รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ประโยชน์ของสารส้ม
    [​IMG]
    <TABLE cellSpacing=0 width="90%" bgColor=#ffccff border=0><TBODY><TR><TD>
    สารส้ม

    Ammonium alum และ Potassium alum คือ เกลือเชิงซ้อนของสารประกอบที่มี ธาตุ อะลูมิเนียม และ ซัลเฟต เป็นส่วนประกอบหลัก หรือ รู้จักกันในนามว่าสารส้ม (alum) หรือ ผลึกเกลือ มีสูตรทางเคมีทั่วไปคือ [M( l )M,( l l l ) (SO4)2 . 12H2O] ดังนั้นสารใดที่มีโครงสร้างของสูตรทางเคมี ที่กล่าวมา มันก็คือสารส้มที่เรารู้จักและคุ้นเคยนั้นเอง

    ประวัติ
    สารส้ม (alum) มีการผลิตในระยะแรก ๆ ที่ไหน เมื่อไร ไม่มีหลักฐานแน่ชัด แต่มีรายงานว่าใน แถบเอเซียตอนกลาง มีการผลิตและซื้อขายสารส้มกันมาช้านานแล้วไม่ต่ำกว่า 500 ปี
    สารส้ม (alum) พบว่าเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหลายแห่ง โดยเฉพาะบริเวณที่เคยเป็นภูเขาไฟ มาก่อน การนำมาใช้บางแห่งต้องสกัดออกมาจากดิน เช่นเดียวกับการทำเกลือสินเธาว์บางแห่งผลิตจากแร่ส้มหิน (alunite, alumstone หรือ alunrock)โดยนำมาเผาเมื่อละลายจึงนำไปตกตะกอน หรือแร่อี่น ๆ ที่มี อลูมิเนียม(aluminum)เป็นองค์ประกอบ ในประเทศไทยชาวบ้านเรียกว่า ดินส้ม พบอยู่หลายจังหวัดมีมากที่จังหวัดเลย แต่สารส้มที่พบตามธรรมชาติ มีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ มนุษย์จึงต้องคิดค้นวิธีการผลิตขึ้นมาเอง โดยนำเอาแร่ธาตุจากธรรมชาติที่มีปริมาณอะลูมินาสูงเป็นวัตถุดิบได้สำเร็จ และผลิตเป็นการค้า มาจนถึงปัจจุบัน สารส้ม (alum) มีประโยชน์และมีความสำคัญต่อชีวิตประจำวันมาก แต่ไม่ค่อยมีใครได้นึกถึง เพราะไม่ค่อยได้เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น น้ำประปาที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ต้องอาศัยสารส้มทำให้ใส ใช้ในอุตสากรรม กระดาษ ฟอกหนัง ย้อมผ้า ฟอกสี ทำผงฟู และ ยา เป็นต้น

    ประเภทของสารส้ม
    สารส้ม (alum) มีรากศัพท์มาจากคำในภาษาลาตินว่า alumen แปลว่า สารทำให้หดตัว (astringent) แต่ในปัจจุบัน สารส้มหมายถึงเกลือเชิงซ้อน ( ผลึกเกลือ ) ของสารประกอบที่มี ธาตุอะลูมิเนียม และ ซัลเฟต เป็นส่วนประกอบหลัก แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
    1. เกลือซัลเฟตของอะลูมิเนียมหรืออะลูมิเนียมซัลเฟต [AL2(SO4)3. XH2O] ลักษณะ เป็น ก้อนผงสีขาว
    2. เกลือเชิงซ้อนของโพแทสเซียมหรือโพแทสเซียมอะลั่ม [AL2(SO4)3 . K2SO4 . 24H2O] ลักษณะเป็นผลึกใสไม่มีสี
    3. เกลือเชิงซ้อนของแอมโมเนียมหรือแอมโมเนียมอะลั่ม [AL2(SO4)3 . (NH4)2SO4 . 24H2O] ลักษณะเป็นผลึกใสไม่มีสี
    อย่างไรก็ตามสารส้ม (alum) ทั้ง 3 ประเภทดังกล่าว นำไปใช้ประโยชน์อย่างเดียวกัน การเติม ammonium และ potassium ลงไปก็เพื่อความประสงค์อื่น คือต้องการให้เป็นก้อนผลึกใสและบริสุทธิ์ ยิ่งขึ้นเนื่องจากอุสาหกรรมหลายชนิด เช่น การผลิตกระดาษคุณภาพสูง และผสมทำผงฟู เป็นต้น ต้องการสารส้ม ที่มีความบริสุทธ์ มากๆ

    ประโยชน์
    สารส้มนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางทั้งในอุตสาหกรรมและที่เกี่ยวข้องกับผิวหนังของคน กล่าวคือ
    1 การใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม ส่วนมากจะใช้ในอุตสาหรรมการประปา รองลง มาได้แก่ อุตสาหกรรมกระดาษ ย้อมผ้า ฟอกหนัง ผสมเป็นยาดับเพลิง สารดับกลิ่น ฟอกสี และ ผสมทำผงฟูใช้ในการทำขนมปัง เป็นต้น
    2 การใช้เกี่ยวข้องกับผิวหนัง
    ใช้ดับกลิ่นตัวได้ทุกส่วนของร่างกายตามที่ต้องการ โดยเฉพาะที่ใต้วงแขน ( รักแร้ ) และ เท้า สามารถระงับ กลิ่นได้ 100 % นานถึง 24 ช.ม และหน่วงการเกิดกลิ่นได้ไม่ต่ำกว่า 10 ช.ม
    ใช้ทาหลังโกนหนวดจะไม่ทำให้เกิดการระคายเคือง ช่วยห้ามเลือดและสมานบาดแผลที่เกิดจากมีดโกนบาด หรือ บาดแผลเล็กน้อย
    ใช้ทาที่ส้นเท้าจะรักษาและป้องกันส้นเท้าแตก
    ทาแก้คันตามผิวหนังเมื่อถูกยุงกัดหรือคันจากสาเหตุอื่น

    คุณสมบัติ
    1 ไม่มีสีและกลิ่น ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่พิเศษของมัน เหมาะสำหรับผู้ที่ชอบใช้น้ำหอม เพราะจะไม่มีกลิ่นไปรบกวนหรือหักล้างกลิ่นน้ำหอมที่ใส่อยู่ กล่าวคือ สารดับกลิ่นตัวส่วนมากจะผสมน้ำหอมลงไปด้วย ทำให้ไปรบกวนกลิ่นของน้ำหอมราคาแพงที่ใส่อยู่
    2 ไม่เปื้อนเสื้อผ้า เพราะไม่มีส่วนผสมของ ครีม และน้ำมัน
    3 ปลอดภัย กับร่างกาย กล่าวคือ
    ไม่อุดตันรูขน
    ไม่ซึมเข้าสู่ร่างกายเพราะตัวมันทำให้เกิดประจุลบจึงไม่สามารถที่ผ่านผนังเซลได้
    ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ทำลายโอโซน
    4 ไม่เสื่อมสภาพ มีความคงทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เสื่อมสภาพที่อุณหภูมิห้

    สารส้ม (alum) พบว่าเกิดขึ้นเองในธรรมชาติหลายแห่ง โดยเฉพาะบริเวณที่เคยเป็นภูเขาไฟ การนำมาใช้บางแห่งต้องสกัดออกจากดิน บางแห่งผลิตจากแร่ส้มหิน โดยนำมาเผาเมื่อละลายจึงนำไปตกตะกอน หรือแร่อี่นๆ ที่มีอะลูมิเนียมเป็นองค์ประกอบ ชาวบ้านไทยเรียกว่า ดินส้ม มีมากที่เมืองเลย

    สารส้มที่พบตามธรรมชาติมีปริมาณไม่เพียงพอกับความต้องการ มนุษย์จึงต้องคิดค้นวิธีการผลิตโดยนำแร่ธาตุจากธรรมชาติที่มีปริมาณอะลูมิเนียมสูงเป็นวัตถุดิบ แต่ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าการผลิตแรกเริ่มเกิดที่ไหน เมื่อไร เพียงมีรายงานว่าแถบเอเชียกลางมีการผลิตและซื้อขายสารส้มกันมาช้านานไม่ต่ำกว่า 500 ปี

    สารส้มสำคัญต่อชีวิตประจำวันมาก อย่างน้ำประปาที่ใช้อยู่ทุกวี่วันต้องอาศัยสารส้มทำให้ใส อุตสาหกรรมกระดาษ ฟอกหนัง ย้อมผ้า ฟอกสี ทำผงฟู และยา ก็พึ่งพาสารส้ม สำหรับคำ alum ซึ่งหมายถึงสารส้ม มีรากศัพท์จากภาษาละตินว่า alumen แปลว่าทำให้หดตัว ในทางวิทยาศาสตร์ สารส้มคือเกลือเชิงซ้อน หรือผลึกเกลือของสารประกอบที่มีธาตุอะลูมิเนียมและซัลเฟตเป็นส่วนประกอบหลัก แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ

    1.เกลือซัลเฟตของอะลูมิเนียมหรืออะลูมิเนียมซัลเฟต [AL2(SO4)3. XH2O] ลักษณะเป็นก้อนผงสีขาว

    2.เกลือเชิงซ้อนของโพแทสเซียมหรือโพแทสเซียมอะลั่ม [AL2(SO4)3. K2SO4. 24H2O] ลักษณะเป็นผลึกใสไม่มีสี และ 3.เกลือเชิงซ้อนของแอมโมเนียมหรือแอมโมเนียมอะลั่ม [AL2(SO4)3. (NH4)2SO4. 24H2O] ลักษณะเป็นผลึกใสไม่มีสี

    ความไม่มีสีและกลิ่นเป็นคุณสมบัติพิเศษของสารส้ม ไม่เปื้อนเสื้อผ้าเพราะไม่มีส่วนผสมของครีมและน้ำมัน ปลอดภัยกับร่างกาย ไม่อุดตันรูขุมขน ไม่ซึม ด้วยตัวมันทำให้เกิดประจุลบจึงไม่สามารถผ่านผนังเซลล์ได้ ไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ทำลายโอโซน ไม่เสื่อมสภาพ มีความคงทน

    ประโยชน์ของสารส้ม

    มีกว้างขวาง ในทางอุตสาหกรรมก็ดังกล่าวข้างต้น ส่วนที่เกี่ยวกับร่างกายเรา ใช้ดับกลิ่นตัวได้ทุกส่วนโดยเฉพาะบริเวณใต้วงแขนและ เท้าได้ผล 100 เปอร์เซ็นต์ นานถึง 24 ชั่วโมง ทั้งยังหน่วงการเกิดกลิ่นได้ไม่ต่ำกว่า 10 ชั่วโมง ทาหลังโกนหนวดก็ได้ ไม่ทำให้ระคายเคือง ช่วยห้ามเลือดและสมานบาดแผลที่เกิดจากมีดโกนบาด หรือบาดแผลเล็กน้อย ทาที่ส้นเท้ารักษาและป้องกันส้นเท้าแตก ทาแก้คันตามผิวหนังเมื่อถูกยุงกัดหรือคันจากสาเหตุอื่น

    สารส้มเป็นหนึ่งในส่วนผสมของยาสีฟันโบราณ ด้วยสรรพคุณแก้โรครำมะนาด ตำรับยาท่านว่าให้เอาเกลือทะเล 2 ส่วน การบูร 1 ส่วน สารส้ม 1 ส่วน ตัวยาทั้ง 3 อย่างนำมาผสมตำให้ละเอียด ใช้สีฟันหลังแปรงฟันทุกเช้า โรคฟันเป็นรำมะนาดจะหายขาด

    </TD></TR><TR><TD align=right>
    จาก ต้อง api_nakya4@hotmail.com
    [21 มกราคม 2549]
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ที่มา http://www.teenet.chula.ac.th/webboard/Question.asp?ID=2900

    หมายเหตุ

    สารส้มเป็นของจำเป็นอีกอย่างหนึ่ง เมื่อคราวเกิดอุทกภัยน้ำท่วมขังเป็นเวลานานๆ ทำให้ไม่ไม่น้ำสะอาดไว้ใช้ในการอุปโภค และบริโภค แก้ไขได้โดยการนำสารส้มมาใช้แกว่งในน้ำที่ขุ่นให้ตกตะกอนเป็นน้ำใส นำมาใช้อาบ และซักล้างเสื้อผ้าได้ แต่ถ้าจะนำมาดื่มกิน ควรต้องผ่านการกรอง และต้มให้สะอาดปราศจากเชื้อโรคอีกชั้นหนึ่งก่อน
     
  2. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=2 width=600 align=center border=0><TBODY><TR><TD>
    แนะนำการใช้อุปกรณ์แค้มปิ้ง
    (ในกรณีต้องออกจากบ้าน)
    </TD></TR><TR><TD> </TD></TR><TBODY><TR><TD><TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=1 width=600 border=0><TBODY><TR><TD width=300>
    [​IMG]
    </TD><TD width=300>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width=300>
    <TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=4 width=300 border=0><TBODY><TR><TD>
    <STYLE type=text/css>body { background-color:#orange; font-family:"Microsoft Sans Serif"; font-size:13px; font-weight:bold;}a.links{ font-family:"Microsoft Sans Serif"; font-size:13px; line-height:5px; color:black; text-decoration:underline; font-weight:bold;}a.links:active { color:black; }a.links:hover { }</STYLE><SCRIPT language=JavaScript type=text/javascript><!-- ///////////////////Hex Conversions///////////////////// // convert a single digit (0 - 16) into hexfunction enHex(aDigit){ return("0123456789ABCDEF".substring(aDigit, aDigit+1))}// convert a hex digit into decimalfunction deHex(aDigit){ return("0123456789ABCDEF".indexOf(aDigit))}// Convert a 24bit number to hexfunction toHex(n){ return (enHex((0xf00000 & n) >> 20) + enHex((0x0f0000 & n) >> 16) + enHex((0x00f000 & n) >> 12) + enHex((0x000f00 & n) >> 8) + enHex((0x0000f0 & n) >> 4) + enHex((0x00000f & n) >> 0))}// Convert a six character hex to decimalfunction toDecimal(hexNum){ var tmp = ""+hexNum.toUpperCase() while (tmp.length < 6) tmp = "0"+tmp return ((deHex(tmp.substring(0,1)) << 20) + (deHex(tmp.substring(1,2)) << 16) + (deHex(tmp.substring(2,3)) << 12) + (deHex(tmp.substring(3,4)) << 8) + (deHex(tmp.substring(4,5)) << 4) + (deHex(tmp.substring(5,6))))}///////////////////Shimmering Links///////////////////////global variablesvar hoverColourvar numLinks;var rate;var numFadeLevels;var bgR;var bgG;var bgB;var currR;var currG;var currB;var count;var fadeOut;var continuous;var newColour;var tID;var redInterval;var greenInterval;var blueInterval; function initLinks(mouseOverColour, numberOfLinks, fadeOutColour){ hoverColour = mouseOverColour; numLinks = numberOfLinks; rate = 1; numFadeLevels = 5; function initArray(theArray, length, val) { for(i=0;i<length;i++) { theArray = val; } } bgR = '0000' + fadeOutColour.substring(1,3) bgG = '0000' + fadeOutColour.substring(3,5) bgB = '0000' + fadeOutColour.substring(5,7) currR = new Array(numLinks); currG = new Array(numLinks); currB = new Array(numLinks); count = new Array(numLinks); fadeOut = new Array(numLinks); continuous = new Array(numLinks); newColour = new Array(numLinks); tID = new Array(numLinks); redInterval = toDecimal(bgR) / numFadeLevels; greenInterval = toDecimal(bgG) / numFadeLevels; blueInterval = toDecimal(bgB) / numFadeLevels; initArray(currR,numLinks,0); initArray(currG,numLinks,0); initArray(currB,numLinks,0); initArray(count,numLinks,0); initArray(fadeOut,numLinks,true); initArray(continuous,numLinks,true);} function startFade(id){ if(fadeOut[id] == true) { /*move colour towards background colour (increment)*/ currR[id] += redInterval; currG[id] += greenInterval; currB[id] += blueInterval; newColour[id] = '#' + (toHex(currR[id])).substring(4,6) + (toHex(currG[id])).substring(4,6) + (toHex(currB[id])).substring(4,6); if(++count[id] == numFadeLevels) { fadeOut[id] = false; } } else { currR[id] -= redInterval; currG[id] -= greenInterval; currB[id] -= blueInterval; newColour[id] = '#' + (toHex(currR[id])).substring(4,6) + (toHex(currG[id])).substring(4,6) + (toHex(currB[id])).substring(4,6); if(--count[id] == 0) { fadeOut[id] = true; } } if(continuous[id] == true) { document.getElementById(id).style.color = newColour[id]; } else { document.getElementById(id).style.color = hoverColour; } clearTimeout(tID[id]); tID[id]=setTimeout('startFade(' + id + ')', rate);}function continueFade(id){ continuous[id] = true;}function stopFade(id){ continuous[id] = false;}function StartTimers(){ //set up an initial set of timers to start the shimmering effect for(id=0; id<numLinks; id++) { t=setTimeout('startFade(' + id + ')', id*500); }}//format = initLinks('mouse-over colour', 'number of links', 'fade-out colour')initLinks('#FF3300', 9, '#FF3300');//--></SCRIPT><SCRIPT language=JavaScript type=text/javascript><!--setTimeout('StartTimers()', 1000); //initial 1 second delay to allow page to load and ensure smooth shimmering//--></SCRIPT>1. เต็นท์

    </TD></TR><TR><TD>เปรียบเสมือนเป็นบ้านชั่วคราวในระหว่างการเดินทางรอนแรม กลางป่าเขาลำเนาไพรและหมู่เกาะแก่งกลางท้องทะเล ทำให้เรานอนหลับได้อบอุ่นสบายใจ โดยปราศจากการรบกวนจากยุง แมลง สัตว์เลื้อยคลานบางชนิด รวมทั้งสามารถกันแดดกันฝน</TD></TR></TBODY></TABLE>

    </TD><TD vAlign=top width=300>
    <TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=4 width=300 border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>หากเต็นท์เปรียบเสมือนบ้าน ถุงนอนก็เปรียบเสมือนเป็นผ้าห่ม แต่ถุงนอนมีความกระทัดรัด น้ำหนักเบา และให้ความอบอุ่นได้ดีกว่า</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD height=17> </TD></TR><TR><TD><TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=1 width=600 border=0><TBODY><TR><TD width=300>
    [​IMG]
    </TD><TD width=300>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top width=300>
    <TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=4 width=300 border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>ระยะเวลาของการท่องเที่ยว สภาพภูมิประเทศที่เราจะเดินทางไป และสัมภาระที่เราต้องแบก ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เราต้องรับรู้ว่าควรเลือกเป้ฯ ประเภทใดดีในการเดินทางครานั้น คือ เป้ฯ ไม่มีโครง เป้ฯ โครงใน และเป้ฯ โครงนอก</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD><TD vAlign=top width=300>
    <TABLE class=text2 cellSpacing=0 cellPadding=4 width=300 border=0><TBODY><TR><TD></TD></TR><TR><TD>เป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญอย่างมากในการเดินทางโดยสารทางเรือหรือการเล่นกีฬาทางน้ำ</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    </TD></TR></TBODY></TABLE>ที่มา http://www.e-travelmart.com/tip_tent.html</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  3. tamsak

    tamsak ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 กันยายน 2004
    โพสต์:
    7,857
    กระทู้เรื่องเด่น:
    22
    ค่าพลัง:
    +161,171
    ขอบคุณสำหรับข้อมูลดีๆ มีประโยชน์ทุกข้อมูลครับ


    .
    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ตุลาคม 2006
  4. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE height=200 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=655 align=center border=0><TBODY><TR><TD height=56> </TD><TD bgColor=#666666 height=56>
    ขยะหอม (ภาคพิสดาร)
    </TD></TR><TR><TD height=38> </TD><TD bgColor=#cccccc height=38>
    [SIZE=-1]Mr. T [/SIZE]
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD height=2991> </TD><TD height=2991>
    <CENTER>

    [SIZE=-1] [/SIZE][SIZE=-1]
    [/SIZE]
    จั่วหัวข้อไว้ เพราะพยายามให้เก๋ไก๋ไว้งั้นเอง ความจริงก็ไม่ได้พิสดารพันลึกอะไร เพียงแต่เมื่อตรวจคำตอบข้อสอบ รักษาฯ 6 แล้วคิดว่าน่าจะยกเรื่องขยะหอม มาแสวงหาทัศนะแลกเปลี่ยนกันบ้าง เพราะปัจจุบัน เรื่องขยะหอม หรือปุ๋ยน้ำ หรือ ปุ๋ย ชีวภาพ ฯลฯ กำลังได้รับความสสลจอย่างกว้างขวาง ทั้งเกษตรกร ชาวบ้าน นักวิชาการ และนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

    ข้อเขียนต่อไปนี้ ขอถือเป็นการคุย คิดได้เขียนไป นึกได้ก็เติม สมมติเรานั่งคุยกันในร่มไม้ริมน้ำ กำลังเย็นสบายก็แล้วกัน เรื่องขยะหอมนั้น ไม่มีอะไรมาก มีน้ำ น้ำตาล ( โมลาท หรือ น้ำตาลทรายแดงก็ได้) หัวเชื้อจุลินทรีย์ ขยะ แล้วก็ภาชนะที่ใช้ใส่ เห็นไหม ไม่พิสดารอะไร แต่มีข้อขยายความ บางประการ คือ

    น้ำ จะเป็นน้ำห้วย น้ำคลองอะไรก็ได้ ที่ไม่เน่าเสียเหมือนหลายคลองในกรุงเทพฯ จะใช้น้ำประปาก็ได้ เพียงรองทิ้งไว้สัก 2- 3 วัน ให้คลอรีนจางเสียก่อน มิฉะนั้น คลอรีนจะฆ่าจุลินทรีย์ เสียหมด
    น้ำตาล เช่นกากน้ำตาล (นึกภาพของน้ำมันเครื่องที่ข้น ๆ สีน้ำตาลเข้มก็แล้วกัน) หรือน้ำตาลทรายแดง 3 ขีด เหตุที่ไม่ใช้น้ำตาลทรายขาวที่หาง่าย ๆ เพราะน้ำตาลทรายขาวมีสารฟอกขาว (อย่าตกใจ กินบ่อยอยู่แล้ว ท่านผู้รู้ตั้งปุจฉาว่า คนเราทุกวันนี้ กินสารเสพติดทุกวันโดยไม่รู้ตัว ซึ่งทำให้ไตทำงานหนัก และมีผลอื่น ๆ เป็นอันตรายต่อร่างกายโดยไม่รู้ตัว คือติดความหวานของน้ำตาล ! )
    หัวเชื้อจุลินทรีย์ ยุ่งละซี หาที่ไหนล่ะ ความจริงมีวิธีการเพาะได้ แต่ปัจจุบันไม่ต้องไปคิดมาก ไปขอได้ที่ทุกสำนักงานเขต เพราะมีเหลือเฟือ แต่ถ้าเป็นกากน้ำตาลคงต้องช่วยค่าใช้จ่ายเล็กน้อย
    ขยะ ต้องเป็นขยะอินทรีย์วัตถุ เช่น ผลไม้ ผัก หญ้า เนื้อสัตว์ ฯลฯ ไม่ใช่ก้อนอิฐ กระป๋อง กระแป๋ง ฯลฯ เรียกว่าขยะจากครัว เศษอาหารจากโต๊ะ โละใส่ได้ทั้งหมด (อย่าให้บูดเน่าไปเทใส่ เห็นไหม ขยะหอมยังรังเกียจของบูดเน่าเลย)
    ภาชนะ เป็นโอ่ง ไห ถัง ตุ่ม ได้ทั้งนั้น ขอแนะนำควรทึบแสง มีฝาปิดมิดชิด (หากเปิดฝาก็เป็นด้วยวัตถุประสงค์อื่น จะคุยต่อไป)

    ที่จริงก็แค่นั้นแหละ แต่มีข้อปลีกย่อยที่ไม่ใช่ย่อย เช่น อย่าไปตั้งกลางแดด หรือหลบแดดไปเลยก็ดี มิฉะนั้น จุลินทรีย์จะตาย เหม็นอย่าบอกใครเลย ทีนี้วิธีการทำล่ะ ทำไง ? ง่ายมาก
    1. รองน้ำหรือตักน้ำใส่ภาชนะ สมมติ 8 ลิตร (ตวงยากก็หาขวดน้ำดื่มที่เขียนข้างขวดว่า กี่ลิตร) ก็ตวงใส่ลงไปจนได้ 8 ลิตร ได้แค่ไหนทาสีไว้ข้างภาชนะนั้น เพื่อที่ครั้งต่อไปไม่ต้องตวง ตักใส่จนน้ำ ถึงขีดที่ทำไว้ อย่าลืม ถ้าเป็นน้ำประปา ต้องทิ้งไว้ก่อน 2 - 3 วัน ภาชนะนั้นถ้าเป็นถังจะทำก๊อกน้ำไว้ระดับก้นถังก็ได้ (ดูรูปภาพประกอบ) เพื่อสะดวกแก่การนำน้ำหมักชีวะภาพ (น้ำขยะหอม) เอาไปใช้
    2. เทหัวเชื้อจุลินทรีย์ และกากน้ำตาล อย่างละ250 ซี.ซี. (ตวงจากขวดน้ำดื่มนั่นแหละ ง่ายดี) ใส่ภาชนะที่รองน้ำไว้แล้วตามข้อ 1 ใช้ไม้คนให้เข้ากัน ปิดฝาทิ้งไว้ 2 - 3 วัน
    3. นำถุงปุ๋ยกางสวมไว้ในภาชนะเพื่อใส่ขยะลงไป อาจใช้ตะกร้าพลาสติกที่หุ้มด้วยมุ้ง พลาสติก เป็นตัวรับขยะก็ได้ (ดูภาพประกอบ) ขยะที่ใส่นั้นใส่ได้ทุกวัน ถ้าเหมาะ ๆ น่าจะประมาณ 1/4 ถัง เติมขยะครั้งหนึ่ง ก็หาไม้คน ๆ สักทีหนึ่ง เพียง 3 - 4 วัน ก็รองน้ำหมักไปใช้ประโยชน์ได้แล้ว จะหมักให้นานกว่านี้ เป็น 7 วัน 10 วัน ก็ได้ ถ้ากลิ่นแรงหรือเหม็น ก็เติมน้ำตาลลงไปอีก คนให้เข้ากันก็หาย

    ข้างต้นนี้ คือภาคขยะหอม ใช้สิ่งที่จะทิ้ง (ขยะ) ให้เป็นประโยชน์มากมาย อย่าถามว่าหมักแล้วได้สารอาหารแร่ธาตุอะไรบ้าง ตอบไม่ถูกครับ เพราะขยะที่หมักก็สารพัดอยู่แล้ว ใช้อย่างไรจะคุยต่อไป ถือว่าเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ไม่คิดทางวิชาการให้ปวดหัวนะ เท่าที่มีผู้เคยใช้ได้ผลบอกว่า

    1. ใช้น้ำหมักขยะหอม (จะขวด หรือขัน ก็เทไปเถอะ) เทใส่ส้วม แล้วราด หรือชักโครก ก็ ตามใจ จุลินทรีย์จะไปอยู่ในบ่อเกรอะ บ่อซึม ช่วยย่อยสลายกากปฏิกูลทำให้ส้วมเต็มช้า และบรรเทากลิ่น
    2. ราดใส่ท่อน้ำ บ่อพักน้ำสาธารณะ รางน้ำในตลาดสด จะดับกลิ่นชะงัดนัก หรือเป็น น้ำครำใต้ถุนบ้าน ทางเดินชุมชน ฯลฯ ก็ได้ผลดี แม้แต่บ่อน้ำ (ไม่ใช่น้ำบริโภค) ก็บำบัดอาการเน่าเสียของน้ำได้ดี
    3. ถ้าหมักด้วยเปลือกผลไม้ประเภทส้ม หรือหมาก สะเดา (อีกเยอะสูตร) ผสมน้ำฉีดพ่น ใบ ช่วยขับไล่บรรเทาแมลงรบกวนพืชผลได้ดี
    4. ผสมน้ำ 1 : 500 ส่วน รดน้ำต้นไม้ก็ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของพืชผักผลไม้ดีนักแล (อย่าผสมหนา
     
  5. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD colSpan=2>
    วิธีทำปุ๋ยน้ำชีวภาพจากพืช
    </TD></TR><TR><TD width="48%"> </TD><TD width="52%">
    </TD></TR><TR bgColor=#00cc66><TD>รายได้ [​IMG]</TD><TD>วัสดุอุปกรณ์ [​IMG]</TD></TR><TR bgColor=#99cc66><TD>ประมาณ 2,000 บาท</TD><TD>ถังมีฝาปิด ถุงปุ๋ย กากน้ำตาล หรือน้ำตาลทรายแดง</TD></TR><TR bgColor=#99cc66><TD> </TD><TD>หัวเชื้อจุลินทรีย์ ขยะเศษอาหาร</TD></TR><TR bgColor=#00cc66><TD height=40>เงินลงทุน</TD><TD>แหล่งจำหน่ายวัสดุอุปกรณ์</TD></TR><TR bgColor=#99cc66><TD>ประมาณ 1,000 บาท (กากน้ำตาลราคาแกลลอนละ 180 บาท</TD><TD>เชื้อจุลินทรีย์ (มีชื่อเรียกเป็นทางการว่า "พค.1") ขอรับได้ฟรี</TD></TR><TR bgColor=#99cc66><TD>5 ลิตร ถัง 200 ลิตร ราคา 120 บาท)</TD><TD>จากกรมพัฒนาที่ดินจังหวัดทุกแห่งหรือซื้อได้ตามร้านเคมีภัณฑ</TD></TR><TR bgColor=#99cc66><TD> </TD><TD>(มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า ไบโอนิค เอฟ 60 หรือ อีเอ็ม)</TD></TR><TR bgColor=#99cc66><TD> </TD><TD> </TD></TR><TR bgColor=#ccff66><TD>ส่วนผสม</TD><TD>วิธีทำ</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD>กากน้ำตาล 250 ซีซี</TD><TD>1. เติมน้ำ 8 ลิตรใส่ถัง</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD>เชื้อจุลินทรีย์ 250 ซีซี</TD><TD>2. เทกากน้ำตาลละลายน้ำ</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD>น้ำ 8 ลิตร</TD><TD>3. ใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์ แล้วผิดฝาทิ้งไว้ 2 วัน</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD>วัตถุดิบ (เศษผัก ผลไม้ หรืออาหาร)</TD><TD>4. นำเศษอาหาร เศษผัก เปลือกผลไม้ ใส่ถุงปุ๋ย แล้วนำเชื้อจุลินทรีย์</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD> </TD><TD>ใส่ในถุงปุ๋ย หากน้ำจุลินทรีย์ไม่มากพอที่จะท่วมเศษอาหารในถุงปุ๋ย</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD> </TD><TD>ให้เติมน้ำเปล่าและกากน้ำตาล (หรือน้ำตาลทรายแดง) ในสัดส่วน</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD> </TD><TD>น้ำ 8 ลิตร กากน้ำตาล 250 ซีซ</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD> </TD><TD>5. ทิ้งไว้ประมาณ 8 วัน ก็สามารถนำเอาน้ำจุลินทรีย์ชีวภาพมาใช้</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD> </TD><TD>งานได้</TD></TR><TR bgColor=#cccc99><TD height=20>
    </TD><TD> </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา http://www.geocities.com/trangemployment/occo-pui.htm
    หมายเหตุ

    เมื่อยามเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ ผู้คนจำนวนมากจำเป็นต้องละทิ้งบ้านเรือน ไปอาศัยอยู่รวมกันในที่สูงตามโรงเรียน วัด ศาลากลางจังหวัด โรงพยาบาล ฯลฯ สุขอนามัยเป็นสิ่งสำคัญ ถ้าไม่มีการวางแผนจัดการที่ดี ย่อมเกิดปัญหาเรื่องเชื้อโรค และโรคระบาดตามมาอย่างแน่นอน เชื้อจุลินทรีย์ EM ตัวนี้จะเข้ามามีบทบาทสำคัญในการทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งปฎิกูลทั้งหลาย ให้หมดไปโดยเร็ว ก่อนที่มันจะกลายเป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค และสามารถดับกลิ่นเหม็นอันน่ารำคาญจากของสิ่งปฎิกูลเหล่านั้นได้อีกด้วย จึงเป็นสิ่งที่พวกเราควรให้ความใส่ใจเอาไว้ให้มาก เชื้อจุลินทรีย์ EM สามารถผลิตใช้ได้ง่าย เพียงแต่หาซื้อหัวเชื้อมาเพียงครั้งเดียว ก็สามารถเพาะเพิ่มเติมได้เรื่อย ๆ ไปไม่มีหมด และสามารถแบ่งปันไปให้ผู้อื่น ได้ใช้ประโยชน์จากเจ้าเชื้อจุลินทรีย์ EM ตัวนี้ได้อีกด้วย
     
  6. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เมนูอาหารมังสวิรัติที่น่าสนใจ

    <CENTER>รายการอาหาร


    </CENTER><CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>ซุป แกงจืด สลัด</BLINK></B>


    </CENTER><CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>ซุปผักฤดูร้อน

    </CENTER>​
    </TD></CENTER><TD><CENTER>ซุปเต้าหู้ขาว

    </CENTER>​
    </TD>

    <CENTER></CENTER><TD><CENTER>แกงจืดถั่วเหลืองผสมไข่

    </CENTER>​
    </TD>

    <CENTER></CENTER><TD><CENTER>ต้มจับฉ่าย

    </CENTER>​
    </TD>

    <CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>


    <CENTER></CENTER><CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>แกง ต้มยำ ห่อหมก หลน</BLINK></B>

    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>แกงสับนกเต้าหู้

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>แกงมัสมั่นเต้าหู้

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>แกงคั่วเห็ดเผาะใส่หน่อไม้เปรี้ยว

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>หลนเต้าเจ้ยวถั่วเหลืองใส่ไข่

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>แกงป่าเต้าหู้เหลืองกับมะเขือถั่วฝักยาว

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>เปรี้ยวหวานมังสวิรัติ

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>แกงฮัลเลย์เต้าหู้ใส่สับปะรด

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>แกงป่าหัวปลี

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>แกงเผ็ดเต้าหู้ขาว เห็ด และถั่วลันเตา

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>ผัดต่างๆ</BLINK></B>


    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>ถั่วแดงผัดพริก

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ผัดถั่วแดงทรงเครื่อง

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ผัดพริกหยวก กับถั่วแดงหลวง

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ผัดเต้าหู้แข็งกับหลายผัก

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>ลูกชิ้นผัดเปรี้ยวหวาน

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ผัดขี้เมาถั่วเขียวกับมะเขือยาว

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>เห็ดนางฟ้า ฟักทอง มันเทศ ถั่วฝักยาวชุบแป้งทอด

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>น้ำพริกมะเขือยาว

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>น้ำพริกเผาถั่วเขียว

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ลาบถั่วแดง

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>ยำ และของดอง</BLINK></B>

    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>ยำวุ้นเส้น

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ยำพริกหยวก

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ยำถั่วพลู

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ยำหัวปลี

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>ยำทวาย

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ยำผักกาดดอง

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ขิงดอง3รส

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>อาหารจานเดียว</BLINK></B>

    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>ก๋วยเตี๋ยวหลอด

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ก๋วยเตี๋ยวผัดไทยใส่ถั่วแดง

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>สุกี้ผัดกับเต้าหู้แข็ง

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ข้าวผัด3สี

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>กระเพาะปลาเจ

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>อาหารว่าง</BLINK></B>

    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>แหนมสดวุ้นเส้น

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>แซนวิชเต้าหู้

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>เกี้ยวทอดไส้ผัก

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>ขนม</BLINK></B>

    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><CENTER>ขนมถั่วแปบ

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ขนมกล้วย

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>เผือกกวน

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>มะละกอกวน

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR><TR><TD><CENTER>ถั่วลิสงเคลือบน้ำตาล

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>ขนมบัวลอยถั่วเขียว

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>เค็กกล้วยหอม

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>โดนัทมันเทศ

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER><CENTER><B><BLINK>พันช์ ไอศกรีม น้ำผลไม้</BLINK></B>

    </CENTER><TABLE width="100%" border=2><TBODY><TR><TD><TD><CENTER>น้ำใบเตย

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>น้ำมะตูม

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>พันช์ผลไม้แช่เย็น

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER><TD><CENTER>แตงโมปั่นแช่เย็น

    </CENTER>​
    </TD><CENTER></CENTER></TR></TBODY></TABLE>​


    <CENTER></CENTER>
    ที่มา http://www.skn.ac.th/skl/project/masa55/menu.htm
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ตุลาคม 2006
  7. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ขอบคุณสำหรับข้อมูลที่เป็นประโยชน์เหล่านี้อย่างยิ่งเลยครับ ครบถ้วนสมบูรณ์ ครอบคลุม ปัญหาและเหตุการณ์ที่เราต้องเผชิญกันในอนาคตเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้นครับ

    ผมขอเสนอนิดนึงนะครับ
    ถ้ามีการรวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหาที่เป็นประโยชน์นี้ให้อยู่ในรูปเอกสาร หรือในซีดีรอม เพื่อความสะดวกในการเผยแพร่และการนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้จะดีมากๆเลยครับ

    ถ้ามีการเผยแพร่ข้อมูล การป้องกัน การแก้ไข การรับมือกับภัยพิบัติเหล่านี้ไปยัง โรงเรียน มหาวิทยาลัย วิทยาลัย วัด สถานีวิทยุ สถานีวิทยุชุมชน จะช่วยลดความเสียหายในชีวิตและทรัพย์สินของพี่น้องประชาชนชาวไทยลงไปได้มากเลยครับ

    ลองมาช่วยๆกันระดมความคิดกันดูครับว่าเราจะทำโครงการนี้ให้เกิดขึ้นได้อย่างไรครับ

    ขอกราบโมทนาในจิตเจตนาอันเป็นกุศลของคุณเกษม คุณMead คุณเทพ และทุกท่านด้วยครับ
     
  8. เทพ

    เทพ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    275
    ค่าพลัง:
    +3,099
    ความเห็นของคุณkananun และของคุณ mead เรื่องคู่มือฉุกเฉินนั้น ผมเห็นด้วยอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นข้อมูลที่ใช้งานได้จริง ภัยธรรมชาติเป็นสิ่งที่มีอยู่จริงพบได้จริง ไม่ว่าใครจะเชื่อเรื่องคำทำนายต่างๆหรือไม่เชื่อก็ไม่ใช่ประเด็น เพราะทุกคนล้วนอยู่ภายใต้กฎแห่งธรรมชาติทั้งสิ้น

    มนุษย์ตั้งแต่ยุคโบราณก็เริ่มเรียนรู้การใช้ธรรมชาติและการหลบภัยจากธรรมชาติ มีการหาถ้ำเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อป้องกันภัยต่างๆ รู้จักใช้ธรรมชาติในเวลาที่ควรใช้ และรู้จักหลบภัยธรรมชาติในเวลาที่ควรหลบจึงทำให้มนุษย์อยู่รอดและมีความเจริญมาถึงในปัจจุบัน

    ในเรื่องของเอกสารนั้น คงต้องลองร่างต้นฉบับออกมาก่อน แล้วค่อยๆปรับปรุงแก้ไข รูปแบบไฟล์ที่นิยมมากสุดคงเป็น pdf หรือ ถ้าอ่านแบบ html offline เป็นไฟล์ exe ก็สะดวกไปอีกแบบเพราะคอมเกือบทุกเครื่องก็มีโปรแกรมท่องเว็บอยู่แล้ว

    เนื่องจากผมยังใหม่กับที่นี่ ไม่ทราบแนวทางที่ควรหรือไม่ควรกระทำ จึงขอเป็นฝ่ายสนับสนุนจะเหมาะสมกว่า แต่หากติดขัดปัญหาเรื่องแบนวิชในการดาวน์โหลดไฟล์ ผมมี data transfer ได้เดือนละ 100 GB หรือ 100,000 MB ซึ่งน่าจะรองรับการแจกจ่ายไฟล์ฟรีแก่ผู้สนใจได้ในระดับหนึ่ง

    อีกจุดหนึ่งคือเรื่องลิขสิทธิ์ของบทความที่นำมาลงกันนั้น ส่วนใหญ่จะคัดลอกมาจากที่ต่างๆ จะมีปัญหาด้านลิขสิทธิ์หรือไม่อย่างไร
     
  9. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เรื่องการเก็บข้อมูลไว้ในรูปซีดีรอม ทำได้โดยการติดตั้งโปรแกรมสำหรับดาวน์โหลดเว็บไซต์นำมาเก็บไว้ในเครื่องคอมฯ เมื่อติดตั้งเรียบร้อยแล้วก็ทำการดาวน์โหลดเว็ปไซต์โดยเลือกกระทู้ที่เราต้องการ เสร็จแล้วจึงทำการไร้ท์ข้อมูลลงแผ่น CD-R อีกทีหนึ่ง ก็จะได้แผ่นซีดีรอมไว้เปิดดูแบบ OFF LINE ได้ทุกเวลาที่เราต้องการครับ

    เรื่องการจะนำข้อมูลไปเผยแพร่นั้นควร จัดแบ่งข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เรียงลำดับความสำคัญก่อนหลัง สรุปประเด็นให้ได้ใจความก่อน ส่วนเวลาที่จะนำไปเผยแพร่ควรรอเวลาให้คนส่วนใหญ่เข้าใจและยอมรับ ว่าเรื่องภัยพิบัตินั้นเป็นเรื่องจริง โดยเลือกเผยแพร่ไปในกลุ่มเป้าหมายที่พร้อมจะมาทำหน้าที่บรรเทาภัยพิบัติได้ เช่นกลุ่มของ อ.ศักดา สกุลพนารักษ์, กลุ่มของ อ.อาชวิน จิรจินดา, กลุ่มของคุณมงคล กริชติทายาวุธ มาเป็นอันดับต้น ๆ เมื่อสามารถเชื่อมต่อประสานงานกันกับกลุ่มเหล่านี้ได้แล้ว การดำเนินงานขั้นต่อไปก็จะง่ายขึ้นครับ
     
  10. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    สำหรับการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูลในการป้องกันและการรับมือกับภัยพิบัตินั้น ผมคิดว่าปัญหาเรื่องการละเมิดลิขสิทธิ์น่าจะไม่มี เนื่องจาก
    -ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลเพื่อการเผยแพร่ในประชาชนส่วนใหญ่อยู่แล้ว
    -การเผยแพร่ไม่ได้เป็นไปเพื่อการค้าหรือหาผลประโยชน์ใดๆครับ ไม่เข้าข่ายครับ
    -จิตเจตนาของการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลพวกเราทุกท่านมีจิตเจตนาเป็นไปเพื่อการสงเคราะห์เพื่อประโยชน์ของ ประชาชนส่วนรวมครับ

    สำหรับความตั้งใจดีของคุณเทพนั้น ไม่ต้องกังวลใจกับเรื่องเล็กน้อยครับ ถ้าเราตั้งใจทำความดีแล้วลงมือทำได้เลยครับ อีกหลายๆคน หลายๆท่าน เข้าใจและโมทนาในความดีของคุณที่ทำครับ

    ตัวผมเองก็เป็นแค่คนธรรมดาสามัญ คนหนึ่ง เพียงแต่มีความตั้งใจที่อยากจะช่วยเหลือผู้คนในรอดจากภัยพิบัติ ครับ ความรู้ทางคอมก็ งูๆปลาๆ เพราะคนเราไม่อาจจะเก่งไปทุกๆด้านครับ ดังนั้นเราจึงควรที่จะต้องมีความสามัคคีกัน ร่วมมือร่วมใจกัน ในทุกคน ทุกกลุ่ม ทุกฝ่าย แบ่งปันความรู้ และทรัพยากรกัน
    ช่วยกันใช้ความสามารถที่ตัวเองถนัดและเชี่ยวชาญให้เป็นประโยชน์สูงสุดต่อส่วนรวมครับ

    และ ณ เวลานี้ ผมเห็นด้วยกับที่คุณเกษม และคุณMeadเสนอมาว่า ได้เวลาแล้วที่น่าจะมีการประสานงานรวมกลุ่มกันแบ่งปันข้อมูลให้กัน ของกลุ่มต่างๆที่มีหน้าที่ช่วยเหลือผู้คนจากภัยพิบัติครับ เพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน และการทำงานร่วมกันไปในทิศทางเดียวกันครับ

    ขอเรียนเชิญทุกคนมาช่วยกัน มาระดมความคิด ระดมสมองกันในแผนงานที่พวกเราตั้งใจจะช่วยคนกันให้มากที่สุดกันครับ
     
  11. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ข้อเสนอแนะ น่าจะมีใครก็ได้เป็นศูนย์กลางการติดต่อ บางครั้งบางคนรู้เหตุการณ์ก่อนที่หนังสือพิมพ์ ทีวี วิทยุ หรือ สื่อต่างๆ จะออกข่าว

    บุคคลที่เป็นศูนย์กลางนั้นน่าจะเป็นคนที่สามารถติดต่อได้ทุกเวลา 24 ชั่วโมง แล้วสามารถติดต่อกับสื่อต่างๆ หรือหน่วยงานรัฐบาลได้ทันท่วงทีเมื่อได้รับข้อมูลภัยพิบัติ จะได้กระจายข่าวบอกประชาชนได้ทันที ลดอัตราการสูญเสียได้
     
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เห็นด้วยกับคุณ FalkMan ครับ ถ้าสื่อทั้งโทรทัศน์ วิทยุ วิทยุชุมชน และหนังสือพิมพ์ เข้าใจและเห็นความจำเป็นในการแจ้งเตือนภัย และข้อแนะนำในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติจะช่วยลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้มหาศาลครับ ถ้ามีการตั้งเครือข่ายประสานงานกันร่วมทั้ง ราชการ สื่อเอกชน และมูลนิธิ หน่วนกู้ภัยต่างๆด้วยยิ่งดีครับ

    และอีกข้อเสนอแนะอีกอย่างคือ บ.ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือนี่แหละครับที่สามารถมาช่วยตรงนี้ได้ง่ายๆด้วย การเปิดบริการพิเศษ( 24 Hr. Emergency Warning SMS Service) ยิงข้อความเตือนภัยล่วงหน้าในพื้นที่ประสบภัยผ่าน Smsของโทรศัพท์มือถือทุกเครื่องในพื้นที่ครับ เช่น กรณีที่รู้ล่วงหน้าว่ากำลังจะเกิดสึนามิที่จุดนี้ก็ส่งข้อความเตือนภัยครับ ซึ่งเทคโนโลยี่นี้ทำได้ไม่ยากครับ เพียงจะทำหรือไม่แค่นั้น เพราะตอนผมไปงานมันนี่เอกโป ผมเดินเข้างาน มีการยิงข้อความเอสเอ็มเอส แสดงความต้อนรับเข้างานได้เลยครับ ดังนั้นถ้าทางบริษัทมีความเข้าใจและเสียสละต่อสังคม ผมเชื่อว่าไม่ยากเกินไปที่จะทำครับ และถ้ามีผู้นำหนึ่งรายก็จะมีรายที่ สองและสาม จนเป็นบริการปรกติครับ ตรงนี้คาดว่าจะช่วยผู้คนได้เยอะเลยครับ
     
  13. ไทร

    ไทร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2004
    โพสต์:
    205
    ค่าพลัง:
    +771
    ต่างประเทศเขาก็ทำกันครับ อย่างชุดนี้เป็นต้น

    http://homelandcivildefense.org/view/homelandcivildefense/s141p1469.htm

    แต่ชุดนี้จะเน้นไปเรื่อง Weapons of Mass Destruction นะครับ พวกสงครามนิวเคลียร์ เคมี ชีวภาพ ทำนองนั้น ลองดูเป็นตัวอย่างก็ได้ครับ
     
  14. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    มารู้จักบ้านดิน
    <TABLE class=imageborder cellSpacing=2 cellPadding=0><TBODY><TR><TD align=middle></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE class=imageborder cellSpacing=2 cellPadding=0><TBODY><TR><TD align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>​

    [​IMG]บ้านดิน คือบ้านธรรมชาติ บ้านที่สามารถหาวัสดุจากรอบข้างนำมาสร้างเป็นบ้าน บ้านหนึ่งหลังอาจใข้ดินที่อยู่ข้างบ้านกับกับแรงกาย ค่อย ๆ ลงแรงสร้างจนกลายเป็นบ้านคุณภาพ โดยใช้ทุนเพียงเล็กน้อย

    บ้านดิน ต้องใช้แรงงานในการสร้างมาก ถึงแม้จะใช้ต้นทุนในการสร้างต่ำ บ้านดินจึงเหมาะสำหรับการลงแรงช่วยกันสร้าง อาจใช้เวลาว่างในช่วงวันหยุด มาช่วยกันสร้าง สร้างบ้านดิน 1 หลัง มีคุณค่ามากกว่าบ้าน 1 หลัง บ้านอาจจะหมายถึง มิตรภาพ, สุขภาพ, ความภูมิใจ ปลดปล่อยการเป็นทาสจากของเงินตราที่เราต้องถูกหลอกชั่วชีวิตให้ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ บ้านดินใช้ทุนน้อย แต่คุณค่ามากมายจนไม่สามารถประเมินค่าได้

    บ้านดิน คือนิยามของความสุข หนึ่งชีวิตหากต้องการมีบ้านสักหลังหนึ่งอาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิตเพื่อหาเงิน หรือใช้หนี้ ซึ่งแตกต่างจากการสร้างบ้านธรรมชาติหรือบ้านดินโดยสิ้นเชิง แค่แรงกายกับเงินอีกเพียงเล็กน้อย ในระยะเวลาไม่กี่เดือน เราสามารถมีบ้านเป็นของตนเองได้แล้ว

    [​IMG]บ้านดินที่พบเห็นมีวิธีการสร้างหลายเทคนิค ได้แก่

    แบบปั้น (Cob) เป็นเทคนิคปั้นบ้านขึ้นเป็นหลังโดยใช้ดินเหนียวผสมกับฟางข้าว ปั้นขึ้นเรื่อย ๆ บ้านที่สร้างด้วยเทคนิคนี้ สามารถก่อฝาผนังได้สูงประมาณครั้งละ 1 ฟุต ต้องรอให้ดินแห้งสนิท ถึงจะปั้นก่อชั้นต่อไปได้ บ้านดินที่สร้างด้วยเทคนิคนี้จะมีความแข็งแรงมาก กว่าเทคนิคอื่น ๆ

    แบบอิฐดิบ (Adobe Brick) เทคนิคนี้ จะใช้วิธีนำดินมาผสมกับเส้นใย เช่น แกลบ เศษหญ้า หรืออาจะใช้ฟางข้าว นำมาผสมกับโคลน และปั้นเป็นอิฐดิน และนำมาก่อเป็นฝาผนังบ้าน โดยใช้โคลนเป็นตัวประสาน วิธีการสร้างบ้านด้วยเทคนิคนี้ง่าย สามารถก่อสร้างได้รวดเร็ว มีความแข็งแรง เทคนิคนี้เป็นที่นิยมในเมืองไทย แต่อาจต้องใช้แรงงานมาก

    แบบโครงไม้(wattle&daub) เริ่มต้นทำโครงสร้างเป็นไม้สานกันเป็นตารางตาราง และนำฟางชุบด้วยโคลนโป๊ะเป็นฝาผนัง การสร้างบ้านด้วยเทคนิคนี้ สามารถสร้างได้ง่าย ใช้แรงน้อย ถ้าทำฝาผนังให้หนา มีความแข็งแรง ไม่แพ้การก่อด้วยอิฐดิบ ข้อจำกัดในเรื่องของการฉาบ อาจจะต้องฉาบหลายครั้ง ถ้าต้องการให้ฝาผนังเรียบ แห้งช้าหากอยู่ในร่ม

    แบบใช้ดินอัด (rammed earth) เป็นการก่อสร้างฝาผนังโดยทำแบบพิมพ์ แล้วนำดินเหนียวอัด เป็นฝาผนัง เทคนิคนี้ ไม่ค่อยพบในเมืองไทย แบบใช้ท่อนไม้หรือหิน (cord wood or stones) เป็นการก่อสร้างฝาผนัง โดยการนำเศษไม้หรือหิน มาก่อเป็นฝาผนังบ้าน โดยใช้ดินเป็นตัวประสาน และทำการฉาบด้วยดินอีกชั้นหนึ่ง

    แบบกระสอบทราย (sand bag) เป็นการก่อสร้างบ้านโดยใช้กระสอบใส่ทรายให้เต็มและนำมาวางเรียง อาจจะใช้ลวดหนาม เป็นตัวช่วยยึดให้กระสอบไม่เลือนไหล และฉาบด้วยดินอีกครั้ง เทคนิคนี้ มีการใช้มากในพื้นที่ ที่เกิดสงครามหรือมีการอพยบ พื้นที่ไม่สามารถเข้าไปถึงได้โดยง่าย อาจมีการส่งกระสอบทรายโดยทางเครื่องบินและส่งเจ้าหน้าที่ไปช่วยแนะนำวิธี เพียง 1 - 2 คน ก็สามารถสร้างบ้านได้ในระยะเวลาที่รวดเร็ว หลังจากที่ทิ้งกระสอบทรายลงไป ใช้เป็นเพียง 2 - 3 วัน ก็จะมีบ้านเกิดขึ้นจำนวนมาก

    เอก สล่าเอื้องจัน
    28 เมษายน 2548

    บทความนี้สามารถนำไปเผยแพร่ได้ หากอ้างถึงที่มา จะเป็นพระคุณอย่างสูง
    ที่มา http://www.baandin.com/index.php?option=com_content&task=view&id=14&Itemid=9
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2006
  15. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE style="BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=342 width="90%" bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: 1px solid; BORDER-TOP: 1px solid; BORDER-LEFT: 1px solid; BORDER-BOTTOM: 1px solid" borderColorLight=#eeeeee borderColorDark=#cccccc height=31>
    สารพันความรู้
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=23></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] คู่มือขยายพันธุ์พืช</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] การปลูกพืชระบบไฮโดรโปนิกส์</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] สารเร่งการเจริญเติบโตของพืช</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=21>[​IMG] ความรู้เกี่ยวกับหญ้าแฝก</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none">[​IMG] การเพาะเลี้ยงหนอนนก</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=20>[​IMG] เกษตรทฤษฎีใหม่</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] ก๊าซชีวภาพ</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] การทำปุ๋ยหมัก</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] การทำฝนหลวง</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=22>[​IMG] การปลูกข้าว</TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" height=20>[​IMG] การทำหญ้าหมัก

    ที่มา http://www.northernstudy.org/
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    SMS น่าจะเป็นสื่อที่ดีที่สุดสำหรับตอนนี้ เพราะคนส่วนมากจะเปิดโทรศัพท์ตลอด ส่วนวิทยุ ทีวี อินเทอร์เน็ต เราไม่ได้อยู่ด้วยตลอดเวลา

    ถ้าบริษัทมือถือให้ความร่วมมือ จะดีมาก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องมีคนที่จะแจ้งไปยังศูนย์ เช่น เมื่อเหตุการณ์ซึนามิ ที่ผ่านมาเมื่อ 17 กรกฏา ถ้ารัฐบาลอินโดนีเซียได้เตือนชาวบ้านทัน คงลดการสูญเสียได้เยอะ

    น่าจะมีการขออาสาสมัครคนเป็นศูนย์กลางภัยพิบัติ แล้วทำกันจริงๆ จังๆ ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องขอความร่วมมือระหว่างองค์กรรัฐ และ เอกชนด้วย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2006
  17. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    12 ขั้นตอนการสร้างบ้านดิน

    [​IMG]

    " บ้านดิน" สร้างเองก็ได้ง่ายจัง ไม่ต้องจ้างผู้รับเหมา ประหยัดเงินตรา และ ทรัพยากรธรรมชาติ (ไม่ต้องระเบิดภูเขา เอาปูนซิเมนต์ หรือ ทำลายป่า ตัดต้นไม้เยอะ ๆ ) ฤดูร้อนเย็นสบาย ฤดูหนาวแสนอบอุ่น (บ้านดินสามารถปรับอากาศในตัวเองได้โดยอัตโนมัติ ไม่ต้องซื้อเครื่องปรับอากาศมาติดให้เปลืองค่าไฟฟ้า) หากบริเวณบ้านของท่านมีพื้นที่ว่าง ๆ ขอเชิญท่านมาลองสร้างบ้านดินหลังเล็ก ๆ สักหลังหนึ่ง ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ ​
    [​IMG]
    1. ทดสอบเนื้อดิน นำดินใส่ในแก้วสามในสี่ส่วน เติมน้ำให้ท่วมดิน ใส่เกลือ 1 ช้อนชาคนแล้วคอยให้ตกตะกอน เพื่อสังเกตดูชั้นต่าง ๆ ของเนื้อดิน แบ่งสัดส่วนของแก้วออกเป็น 10 ส่วน สิ่งที่หนักจะตกตะกอนก่อน จะได้ กรวดหิน - -> ทราย หยาบ - - > ทรายละเอียด - - > ดินเหนียว หากชั้นดินเหนียวได้สัดส่วน 2 ในส่วน 10 ส่วน ถือว่าดินนั้นสามารถนำมาสร้างบ้านได้ จากนั้นเติมน้ำลงในดินนวดให้เหนียว ลองปั้นเป็นเส้นกลม ๆ ขนาดนิ้วมือถ้าขาดแสดงว่าดินนั้นยังใช้ไม่ได้(ดินเหนียวเหมาะสำหรับการสร้างบ้านดินที่สุด ซึ่งสามารถหาได้ทั่วไปในประเทศไทย)
    [​IMG]


    2. หาสถานที่สำหรับเตรียมอิฐดิน ควรจะเลือกทำในบริเวณใกล้ ๆ กับพื้นที่ที่ต้องการสร้างบ้าน เพราะจะลดกำลังในการขนย้ายซึ่งควรจะเป็นพื้นที่ที่พ้นจากน้ำท่วมถึง
    [​IMG]
    3. การทำอิฐดินเตรียมกระบะสำหรับผสมดินเหยียบนวดดินให้เหนียวหากดินเหนียวมากๆ ควรจะแช่น้ำทิ้งไว้หนึ่งคืนจะทำให้นวดง่ายขึ้น หากดินเหนียวมาก ๆ ให้ผสมแกลบหรือฟาง (หรือวัสดุใกล้เคียงที่หาได้ในพื้นที่) และทราย ในอัตราทีสังเกตว่าดินที่เหยียบจะไม่ติดเท้าขึ้นมาและเห็นเป็นรอยเท้าบนเนื้อดินถือว่าดินได้ที่แล้ว จากนั้นนำมาเทใส่พิมพ์ไม้ปาดให้เรียบและยกพิมพ์ขึ้นดินจะไม่ติดพิมพ์ในกรณีที่แดดดี ตากทิ้งไว้ 1 วัน จากนั้นพลิกอิฐดินตั้งขึ้น จะทำให้ดินไม่ติดพื้นและแห้งเร็วขึ้น ตากทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เมื่ออิฐดินแห้งแล้วจะมีคุณสมบัติเหมือนกับอิฐมอญที่ไว้ใช้ก่อสร้างบ้านทั่วไป ซึ่งขนาดดินที่เหมาะสมคือ หนา 4 นิ้ว กว้าง 8-10 นิ้ว ยาว 14 -16 นิ้ว (อิฐดิน 1 ก้อน = 15-20 กิโลกรัม)
    [​IMG]



    4. เตรียมปูนสำหรับโบกอิฐดิน ซึ่งเป็นตัวดินชนิดเดียวกับที่นำมาทำอิฐดิน
    [​IMG]



    5. หลังจากเลือกทำเลหนีน้ำแล้ว ต้องเทพื้นบ้านดินให้สูงพอสมควร หรืออาจสร้างเป็นบันไดสูงขั้นสองขั้น เพื่อหนีความชื้นที่ระเหยมาจากพื้นดิน และป้องกันปลวกใต้ดิน ( อย่างไรก็ดีปลวกไม่กินดิน) ซึ่งการเทฐานบ้านอาจใช้ปูนซิเมนต์เพื่อเพิ่มความแข็งแรง


    [​IMG]


    6. บ้านดินไม่ต้องใช้เสาในการก่อสร้าง เพราะอิฐดินแต่ละก้อนถือว่าเป็นกำแพงของบ้านและเสาที่มั่นคงแข็งแรง หลังจากเทพื้นแล้ว เริ่มก่อสร้างกำแพงชั้นล่างขึ้นเป็นตัวบ้าน เว้นช่องใส่หน้าต่าง ประตู ซึ่งอาจจะมีวงกบไม้หรือไม่มีก็ได้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ
    [​IMG]



    7. กรณีบ้านสองชั้นต้องรอให้กำแพงดินชั้นล่างแข็งแรงดีแล้วนำไม้เนื้อแข็ง เช่น ยูคาลิปตัส ไม้ไผ่ ฯลฯ วางพาด นำไม้กระดานแผ่นใหญ่วางรองรับด้านล่าง เทดินให้ทั่ว ๆ ปกคลุมไม้ที่วางพาดเลย
    [​IMG]



    8. ก่อสร้างหลังคา ชายคา ซึ่งอาจจะใช้ดินหรือวัสดุอื่น ๆ ก็ได้ ต้องระมัดระวังอย่างมาก เพราะน้ำเป็นอุปสรรคที่สำคัญที่สุดของบ้านดิน

    [​IMG]


    9. ฉาบกำแพง เพดานให้พื้นเรียบหรือขรุขระตามชอบ
    [​IMG]


    10. การใส่หน้าต่าง ประตู ต้องรอให้ดินแห้งสนิทเสียก่อน เพราะเมื่อดินแห้งจะหดตัวอีก หากใส่กระจกขณะที่ยังไม่แห้ง อาจทำให้กระจกแตกได้


    [​IMG]


    11. ตกแต่งทาสี แนะนำว่าเป็นสีดิน (สีที่ได้จากดิน ซึ่งมีหลายสีด้วยกัน เช่น แดง เหลือง ม่วง เทา แตกต่างกันตามท้องถิ่น) ผสมกับทรายละเอียด เพิ่มความเนียนด้วยกาวแป้งเปียกหรือยางกล้วย (วัสดุอื่น ๆ ที่หาได้ในพื้นที่)
    [​IMG]


    12. ตกแต่งภายในตามชอบสามารถปูพื้นด้วยกระเบื้องหรือปล่อยพื้นเปลือย ๆ เป็นศิลปะญี่ปุ่นก็สวยงามดี.
    ข้อมูล : นิตยสารสานแสงอรุณ ฉบับที่ 34 ก.ค. - ส.ค. 45/ </SMALL>
    ที่มา http://www.budpage.com/ba24.shtml
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ตุลาคม 2006
  18. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    นานาทัศนะเรื่องบ้านดิน

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 bgColor=#efffff border=0><TBODY><TR><TD width="1%">[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width="96%" background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/top.gif>ความคิดเห็นที่ : 1</TD><TD width="3%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/left.gif> </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px" bgColor=#efffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>ก็ดีประหยัดแต่ถ้าฝนตกหนักหลายๆวันดินมันจะไม่ยุบตัวเหรอ
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/right.gif> </TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]โดยคุณ : [FONT=MS Sans Serif, Thonburi, EucrosiaUPC, FreesiaUPC, DB ThaiText]jik [​IMG] [FONT=MS Sans Serif, Thonburi, EucrosiaUPC, FreesiaUPC, DB ThaiText]8 มกราคม 2546, 8:28 น.[/FONT] [/FONT]</TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 bgColor=#efffff border=0><TBODY><TR><TD width="1%">[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width="96%" background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/top.gif>ความคิดเห็นที่ : 2</TD><TD width="3%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/left.gif> </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px" bgColor=#efffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>ก็สนใจเหมือนกันค่ะ แต่กลัวว่าจะไม่ทนทานแข็งแรง กลัวว่าถ้าฝนตกแล้วจะพัง อยากทราบรายละเอียดและคุณสมบัติของบ้านดิน
    มากกว่านี้ค่ะ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/right.gif> </TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]โดยคุณ : tippawan [​IMG] [FONT=MS Sans Serif, Thonburi, EucrosiaUPC, FreesiaUPC, DB ThaiText]8 มกราคม 2546, 9:15 น. [/FONT]</TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 bgColor=#efffff border=0><TBODY><TR><TD width="1%">[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width="96%" background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/top.gif>ความคิดเห็นที่ : 3</TD><TD width="3%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/left.gif> </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px" bgColor=#efffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>บ้านดินจะทนทานอยู่ที่ปัจจัยสองประการ

    1.ปลูกตรงที่ดอน น้ำไม่ท่วม (หรือยกพื้นสูง)
    2.หลังคาดี ไม่รั่ว (ฝนสาดกำแพงบ้านไม่กลัว กลัวฝนรั่ว)

    ผมปลูกไว้หลังหนึ่ง ผ่านฤดูฝนหนัก ๆ มาแล้ว สบายมาก
    ตามหลักฐานบ้านดินมีความทนทานนับร้อย ๆ ปีครับ



    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/right.gif> </TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]โดยคุณ : คนมีบ้านดิน [​IMG] [FONT=MS Sans Serif, Thonburi, EucrosiaUPC, FreesiaUPC, DB ThaiText]8 มกราคม 2546, 9:18 น. [/FONT]</TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 bgColor=#efffff border=0><TBODY><TR><TD width="1%">[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width="96%" background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/top.gif>ความคิดเห็นที่ : 5</TD><TD width="3%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/left.gif> </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px" bgColor=#efffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>จากประวัติของบ้านดินที่เคยอ่าน
    เศษหนึ่งส่วนสาม ของคนในโลกอยู่ในบ้านดิน
    มีบ้านดิน หลังใหญ่มากมีอายุ 700 กว่าปี ปัจจุบันนี้ยังมีอยู่
    มีรูปภาพ เป็นหลักฐาน บ้านตึกและบ้านดินปลูกอยู่ใกล้ ๆ กัน เมื่อเกิดแผ่นดินไหว บ้านตึกพังแต่บ้านดินยังอยู่ได้ตามปกติ

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/right.gif> </TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]โดยคุณ : 9Eak [​IMG] [FONT=MS Sans Serif, Thonburi, EucrosiaUPC, FreesiaUPC, DB ThaiText]8 มกราคม 2546, 11:17 น. [/FONT]</TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>


    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 bgColor=#efffff border=0><TBODY><TR><TD width="1%">[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width="96%" background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/top.gif>ความคิดเห็นที่ : 6</TD><TD width="3%">[​IMG]</TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/left.gif> </TD><TD style="PADDING-RIGHT: 2px; PADDING-LEFT: 2px; PADDING-BOTTOM: 2px; PADDING-TOP: 2px" bgColor=#efffff><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=5 width="90%" align=center border=0><TBODY><TR><TD>บ้านดินเป็นบ้านธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้จากฝีมือมนุษย์ที่ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างขึ้นมา แต่ก็อาจถูกธรรมชาติ เช่น ฝน ลม เป็นต้น ชะล้างได้ จึงควรหาทางป้องกันอุบัติภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นได้
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/right.gif> </TD></TR><TR><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]โดยคุณ : Butter [​IMG] [FONT=MS Sans Serif, Thonburi, EucrosiaUPC, FreesiaUPC, DB ThaiText]8 มกราคม 2546, 13:33 น. [/FONT]</TD><TD background=http://www.budpage.com/webboard/images/default/bottom.gif>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา http://www.budpage.com/ba24.shtml
     
  19. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เรื่อง SMS ต้องลองส่งไอเดียไปยังบ.มือถือดูครับ ลองดูไว้ก็ไม่น่าเสียหายอะไร

    ส่วนเรื่องอาสาสมัครช่วยเรื่องภัยพิบัตินั้น อาจมีการรวมกลุ่มเป็นชมรม ในเบื้องต้นและขยายงานไปยังจังหวัดต่างๆทั่วประเทศครับ

    ความจริงแล้วอาสาสมัครตัวจริงที่ได้ลงมือทำงานนี้อยู่แล้วมีอยู่หลายคนครับ เช่น
    --คุณเกษมที่เสียสละ หาข้อมูลได้ครอบคลุมสมบูรณ์มากๆ
    --คุณMead ที่ช่วยออกไอเดียดีๆ และลงมือช่วยทำโครงการหลบภัย
    --คุณFalkManเอง ที่คอยช่วยอัพเดทและติดตามสถานการณ์นาทีต่อนาที ชั่วโมงต่อชั่วโมง
    --ทุกคน ที่ติดตามข้อมูลกระทู้เหล่านี้ เพื่อนำข้อมูลความรู้เหล่านี้ไปช่วยคนอื่นๆ ต่อไป เมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ้นอีก รวมทั้งคอยให้กำลังใจคนปั่นกระทู้ให้ข้อมูลเพื่อเป็นกำลังใจในการทำงานครับ

    ขอย้ำคำเดิมครับ ว่า มีสติ อย่าประมาท อย่ากลัว เหตุการณ์ทุกอย่างเป็นกลไกธรรมชาติ ที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป เป็นธรรมดาครับ ขอให้ตั้งมั่นในความดี และมีความสุขกับจิตใจที่ดีงามของเราเองเสมอ
     
  20. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=7>
    [​IMG]
    </TD></TR><TR bgColor=#003300 height=4 width="600"><TD colSpan=7></TD></TR><TR><TD width=35 bgColor=#ded89e></TD><TD width=4 bgColor=#003300></TD><TD width=30 bgColor=#ffffff></TD><TD width=462 bgColor=#ffffff>
    [​IMG]
    สารป้องกันยุงกัด <DD>ใช้ทาผิวหนัง เนื่องจากมีกลิ่นที่ยุงไม่ชอบ ทำให้ยุงบินหนีไปไม่เข้ามาใกล้ (มีคุณสมบัติเป็น repellent) จึงช่วยป้องกัน มิให้ยุงกัด สารนั้นอาจเป็นพิษหรือไม่เป็นพิษต่อยุงก็ได้ สารป้องกันยุงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <DD>1. สารที่สกัดได้จากพืช เช่น น้ำมันตะไคร้หอม น้ำมันจากต้นยูคาลิปตัส เป็นต้น <DD>2. สารที่สังเคราะห์ขึ้นมา เช่น N,N-diethyl-m-toluamide; 2-ethyl-1,3-hexanediol และ 1,1-carbonylbis (hexahydro-1H-azepine) เป็นต้น

    สารป้องกันยุงกัดที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้ <DD>1. ไม่เป็นอันตรายหรือทำความระคายเคืองต่อผิวหนังและอวัยวะอื่น ๆของร่างกาย <DD>2. ป้องกันยุงกัดได้เป็นเวลานานพอควร <DD>3. สามารถเก็บรักษาไว้ได้นานโดยที่คุณสมบัติไม่เปลี่ยนแปลง <DD>4. ไม่มีสี ไม่เปรอะเปื้อนเสื้อผ้า <DD>5. ไม่มีกลิ่นเหม็นรุนแรง (สำหรับคน) <DD>6. ใช้ง่ายและสะดวก <DD>7. ไม่เหนียวเหนอะหนะ ชำระล้างออกได้ง่าย <DD>8. ราคาไม่แพง

    ตัวอย่างพืชที่มีคุณสมบัติใช้ไล่ยุงหรือป้องกันยุงกัดได้ เช่น <DD>มะกรูด <DD>ไพลเหลือง <DD>สะระแหน่ <DD>กระเทียม <DD>กะเพรา <DD>ว่านน้ำ <DD>แมงลัก <DD>ตะไคร้หอม <DD>ยูคาลิปตัส <DD>ต้นไม้กันยุง
    <DD>(คลิ๊กดูที่ชื่อพืชไล่ยุงได้เลยครับ)
    <HR align=center width=462 color=black SIZE=2><DD>ที่มา http://dhf.ddc.moph.go.th/Old/herb.htm
    <DD>
    </DD></TD><TD width=30 bgColor=#ffffff></TD><TD width=4 bgColor=#003300></TD><TD width=35 bgColor=#ded89e></TD></TR><TR bgColor=#003300 height=4 width="600"><TD colSpan=7></TD></TR></TBODY></TABLE>
     

แชร์หน้านี้

Loading...