพ<WBR>มหานคร<WBR>ใน<WBR>เนื้อ<WBR>ที่<WBR>ประมาณ ๑๐ ตา<WBR>ราง<WBR>เมตร<WBR>ได้<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>สด ทั้ง<WBR>สิ้น<WBR>ประมาณ ๗๑๕ กิโลกรัม <DD>นำ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ที่<WBR>รวบ<WBR>รวม<WBR>ได้<WBR>มา<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>สับ<WBR>ให้<WBR>มี<WBR>ขนาด<WBR>ยาว<WBR>ประมาณ ๐.๕-๑.๕ เซนติเมตร<WBR>จาก<WBR>นั้น<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>สุ่ม<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>เพื่อ<WBR>นำ<WBR>ไป<WBR>วิเคราะห์<WBR>หา<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>พบ<WBR>ว่า<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>สด<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>โดย<WBR>เฉลี่ย ๙๓.๑%<WBR>จาก<WBR>นั้น<WBR>นำ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ส่วน<WBR>ที่<WBR>ย่อย<WBR>ขนาด<WBR>แล้ว<WBR>ไป<WBR>ผึ่ง<WBR>แดด<WBR>บน<WBR>ลาน<WBR>ซีเมนต์<WBR>เพื่อ<WBR>ให้<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ลด<WBR>ลง<WBR>เหลือ<WBR>ประมาณ ๘-๑๐ %<WBR>ซึ่ง<WBR>เป็น<WBR>ช่วง<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ที่<WBR>เหมาะ<WBR>สม<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>อัด<WBR>เป็น<WBR>แท่ง <DD>สำหรับ<WBR>ระยะ<WBR>เวลา<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ตาก<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ให้<WBR>แห้ง<WBR>ตาม<WBR>ต้อง<WBR>การ<WBR>นั้น ขึ้น<WBR>อยู่กับขนาด<WBR>ของ<WBR>ลำ<WBR>ต้น<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา อุณหภูมิ <WBR>และ<WBR>ความ<WBR>หนา<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ตาก ที่<WBR>อุณหภูมิ<WBR>เฉลี่ย<WBR> ๓๕ <WBR>องศาเซลเซียส<WBR>ระยะ<WBR>เวลา<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ตาก<WBR>วัน<WBR>ละ ๗ ชั่ว<WBR>โมง<WBR>ต้อง<WBR>ใช้<WBR>เวลา<WBR>ประมาณ ๖ วัน<WBR>จึง<WBR>จะ<WBR>ได้<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ตาม<WBR>ต้องการ <DD>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>อยู่<WBR>ใน<WBR>เกณฑ์<WBR>ที่<WBR>กำหนด<WBR>ได้<WBR>ถูก<WBR>นำ<WBR>ไป<WBR>ย่อย<WBR>ขนาด<WBR>อีก<WBR>ครั้ง<WBR>หนึ่ง<WBR>โดย<WBR>ใช้<WBR>แฮมเมอร์มิลล์ (Hammer mill) เพื่อ<WBR>ให้<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>มี<WBR>ขนาด<WBR>ใกล้<WBR>เคียงกับแกลบ<WBR>คือ<WBR>ประมาณ ๑ เซนติเมตร<WBR>ทั้ง<WBR>นี้<WBR>เพื่อ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>การ<WBR>ผสม<WBR>กัน<WBR>ระหว่าง<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>และ<WBR>แกลบ<WBR>รวม<WBR>กัน<WBR>ดี<WBR>ขึ้น<WBR>และ<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>อัด<WBR>แท่ง<WBR>ได้<WBR>สะดวก<WBR>นำ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ขนาด<WBR>ตาม<WBR>ต้อง<WBR>การ<WBR>ผสมกับแกลบ<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ใกล้<WBR>เคียง<WBR>กัน<WBR>ที่<WBR>อัตรา<WBR>ส่วน<WBR>ผสม ๗๕:๒๕, ๕๐:๕๐, และ ๒๕:๗๕<WBR>แล้ว<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>สุ่ม<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ต่างๆ<WBR>รวม<WBR>ทั้ง<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>และ<WBR>แกลบ<WBR>ก่อน<WBR>การ<WBR>ผสม<WBR>จาก<WBR>นั้น<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>วิเคราะห์<WBR>หา<WBR>คุณสมบัติ<WBR>ด้าน<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>ของ<WBR>ตัว<WBR>อย่าง<WBR>ทั้ง ๕ ที่<WBR>ได้<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>สุ่ม<WBR>ดัง<WBR>กล่าว<WBR>แล้ว


    ๑.๒ คุณสมบัติด้านเชื้อเพลิงของผักตบชวา

    <DD>คุณสมบัติ<WBR>ด้าน<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>ของ<WBR>ผักตบชวา<WBR>ที่<WBR>ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>และ<WBR>แกลบ<WBR>ต่างๆกัน พบ<WBR>ว่า<WBR>สาร<WBR>ระเหย<WBR>มี<WBR>ค่า<WBR>อยู่<WBR>ระหว่าง ๕๔.๔-๕๘.๙ %<WBR>ใน<WBR>ระหว่าง<WBR>ค่า<WBR>ความชื้น ๘.๗-๙.๖%<WBR>กำมะถัน<WBR>ใน<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>สูง<WBR>ถึง ๑.๒%<WBR>เมื่อ<WBR>เทียบกับแกลบ<WBR>มี<WBR>เพียง ๐.๔%<WBR>สำหรับ<WBR>ค่า<WBR>ความ<WBR>ร้อน<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>และ<WBR>แกลบ<WBR>มี<WBR>ค่า<WBR>ใกล้<WBR>เคียง<WBR>กัน<WBR>คือ ๓,๐๑๐และ<WBR><WBR>๓,๑๒๐ กิโลแคลอรี่<WBR><WBR>/กิโลกรัม<WBR>ตาม<WBR>ลำ<WBR>ดับ


    ๒. กรรม<WBR>วิธี<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง

    <DD>ใน<WBR>การ<WBR>อัด ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>และ<WBR>แกลบ<WBR>จะ<WBR>ถูก<WBR>บรรจุ<WBR>ลง<WBR>ใน<WBR>ถัง<WBR>ป้อน<WBR>ที่<WBR>ติด<WBR>ตั้ง<WBR>อยู่<WBR>เหนือ<WBR>กระบอก<WBR>อัด<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>ยาว ๒๘.๕ ซม.<WBR>ภายใ<WBR>นก<WBR>ระ<WBR>บอก<WBR>อัด<WBR>มี<WBR>สก<WBR>รู<WBR>ชนิด<WBR>เกรียว<WBR>ตัว<WBR>หนอน ซึ่ง<WBR>หมุน<WBR>ด้วย<WBR>ความ<WBR>เร็ว<WBR>ประมาณ ๒๕๐ รอบ<WBR><WBR>/นาที<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ขับ<WBR>เคลื่อน<WBR>ใช้<WBR>มอเตอร์<WBR>ไฟ<WBR>ฟ้า ๓ สาย<WBR>ขนาด ๑๕ แรงม้า ความ<WBR>เร็ว ๑,๔๕๐ รอบ<WBR><WBR>/นาที<WBR>ที่<WBR>ปลาย<WBR>กระบอก<WBR>อัด<WBR>มี<WBR>แผ่น<WBR>ความ<WBR>ร้อน<WBR>ขนาด ๐.๘ กิโล<WBR>วัตต์ ๓ ตัว<WBR>เรียง<WBR>กัน<WBR>อยู่<WBR>ทำ<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>ให้<WBR>ความ<WBR>ร้อนกับผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>หรือ<WBR>แกลบ<WBR>ที่<WBR>ถูก<WBR>อัด<WBR>ผ่าน<WBR>กระบอก<WBR>อัด<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>ที่<WBR>อัด<WBR>ได้<WBR>จะ<WBR>ค่อยๆเคลื่อน<WBR>ผ่าน<WBR>ปลาย<WBR>กระบอก<WBR>อัด<WBR>ไป<WBR>ตาม<WBR>ราง<WBR>เหล็ก<WBR>และ<WBR>ถูก<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>หัก<WBR>โดย<WBR>เหล็ก<WBR>ที่<WBR>งอ<WBR>โค้ง<WBR>อยู่<WBR>ปลาย<WBR>ราง<WBR>เหล็กคุณสมบัติ<WBR>ด้าน<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ที่<WBR>ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>และ<WBR>แกลบ<WBR>ต่าง ๆ เป็น<WBR>ค่า<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ที่<WBR>หลัง<WBR>จาก<WBR>การ<WBR>ผึ่ง<WBR>แดด<WBR>แล้ว<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>ที่<WBR>อัด<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ลักษณะ<WBR>เป็น<WBR>แท่ง<WBR>รูป<WBR>ทรง<WBR>กระบอก<WBR>ยาว<WBR>ประมาณ ๕๐ ซม.<WBR>มีรู<WBR>กลวง<WBR>ตาม<WBR>แนว<WBR>กลาง<WBR>แท่ง<WBR>ขนาด<WBR>เส้น<WBR>ผ่า<WBR>ศูนย์<WBR>กลาง ๒.๐ ซม. และ<WBR>มี<WBR>สัน<WBR>นูน<WBR>ตาม<WBR>ยาว<WBR>แท่ง ๕ สัน น้ำ<WBR>หนัก<WBR>ประมาณ<WBR> ๑.๒-๑.๔ กิโลกรัม<WBR><WBR>/แท่ง


    ๓. ผลของการผลิตแท่งเชื้อเพลิงแข็ง
    </DD>
    <DD>ผล<WBR>ของ<WBR>การ<WBR>ทด<WBR>ลอง<WBR>ผลิต<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>จาก<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา พบ<WBR>ว่า<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>ควร<WBR>ใช้<WBR>แกลบ<WBR>เป็น<WBR>ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ด้วย<WBR>จะ<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>ที่<WBR>ผลิต<WBR>ได้<WBR>มี<WBR>ความ<WBR>หนา<WBR>แน่น<WBR>เพิ่ม<WBR>ขึ้น<WBR>หรือ<WBR>ช่วย<WBR>เพิ่ม<WBR>ความ<WBR>แข็ง<WBR>ให้<WBR>แก่<WBR><WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง อีก<WBR>ทั้ง<WBR>ยัง<WBR>ช่วย<WBR>เพิ่ม<WBR>ค่า<WBR>ความ<WBR>ร้อน<WBR>อีก<WBR>ด้วย<WBR>อย่าง<WBR>ไร<WBR>ก็<WBR>ตาม อัตรา<WBR>ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ของ<WBR>แกลบ<WBR>ไม่<WBR>ควร<WBR>เกิน<WBR>ร้อย<WBR>ละ ๕๐<WBR> นอก<WBR>จาก<WBR>นี้<WBR>ยัง<WBR>พบ<WBR>อีก<WBR>ว่า<WBR>การผสม<WBR>แกลบ<WBR>ใน<WBR>อัตรา<WBR>ส่วน<WBR>ร้อยละ<WBR> ๒๕ มี<WBR>ความ<WBR>เหมาะ<WBR>สม<WBR>มาก<WBR>ที่<WBR>สุด<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>ที่<WBR>อัตรา<WBR>ส่วน<WBR>ผสม<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>มาก<WBR>กว่า<WBR>ร้อย<WBR>ละ ๗๕ ทำ<WBR>ให้<WBR>ความยาว<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อเพลิงแข็ง<WBR>สั้น<WBR>กว่า<WBR>ที่<WBR>กำหนด<WBR>ไว้ เนื่อง<WBR>จาก<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>หัก<WBR>ก่อน<WBR>ที่<WBR>จะ<WBR>ชนกับเหล็ก<WBR>ฉาก<WBR>ที่<WBR>ติด<WBR>ตั้ง<WBR>ไว้<WBR>สำหรับ<WBR>หัก<WBR>ท่อน<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>ซึ่ง<WBR>ทำ<WBR>หน้า<WBR>ที่<WBR>เป็น<WBR>ตัว<WBR>กำหนด<WBR>ความ<WBR>ยาว<WBR>ของ<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อเพลิง<WBR>ด้วย

    [FONT=BrowalliaUPC,angsanaupc,eucrosiaupc]๔. การออกแบบและจัดสร้างเครื่องบีบน้ำและเครื่องย่อยขนาดผักตบชวา
    <DD>ตาม<WBR>ที่<WBR>ได้<WBR>กล่าว<WBR>แล้ว<WBR>คือ<WBR>ความ<WBR>ชื้น<WBR>ที่<WBR>สูง<WBR>มาก<WBR>และ<WBR>ขนาด<WBR>ที่<WBR>ค่อน<WBR>ข้าง<WBR>ยาว<WBR>ของ<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>เป็น<WBR>ปัญหา<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>โดย<WBR>ใช้เครื่องอัด<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>ที่<WBR>มี<WBR>อยู่เดิมเพราะ<WBR>ต้อง<WBR>เพิ่ม<WBR>ขั้น<WBR>ตอน<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>เตรียม<WBR>วัตถุ<WBR><WBR>ดิบ<WBR>ก่อน<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>อัด เช่น ต้อง<WBR>ใช้<WBR>คน<WBR>สับ<WBR>เป็น<WBR>จำนวน<WBR>มาก<WBR>และ<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>ผึ่ง<WBR>แดด<WBR>นาน<WBR>ถึง ๖ วัน<WBR>จึง<WBR>ทำ<WBR>ให้<WBR>ต้น<WBR>ทุน<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>ผลิต<WBR>แท่ง<WBR>เชื้อ<WBR>เพลิง<WBR>แข็ง<WBR>จาก<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>ต้อง<WBR>สูง<WBR>ตาม<WBR>ขึ้น<WBR>ไป<WBR>ด้วย ดัง<WBR>นั้น<WBR>สาขา<WBR>วิจัย<WBR>อุตสาหกรรม<WBR>การ<WBR>พลัง<WBR>งาน<WBR>สถาบัน<WBR>วิจัย<WBR>วิทยา<WBR>ศาสตร์<WBR>และ<WBR>เทคโนโลยี<WBR>แห่งประเทศ<WBR>ไทย<WBR>จึง<WBR>ได้<WBR>ทำ<WBR>การ<WBR>ออก<WBR>แบบ<WBR>และ<WBR>จัด<WBR>สร้างเครื่องบีบ<WBR>น้ำ และเครื่องย่อย<WBR>ขนาด<WBR>ผัก<WBR>ตบ<WBR>ชวา<WBR>เพื่อ<WBR>ลด<WBR>ปัญหา<WBR>ใน<WBR>การ<WBR>เตรียม<WBR>วัตถุดิบ


    <DD>ที่มา http://kanchanapisek.or.th/kp1/data/12/projec11.htm
    [/FONT]
    </DD>
     

แชร์หน้านี้

Loading...