ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. หนมผิง

    หนมผิง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    46
    ค่าพลัง:
    +422
    ล่าสุด เมื่อกี้นี้ แผ่นดินไหวที่เชียงใหม่ อยู่ในตัวเมือง ได้รับ
    แรงสั่นสะเทือนแรงมาก เวลาประมาณ 12.10 น. วันที่ 19 มิย 50
     
  2. คนเก่า

    คนเก่า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    1,355
    ค่าพลัง:
    +15,055
    ข่าวเบื้องต้นประกาศ 4.5 ริคเตอร์โดยมีศูนย์กลางที่แม่ริม แต่รู้สึกเหมือนกว่า 6 ริคเตอร์
     
  3. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    เชียงใหม่ไหวแรงอีกแล้วเหรอครับ
    แรงสั่นสะเทือนถึงกรุงเทพมั๊ยคราวนี้
    ยังไม่มีประกาศข่าวเป็นทางการ ข่าวสดมากครับ
     
  4. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>แผ่นดินไหว 4.5 ริกเตอร์ ที่เชียงใหม่ ยังไม่มีรายงานความเสียหาย</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 มิถุนายน 2550 12:36 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> มีรายงานว่าเกิดเหตุแผ่นดินไหวขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ประชาชนในจังหวัดสามารถรับความรู้สึกได้ โดยวัดแรงสั่นสะเทือนได้ 4.5 ริกเตอร์ ศูนย์กลางอยู่ที่อำเภอแม่ริม ยังไม่รายงานความเสียหายแต่อย่างใด</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • chaiangmai.JPG
      chaiangmai.JPG
      ขนาดไฟล์:
      56 KB
      เปิดดู:
      357
  6. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>ระทึก! แผ่นดินไหวซ้ำเชียงใหม่ - อุตุฯ เร่งตรวจหาศูนย์กลาง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>19 มิถุนายน 2550 12:50 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left> ศูนย์ข่าวเชียงใหม่ – เกิดเหตุแผ่นดินไหวรุนแรงอีกครั้ง ชาวบ้านในเขตตัวเมืองเชียงใหม่สามารถรู้สึกได้ พร้อมได้ยินเสียงดังอย่างรุนแรง อุตุฯเร่งตรวจสอบหาศูนย์กลาง

    รายงานข่าวจากจังหวัดเชียงใหม่ แจ้งว่า เมื่อเวลาประมาณ 12.05 น.วันนี้ (19 มิ.ย.) ได้เกิดแผ่นดินไหวที่ค่อนข้างรุนแรงอีกครั้ง โดยประชาชนในเขตตัวเมืองเชียงใหม่สามารถรับรู้ได้ทั่วไป โดยรายที่อยู่ในตัวอาคารสามารถได้ยินเสียงดังอย่างรุนแรง 1 ครั้งด้วย โดยทางศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ ระบุว่า แผ่นดินไหวในครั้งนี้เกิดขึ้นเมื่อเวลา 12.06 น.มีขนาดแรงสั่นสะเทือน 4.5 ริกเตอร์ จุดศูนย์กลางอยู่ในพื้นที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ที่พิกัด 18 องศาเหนือ 99 องศาตะวันออก ซึ่งแผ่นดินไหวในครั้งนี้ถือว่าอยู่ในระดับปานกลาง ผู้ที่อยู่อาศัยในอาคารสูงสามารถรับรู้ถึงความสั่นสะเทือนได้ อย่างไรก็ตาม เบื้องต้นยังไม่มีรายงานความเสียหายและผู้ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต
    ขณะที่จากการสังเกตการณ์บริเวณโรงแรมแห่งหนึ่งย่านถนนห้วยแก้ว ในตัวเมืองเชียงใหม่ พบว่า แขกที่มาใช้บริการโรงแรมไม่ได้มีความตื่นตระหนกแต่อย่างใด คาดว่า เป็นเพราะเนื่องจากระหว่างเกิดเหตุเป็นช่วงเที่ยงที่แขกและผู้ใช้บริการโรงแรมออกไปรับประทานอาหารกันหมด นอกจากนี้ จากการสอบถามแขกรายหนึ่งที่เข้าร่วมการสัมมนาที่จัดภายในโรงแรม บอกว่า ในช่วงที่เกิดเหตุยังนั่งประชุมอยู่ภายในห้อง โดยไม่รู้สึกและไม่ทราบเลยว่าเกิดแผ่นดินไหว แต่หลังจากที่ทราบข่าวแล้วทำให้รู้สึกหวาดวิตก และไม่สบายใจเท่าใดนัก ที่จะต้องกลับเข้าไปร่วมประชุมต่อในช่วงบ่าย เพราะกลัวว่าตึกจะถล่มลงมา

    รวมถึงเมื่อวันที่ 8 มิ.ย.2550 ก็ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหว ขนาดความแรง 5.3 ริกเตอร์ โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่พรมแดนไทย-พม่า ห่างจากตัว อ.เมือง จ.เชียงราย ไปทางทิศเหนือประมาณ 90 กิโลเมตร ที่ละติจูด 20.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 99.7 องศาตะวันออก ทำให้ประชาชนในหลายพื้นที่ของ จ.เชียงราย สามารถรับทราบความรู้สึกได้ โดยที่ราษฎรในเขต อ.เมือง จ.เชียงราย ได้รับทราบแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวครั้งนี้ประมาณ 3-4 วินาที

    และเมื่อเวลา 04.30 น. 3 มิ.ย.2550 ที่ผ่านมา ก็เกิดเหตุแผ่นดินไหววัดความรุนแรงได้ 5.6 ริกเตอร์ ความลึกจากระดับผิวดิน 10 กิโลเมตร โดยมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และอยู่ห่างจาก จ.เชียงราย 294 กิโลเมตร เบื้องต้นยังไม่ได้รับรายงานความเสียหาย
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. winny

    winny เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    103
    ค่าพลัง:
    +659
    <TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width=567 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top>ผู้เชี่ยวชาญชี้แผ่นดินไหวเกิดจากแนวรอยเลื่อนผ่านใจกลางเชียงใหม่</TD></TR><TR><TD vAlign=top>19 มิถุนายน 2550 14:01 น.</TD></TR><TR><TD class=Text_Story vAlign=top><!-- [​IMG] ศูนย์วิจัยภัยพิบัติแผ่นดินไหว มช. ปฏิเสธข้อมูลกรมอุตุฯ ระบุ แผ่นดินไหวเกิดจาก แนวรอยเลื่อนใหม่ที่พาดผ่านใจกลางเชียงใหม่ แต่มองจากภาพดาวเทียมไม่เห็น เนื่องจากฝังลึกในดินตะกอนของแม่น้ำปิงทับถม ชี้ต้องเร่งศึกษาเตรียมรับมือเพราะพาดผ่านใจกลางเมืองเชียงใหม่
    (19มิย.) รศ.ดร.สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์ หัวหน้าศูนย์วิจัยภัยพิบัติแผ่นดินไหว มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ กล่าวว่า แผ่นดินไหวขนาด 4.5 ริกเตอร์ที่เกิดขึ้นครั้งล่าสุดที่มีจุดศูนย์กลางห่างจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ไปทางทิศเหนือประมาณ 3 กิโลเมตร ถือเป็นเรื่องผิดปกติเนื่องจากบริเวณดังกล่าวไม่เคยเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวมาแล้วกว่า 40 ปี แต่กลับเกิดขึ้นบ่อยครั้งในระยะนี้
    ทั้งนี้แผ่นดินไหวใน อ.แม่ริม ที่เกิดขึ้น อยู่นอกเหนือจากแนวรอยเลื่อนแม่ทาซึ่งจะอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่อำเภอดอยสะเก็ด สันกำแพง ไปจนถึง จ.ลำพูน จึงยืนยันว่าไม่ได้เกิดจากรอยเลื่อนแม่ทาตามรายงานของกรมอุตุนิยมวิทยา แต่แรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเกิดจากรอยเลื่อนที่พาดผ่านใจกลางจังหวัดเชียงใหม่จากแนวทิศเหนือไปยังทิศใต้ คือ ตั้งแต่อำเภอแม่แตง แม่ริม เมืองเชียงใหม่ ไปจนถึง อ.เมือง จ.ลำพูน
    รอยเลื่อนนี้เมื่อดูจากภาพถ่ายดาวเทียวอาจมองเห็นไม่ชัดเหมือนกับรอยเลื่อนอื่น ๆ ที่เป็นแนวร่องเขา เนื่องจากรอยเลื่อนนี้ถูกดินตะกอนจากแม่น้ำปิงถมมาเป็นเวลานานจนกลายเป็นที่ราบและทุ่งนา แต่รอยเลื่อนนี้มีข้อมูลยืนยันจากดินตะกอนที่พบใน อ.แม่แตง ซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน้ำถึง 50 เมตร ซึ่งเป็นลักษณะของการยกตัวของเปลือกโลก อย่างไรก็ตามรอยแลื่อนที่พาดผ่านใจกลางจังหวัดเชียงใหม่ยังไม่มีการตั้งชื่อ แต่เรียกกันเบื่องต้นว่า "รอยเลื่อนแม่แตง" โดยขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการศึกษาวิจัยซึ่งถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมการป้องกันภัยพิบัติในอนาคต
    ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เวลา 12.05 น. ได้เกิดแผ่นดินไหวรู้สึกได้ในทุกอำเภอของ จ.เชียงใหม่ โดยเฉพาะ อ.แม่ริม อ.เมืองและบางส่วนของ อ.เมือง จ. ลำพูน แผ่นดินไหวครั้งนี้วัดแรงสั่นสะเทือนได้ 4.5 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ บริเวณ ละติจูดที่ 18.9 องศาหนือ ลองจิจูด 99.0 องศาตะวันออก สำหรับแผ่นดินไหวครั้งนี้ เกิดจากรอยเลื่อนแม่ทา ซึ่งก่อนหน้านี้ได้เคยเกิดขึ้นมีจุดศูนย์ กลางบริเวณเดียวกันเมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2549 ขนาด 5.1 ริกเตอร์ เกิดรอยร้าวสร้างเสียหายกับบ้านเรือน ประชาชนถึง 13 หลัง ในหมู่บ้านน้ำหลง หมู่ 10 ต.สันโป่ง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ขณะที่แรงสั่นสะเทือน จากแผ่นดินไหวครั้งล่าสุดนี้ ได้ทำให้ประชาชนในหมู่บ้านดังกล่าวรวมถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ใน อาคารสำนักงานและตึกสูงพากันแตกตื่นวิ่งหนีออกมาจากตัวอาคาร อย่างไรก็ตามเบื้องต้นยังไม่มี รายงานความเสียหาย

    -->
    ศูนย์วิจัยภัยพิบัติแผ่นดินไหว มช. ปฏิเสธข้อมูลกรมอุตุฯ ระบุ แผ่นดินไหวเกิดจาก แนวรอยเลื่อนใหม่ที่พาดผ่านใจกลางเชียงใหม่ แต่มองจากภาพดาวเทียมไม่เห็น เนื่องจากฝังลึกในดินตะกอนของแม่น้ำปิงทับถม ชี้ต้องเร่งศึกษาเตรียมรับมือเพราะพาดผ่านใจกลางเมืองเชียงใหม่

    (19มิย.) รศ.ดร.สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์ หัวหน้าศูนย์วิจัยภัยพิบัติแผ่นดินไหว มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ กล่าวว่า แผ่นดินไหวขนาด 4.5 ริกเตอร์ที่เกิดขึ้นครั้งล่าสุดที่มีจุดศูนย์กลางห่างจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ไปทางทิศเหนือประมาณ 3 กิโลเมตร ถือเป็นเรื่องผิดปกติเนื่องจากบริเวณดังกล่าวไม่เคยเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวมาแล้วกว่า 40 ปี แต่กลับเกิดขึ้นบ่อยครั้งในระยะนี้
    ทั้งนี้แผ่นดินไหวใน อ.แม่ริม ที่เกิดขึ้น อยู่นอกเหนือจากแนวรอยเลื่อนแม่ทาซึ่งจะอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดเชียงใหม่ตั้งแต่อำเภอดอยสะเก็ด สันกำแพง ไปจนถึง จ.ลำพูน จึงยืนยันว่าไม่ได้เกิดจากรอยเลื่อนแม่ทาตามรายงานของกรมอุตุนิยมวิทยา แต่แรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นเกิดจากรอยเลื่อนที่พาดผ่านใจกลางจังหวัดเชียงใหม่จากแนวทิศเหนือไปยังทิศใต้ คือ ตั้งแต่อำเภอแม่แตง แม่ริม เมืองเชียงใหม่ ไปจนถึง อ.เมือง จ.ลำพูน รอยเลื่อนนี้เมื่อดูจากภาพถ่ายดาวเทียวอาจมองเห็นไม่ชัดเหมือนกับรอยเลื่อนอื่น ๆ ที่เป็นแนวร่องเขา เนื่องจากรอยเลื่อนนี้ถูกดินตะกอนจากแม่น้ำปิงถมมาเป็นเวลานานจนกลายเป็นที่ราบและทุ่งนา แต่รอยเลื่อนนี้มีข้อมูลยืนยันจากดินตะกอนที่พบใน อ.แม่แตง ซึ่งอยู่สูงกว่าระดับน้ำถึง 50 เมตร ซึ่งเป็นลักษณะของการยกตัวของเปลือกโลก อย่างไรก็ตามรอยแลื่อนที่พาดผ่านใจกลางจังหวัดเชียงใหม่ยังไม่มีการตั้งชื่อ แต่เรียกกันเบื่องต้นว่า "รอยเลื่อนแม่แตง" โดยขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการศึกษาวิจัยซึ่งถือว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเตรียมการป้องกันภัยพิบัติในอนาคต ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เวลา 12.05 น. ได้เกิดแผ่นดินไหวรู้สึกได้ในทุกอำเภอของ จ.เชียงใหม่ โดยเฉพาะ อ.แม่ริม อ.เมืองและบางส่วนของ อ.เมือง จ. ลำพูน แผ่นดินไหวครั้งนี้วัดแรงสั่นสะเทือนได้ 4.5 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ บริเวณ ละติจูดที่ 18.9 องศาหนือ ลองจิจูด 99.0 องศาตะวันออก สำหรับแผ่นดินไหวครั้งนี้ เกิดจากรอยเลื่อนแม่ทา ซึ่งก่อนหน้านี้ได้เคยเกิดขึ้นมีจุดศูนย์ กลางบริเวณเดียวกันเมื่อวันที่ 13 ธ.ค. 2549 ขนาด 5.1 ริกเตอร์ เกิดรอยร้าวสร้างเสียหายกับบ้านเรือน ประชาชนถึง 13 หลัง ในหมู่บ้านน้ำหลง หมู่ 10 ต.สันโป่ง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ ขณะที่แรงสั่นสะเทือน จากแผ่นดินไหวครั้งล่าสุดนี้ ได้ทำให้ประชาชนในหมู่บ้านดังกล่าวรวมถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ใน อาคารสำนักงานและตึกสูงพากันแตกตื่นวิ่งหนีออกมาจากตัวอาคาร อย่างไรก็ตามเบื้องต้นยังไม่มี รายงานความเสียหาย
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    http://www.komchadluek.net/2007/06/19/a001_123459.php?news_id=123459
     
  8. aew.st

    aew.st เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 ธันวาคม 2006
    โพสต์:
    66
    ค่าพลัง:
    +461
    เมื่อวานตอนเย็นข่าวบอกว่าศูนย์กลางอยู่ที่ อ.สันทราย แผ่นดินไหวคราวนี่ไม่เหมือนกับคราวที่แล้วที่แม่ริม เพราะว่าคราวนี้มันเหมือนกับถูกอัดกระแทกลงมากกว่า แต่คราวที่แล้วมันเป็นลูกคลื่นแต่มีเสียงดังก่อนเหมือนกัน ครั้งนี้ดิฉันคิดว่าแรงกว่าครั้งที่แม่ริมเสียอีก ตามความรู้สึกนะ


    แนคิดว่
     
  9. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้ทำให้เกิดแนวเลื่อน(แนวร้าว)ใหม่ครับ จากที่ลองตามไปดู

    ช่วงนี้ท่านที่อยู่ทางชียงใหม่ โดยเฉพาะตึกสูงคงต้องระมัดระวังตัวกันเอาไว้ด้วยครับ ไม่ประมาทเป็นดีครับ เตรียมเป้กระเป๋ายังชีพเอาไว้กันด้วย หาข้อมูลรับมือการเกิดแผ่นดินไหวกันเอาไว้ ฝึกสติอย่าตื่นตระหนก
     
  10. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>โยธาฯ ตรวจ ร.ร.เชียงราย หลังพบเสาร้าวจากแผ่นดินไหว</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>20 มิถุนายน 2550 12:29 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>เชียงราย - อธิบดีกรมโยธาฯ ลงพื้นที่ตรวจอาคารเรียนโรงเรียนเม็งรายวิทยาคมเมืองพ่อขุนฯ หลังเกิดรอยร้าวจากเหตุแผ่นดินไหวเดือนก่อน พบเสาตัวอาคารร้าวถึง 2 ต้น แนะเร่งซ่อมแซมด่วน

    รายงานข่าวจากจังหวัดเชียงรายแจ้งว่า นายถิรวัฒน์ กุลวณิช อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง พร้อมกับนายประพนธ์ เอี่ยมสุนทร โยธาธิการและผังเมืองเชียงราย ได้ไปตรวจสอบอาคารเรียนที่ร้าว ที่โรงเรียนเม็งรายวิทยาคม ต.นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย เมื่อวันที่ 19 มิ.ย.50 ที่ผ่านมา โดยมีนายการันต์ จันทรานันต์ ผ.อ.โรงเรียนเม็งรายวิทยาคม นำสำรวจอาคารรุ้งแก่นชาย ซึ่งเป็นอาคารเรียน 2 ชั้น ที่นักเรียนมัธยมใช้เรียนอยู่

    โดยพบว่า เสาบริเวณบันไดชั้น 2 จำนวน 2 ต้นได้แตกร้าว และมีการนำท่อนไม้ 4 ท่อนมาค้ำยันไว้ ซึ่งเป็นผลกระทบจากแผ่นดินไหว 6.3 ริกเตอร์ เมื่อวันที่ 16 พ.ค.50 ที่ผ่านมา จากการตรวจสอบพบว่า สามารถซ่อมแซมได้ แต่ต้องรีบทำ ด้วยการเสริมความแข็งแรงและอาจใช้สลิงดึงอาคารไว้ และให้ใช้งบกระทรวงศึกษาฯ เพื่อใช้เป็นที่เรียนของนักเรียนต่อไป เนื่องจากยังเป็นอาคารที่ยังมีโครงสร้างดี อีกทั้งนักเรียนไม่มีที่เรียนมากกว่านี้

    นายถิรวัฒน์ กล่าวว่า จากเหตุแผ่นดินไหวหลายครั้ง ทำให้ต้องเร่งสำรวจและให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาตรวจสอบโครงสร้างต่างๆที่เสียหาย ซึ่งครั้งนี้ตนมาตรวจแนวตลิ่งพังที่ อ.เชียงแสน จากน้ำเซาะด้วย

    ด.ช.สมบุญศักดิ์ สุริยนต์ นักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียนเม็งรายวิทยาคม กล่าวว่า ทางโรงเรียนได้สอนให้นักเรียนรับมือแผ่นดินไหวอยู่แล้ว เมื่อเกิดแผ่นดินไหวให้หลบใต้โต๊ะที่แข็งรอง เมื่อเหตุสงบให้หาทางออกจากอาคาร และห้ามใช้ลิฟต์ แล้วรอดูสถานการณ์ในที่โล่ง จนกว่าเหตุแผ่นดินไหวจะสงบ ตอนนี้ทุกคนเข้าใจดี แต่อยากให้รีบซ่อมอาคารเรียนโดยเร็ว เพราะนักเรียนกังวลเมื่อมาใช้อาคาร

    ส่วนเหตุแผ่นดินไหวที่ จ.เชียงใหม่ เมื่อ 19 มิ.ย.ที่ผ่านมา ที่วัดได้ราว 4.5 ริกเตอร์ ยังไม่มีรายงานผลกระทบเกิดขึ้นในเขตเชียงรายแต่ประการใด

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right height=10>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    เมืองไทยช่วงนี้ เจอภัยเป็นรายวันเลยนะครับ ดูแลและป้องกันตัวเองด้วยนะครับ
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ หมู่เกาะโซโลมอน ความแรง 5.0


    Map Centered at 10°S, 160°E

    <!-- insert start --> [​IMG]
    [​IMG]
    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dvag.php" coords="288,251,300,263," alt="Event us2007dvag"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dsaq.php" coords="286,250,298,262," alt="Event us2007dsaq"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007drak.php" coords="85,147,97,159," alt="Event us2007drak"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/160_-5.php" coords="178,1,318,70" alt="Map Centered at 5°S, 160°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/165_-10.php" coords="426,178,496,318" alt="Map Centered at 10°S, 165°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/160_-15.php" coords="178,427,318,497" alt="Map Centered at 15°S, 160°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/155_-10.php" coords="1,178,70,318" alt="Map Centered at 10°S, 155°E"></map>
    Earthquake List for Map 10/160 -10

    Update time = Wed Jun 20 10:00:09 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the 10/160 -10 area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/20 03:58:45</td><td align="right" nowrap="nowrap">-10.275</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 161.323</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 80.7</td><td>SOLOMON ISLANDS</td></tr></tbody></table>

     
  13. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ เกาะซามัวและตองกา -แปซิฟิคใต้ ความแรง 4.7 และ 5.1


    Map Centered at 15°S, 175°W

    <!-- insert start --> [​IMG]
    [​IMG]
    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dub5.php" coords="254,233,266,245," alt="Event us2007dub5"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dpc6.php" coords="251,294,259,302," alt="Event us2007dpc6"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/185_-10.php" coords="176,1,316,70" alt="Map Centered at 10°S, 175°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/190_-15.php" coords="422,177,492,317" alt="Map Centered at 15°S, 170°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/185_-20.php" coords="176,427,316,497" alt="Map Centered at 20°S, 175°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/180_-15.php" coords="1,177,70,317" alt="Map Centered at 15°S, 180°E"></map>
    Earthquake List for Map 10/185 -15

    Update time = Wed Jun 20 10:00:09 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the 10/185 -15 area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/19 20:36:31</td><td align="right" nowrap="nowrap">-14.759</td><td align="right" nowrap="nowrap">-174.580</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.0</td><td>SAMOA ISLANDS REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">4.7 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/14 05:29:07</td><td align="right" nowrap="nowrap">-16.441</td><td align="right" nowrap="nowrap">-174.714</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.0</td><td>TONGA</td></tr></tbody></table>

     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    แผ่นดินไหว 5.6 ริกเตอร์ตอนกลางของอิหร่าน

    เว็บไซต์ เพรส ทีวี ของทางการอิหร่านรายงานว่า เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.6 ริกเตอร์ทางตอนกลางของประเทศอิหร่าน แต่ยังไม่มีรายงานผู้บาดเจ็บหรือความเสียดายใดๆ แผ่นดินไหวครั้งนี้สามารถรับรู้แรงสั่นสะเทือนได้ในกรุงเตหะรานและพื้นที่โดยรอบ ทำให้ประชาชนในหลายเมืองตื่นตระหนก

    ด้านศูนย์วิจัยแผ่นดินไหวแห่งสถาบันธรณีฟิสิกส์ประจำมหาวิทยาลัยเตหะรานกล่าวว่า แผ่นดินไหวในครั้งนี้มีความรุนแรง 5.6 ริกเตอร์ และมีศูนย์กลางอยู่ใกล้กับเมืองคาฮัค
    (คอลัมน์:ข่าวประจำวัน)

    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">โพสต์ทูเดย์ [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">19 มิ.ย. 2550 </td></tr></tbody></table>
     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    ‘สูญเสีย’ ไม่ต่างสึนามิ ‘ภัยดินถล่ม’ ตายเฉลี่ย ‘15ศพ/ปี’

    ระยะนี้ “พายุฝน” กระหน่ำหนัก ซึ่งสำหรับในกรุงเทพฯนั้นหลาย ๆ คนอาจจะรู้สึกเป็นเรื่องดีที่ช่วยให้อุณหภูมิม็อบลดความร้อนแรงลงไปได้ระดับหนึ่ง แต่กับอีกหลาย ๆ พื้นที่ในหลาย ๆ จังหวัดนี่เป็นช่วงเวลาที่ต้องระวังภัยธรรมชาติหลายรูปแบบ ทั้งภัยลมกระโชก ภัยฟ้าผ่า ภัยน้ำท่วม และรวมถึงภัย “ดินถล่ม” ด้วย...

    “ดินถล่ม” ในไทยเกือบจะเป็นอีกหนึ่ง “ภัยประจำปี”

    คนไทยต้องเรียนรู้-ภาครัฐก็ต้องยกเครื่องการรับมือ !!

    “เป็นภัยธรรมชาติที่นับวันจะรุนแรงและส่งผลกระทบในวงกว้างมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงมีการจัดโครงการอบรม เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขและเตรียมความพร้อมในการป้องกันปัญหา” ...เป็นการระบุของ ชาติชาย สุภัควนิช กก.ผจก. บริษัท ทูพลัส เทรนนิ่งเซ็นเตอร์ จำกัด ในฐานะผู้ประสานงานจัดสัมมนาเชิงวิชาการ-ดูงานภาคสนาม “ปัญหาและการป้องกันภัยจากแผ่นดินถล่ม (Landslide)” เมื่อ 13-14 มิ.ย. ที่ผ่านมา ที่พิษณุโลกและอุตรดิตถ์ โดยมีผู้บริหารกรมโยธาธิการและผังเมือง ผู้เชี่ยวชาญศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าร่วม

    เอกวิทย์ ถิระพร รองอธิบดีกรมโยธาฯ ระบุว่า... ทางกรมมีหน้าที่ดูแลเรื่องผังเมือง ดูแลพื้นที่ก่อสร้าง การตั้งชุมชน เพื่อให้ประชาชนปลอดภัยจากภัยพิบัติต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันประชากรมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เริ่มมีการรุกเข้าไปสร้างบ้านสร้างที่ทำกินในพื้นที่เสี่ยงภัยที่จะเกิดดินถล่มกันเพิ่มขึ้น ดังนั้นทางกรมจึงให้ความสนใจในเรื่องนี้มากขึ้น โดยต้องคอยเฝ้าระวังป้องกัน รวมถึงให้ความรู้กับชาวบ้านในพื้นที่เสี่ยงภัย

    “ในการป้องกันและเฝ้าระวังภัยดินถล่มให้ได้ผลดีนั้น จำเป็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือ แลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างหน่วยงานของรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลเรื่องภัยพิบัติ และที่สำคัญจะต้องยอมรับในแนวคิดของประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงด้วย แล้วจะทำให้การทำงานนั้นง่ายขึ้น ซึ่งการแลกเปลี่ยนความคิดแบบนี้เป็นการคิดแบบบูรณาการ” ...รองอธิบดีกรมโยธาฯกล่าว ซึ่งนี่ก็เป็นที่มาของการจัดสัมมนา-ดูงาน

    หลักใหญ่ใจความคือ...เจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องต้องรู้ลึก-รู้จริงเรื่องภัยพิบัติ “ดินถล่ม” โดยละเอียดเสียก่อน จึงจะสามารถเฝ้าระวังภัย และให้ความรู้ชาวบ้านในการป้องกันภัยอย่างได้ผล

    ทั้งนี้ ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ ผู้เชี่ยวชาญมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ ระบุในงานสัมมนาว่า... ปัจจุบันดินถล่ม “เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวคนไทยและน่าเป็นห่วงอย่างมาก !!” เพราะมีการเพิ่มของประชากรมากขึ้น ทำให้เริ่มมีการขยายถิ่นที่อยู่ที่ทำกินเข้าไปในพื้นที่เสี่ยงภัยที่จะเกิดดินถล่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จึงเป็นเรื่องที่จะต้องให้ความสำคัญเป็นอย่างมาก ซึ่งดินถล่มนับว่าเป็นพิบัติภัยอย่างหนึ่งที่ส่งผลเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน

    จากสถิติทั่วโลกพบว่า...ในแต่ละปีการเกิดแผ่นดินถล่มจะทำให้คนเสียชีวิตประมาณ 1,000 ศพ และสูญเสียทรัพย์สินรวมแล้วประมาณ 10,000-20,000 ล้านเหรียญสหรัฐต่อปี

    “ในประเทศไทยนั้น ตั้งแต่ปี 2513-2549 มีผู้เสียชีวิตจากการเกิดเหตุการณ์ดินถล่มทั้งสิ้น 534 ศพ มีมูลค่าความเสียหายทางด้านทรัพย์สินราว 380 ล้านบาท เฉลี่ยแล้วมีคนตายจากดินถล่มปีละประมาณ 14-15 ศพ ถือว่าอยู่ในสถานการณ์ที่น่าเป็นห่วง !!”

    ผู้เชี่ยวชาญคนเดิมกล่าว และยังบอกอีกว่า... ถ้าลองเทียบดูกับเหตุการณ์ “สึนามิ” จะเห็นว่ามีความเสียหายที่ใกล้เคียงกัน เพราะสึนามิ 500 ปีจะเกิดขึ้นสัก 1 ครั้ง แต่ดินถล่มใหญ่ ๆ มักจะเกิดขึ้นประมาณ 5 ปี ครั้ง ดังนั้น เมื่อนำความเสียหายมาคำนวณดูแล้วภัยดินถล่มก็จะมีความรุนแรงพอ ๆ กันกับสึนามิ

    สำหรับพื้นที่เสี่ยงภัยในการเกิดดินถล่มนั้น จะเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะลาดชัน ดินมีความร่วน และมีชั้นหินที่เสี่ยงต่อการเกิดถล่มมาก อย่างเช่นชั้นหินแกรนิต หินภูเขาไฟ หินแปร เป็นต้น เมื่อมีน้ำฝนที่ตก ลงมาในปริมาณที่มากเป็นตัวกระตุ้น ก็มีโอกาสเกิดดินถล่มได้ ซึ่งนี่เป็นสาเหตุที่เกิดจากธรรมชาติ ขณะที่สาเหตุที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์เองก็มีด้วย นั่นคือการตัดไม้ทำลายป่า การใช้ประโยชน์จากที่ดิน การทำลายหน้าดินเพื่อสร้างบ้าน

    “พื้นที่ในไทยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภัยพิบัติดินถล่ม จะอยู่ทางจังหวัดภาคเหนือฝั่งตะวันตก อาทิ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง อุตรดิตถ์ ภาคใต้บางพื้นที่ เช่น ภูเก็ต กระบี่ พังงา และก็รวมถึงภาคตะวันออกบางจังหวัด คือ จันทบุรี ตราด ด้วย” ...ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ระบุ

    ด้าน รศ.ดร.วรากร ไม้เรียง ผู้เชี่ยวชาญอีกคน เสริมว่า... ปัญหาดินถล่มในประเทศไทยนั้นถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวและน่าจะรุนแรงมากขึ้น ซึ่งการเกิดภัยธรรมชาตินั้นต้องยอมรับว่าจะป้องกันได้ 100% คงเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นจึงต้องทำความเข้าใจกับภัยพิบัติต่าง ๆ ให้มากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียให้ได้มากที่สุด

    “การป้องกันและลดอัตราเสี่ยงการสูญเสียจากการเกิดภัย พิบัติดินถล่มที่ดีที่สุดก็คือ ต้องให้ชาวบ้านที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงสร้างเครือ ข่ายเพื่อเฝ้าระวังภัยกันเองโดยตรง ส่วนรัฐก็เข้าไปสนับสนุนให้ความรู้ประชาชน และจัดหาอุปกรณ์เตือนภัยที่มีเทคโนโลยีสูง ๆ ไปให้ชาวบ้าน” ...รศ.ดร.วรากร กล่าว

    ทั้งประชาชน-เจ้าหน้าที่รัฐตื่นตัวกับ “ดินถล่ม” มากขึ้น

    แม้ไม่อาจป้องกันภัยนี้ได้ 100% แต่ก็นับว่าเป็นเรื่องที่ดี

    หวังว่าปีนี้-ปีต่อ ๆ ไป คงไม่สูญเสียครั้งใหญ่อีก ?!?!?.
    (คอลัมน์:สกู๊ปหน้า 1)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">มติชน [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">20 มิ.ย. 2550</td></tr></tbody></table>
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวทางตอนเหนือ ประเทศโคลอมเบีย ความแรง 5.3


    Map Centered at 5°N, 70°W

    <!-- insert start -->
    [​IMG]
    [​IMG]

    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dvbs.php" coords="164,169,176,181," alt="Event us2007dvbs"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/290_10.php" coords="179,1,319,70" alt="Map Centered at 10°N, 70°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/295_5.php" coords="428,178,498,318" alt="Map Centered at 5°N, 65°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/290_0.php" coords="179,426,319,496" alt="Map Centered at 0°N, 70°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/285_5.php" coords="1,178,70,318" alt="Map Centered at 5°N, 75°W"></map>
    Earthquake List for Map Centered at 5°N, 70°W

    Update time = Wed Jun 20 23:00:02 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the Map Centered at 5°N, 70°W area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.3 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/20 19:04:09</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 7.050</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -72.262</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 40.0</td><td>NORTHERN COLOMBIA</td></tr></tbody></table>
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Update time = Thu Jun 21 5:01:45 UTC 2007
    <TABLE cellSpacing=1 cellPadding=1 border=0 minmax_bound="true"><TBODY minmax_bound="true"><TR minmax_bound="true"><TH minmax_bound="true"> </TH><TH align=middle minmax_bound="true">MAG </TH><TH align=middle minmax_bound="true">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </TH><TH align=middle minmax_bound="true">LAT
    deg
    </TH><TH align=middle minmax_bound="true">LON
    deg
    </TH><TH align=middle minmax_bound="true">DEPTH
    km
    </TH><TH minmax_bound="true">Region</TH></TR><TR minmax_bound="true"><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">MAP</TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">5.2 </TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">2007/06/21 04:39:17</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">46.538</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">153.219</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">10.0</TD><TD minmax_bound="true">KURIL ISLANDS</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">MAP</TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">5.1 </TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">2007/06/21 04:08:18</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">20.974</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">121.499</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">58.6</TD><TD minmax_bound="true">BATAN ISLANDS REGION, PHILIPPINES</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">MAP</TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">3.2 </TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">2007/06/21 03:28:36</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">56.344</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">-153.766</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">15.0</TD><TD minmax_bound="true">KODIAK ISLAND REGION, ALASKA</TD></TR><TR minmax_bound="true"><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">MAP</TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">4.4 </TD><TD noWrap align=middle minmax_bound="true">2007/06/21 03:23:47</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">24.236</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">122.885</TD><TD noWrap align=right minmax_bound="true">52.6</TD><TD minmax_bound="true">TAIWAN REGION</TD></TR></TBODY></TABLE>


    แผ่นดินไหวแถบๆ ญี่ปุ่น เกาหลี เริ่มบ่อยแล้ว
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ หมู่เกาะอันดามัน ทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย ความแรง 5.0


    Map Centered at 10°N, 90°E

    <!-- insert start -->
    [​IMG]
    [​IMG]

    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dwat.php" coords="340,232,352,244," alt="Event us2007dwat"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/90_15.php" coords="178,1,318,70" alt="Map Centered at 15°N, 90°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/95_10.php" coords="426,179,496,319" alt="Map Centered at 10°N, 95°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/90_5.php" coords="178,427,318,497" alt="Map Centered at 5°N, 90°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/85_10.php" coords="1,179,70,319" alt="Map Centered at 10°N, 85°E"></map>
    Earthquake List for Map Centered at 10°N, 90°E

    Update time = Thu Jun 21 9:33:27 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the Map Centered at 10°N, 90°E area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/21 08:57:46</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.302</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 92.817</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 67.2</td><td>ANDAMAN ISLANDS, INDIA REGION</td></tr></tbody></table>
     
  19. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    ปธ.ศูนย์เตือนภัยพิบัติชี้แผ่นดินไหวพยากรณ์ไม่ได้ พร้อมระบุรัฐบาลไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร

    <dd>นายสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการาศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ชี้การเกิดแผ่นดินไหวไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้ แต่ต้องให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ให้มาก พร้อมระบุที่ผ่านมารัฐบาลไม่ให้ความสนใจจัดสรรงบประมาณให้เท่าที่ควร
    </dd><dd>เมื่อเวลา 09.00 น. วันที่ 21 มิถุนายน 2550 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย โดย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดให้มีการบรรยายพิเศษเรื่อง “แผ่นดินไหวในเชียงราย ไม่ไกลอย่างที่คิด” โดย นายสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และกเทคโนโลยี ณ หอประชุมกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย โดยมี ผศ.ดร.มานพ ภาษิตวิไลธรรม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย ผศ.ฑวัส ชีวเกตุ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้การต้อนรับ พร้อมด้วย คณาจารย์ นักศึกษา นักเรียน หน่วยงานราชการ และผู้สนใจเข้ารับฟังกว่า 800 คน ทั้งนี้ การจัดบรรยายพิเศษดังกล่าวสืบเนื่องจากมีเหตุการณ์แผ่นดินไหวในพื้นที่จังหวัดเชียงรายในช่วงระยะเวลา 2 เดือนที่ผ่านมา และเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ซึ่งผู้เข้าฟังจะได้รับความรู้เกี่ยวกับการระวังป้องกันตนเอง หากเกิดภัยพิบัติขึ้นในพื้นที่ </dd><dd>
    นายสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า การเกิดแผ่นดินไหวไม่ว่าจะเป็นประเทศไหนก็ไม่สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้ แต่สามารถระวังป้องกันได้ โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ที่อยู่ในเขตรอยเลื่อน ซึ่งทั่วประเทศไทย มีรอยเลื่อนที่ค้นพบทั้งสิ้น 13 รอย ส่วนจังหวัดเชียงรายก็มีรอยเลื่อนเชียงแสน ที่เชื่อมโยงกับรอยเลื่อนแม่จัน แต่รอยเลื่อนที่น่ากลัวที่สุดคือ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และด่านเจดีย์สามองค์ ในพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี ที่มีเขื่อนขนาดใหญ่ ทั้งนี้ในส่วนของจังหวัดเชียงราย ยังมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขึ้นได้ทุกว่า การให้องค์ความรู้กับประชาชนจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นที่สุด
    </dd><dd>
    นายสมิทธ ธรรมสโรช ประธานอำนวยการศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ และที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวอีกว่า ที่ผ่านมาได้มีการติดตั้งเครื่องเตือนภัยหลายจุด เช่น ที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ก็ติดตั้งไว้แล้วแต่ยังไม่มีการทดลองใช้ นอกจากนั้นยังมีการจัดตั้งศูนย์เตือนภัยแผ่นดินไหว แต่ก็ยังไม่ได้ทำอะไรมากเท่าที่ควรเนื่องจากไม่มีงบประมาณจากรัฐบาลมาสนับสนุน เพราะจะต้องทำการสำรวจรอยเลื่อนต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้งบประมาณไม่เกิน 200 ล้านบาท หากปล่อยให้เกิดขึ้นแล้วบางครั้งต้องใช้งบประมาณในการฟื้นฟูกว่า 10,000 ล้านบาท จึงอยากให้รัฐบาลให้ความสนใจในเรื่องนี้ให้มากขึ้น
    </dd> (คอลัมน์:ภูมิภาค)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">21 มิ.ย. 2550 </td></tr></tbody></table>
     
  20. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ ประเทศชิลี ความแรง 5.1


    Map Centered at 30°S, 70°W

    <!-- insert start --> [​IMG]
    [​IMG]
    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007dwau.php" coords="198,301,210,313," alt="Event us2007dwau"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/290_-25.php" coords="162,1,302,70" alt="Map Centered at 25°S, 70°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/295_-30.php" coords="394,178,464,318" alt="Map Centered at 30°S, 65°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/290_-35.php" coords="162,429,302,499" alt="Map Centered at 35°S, 70°W"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/285_-30.php" coords="1,178,70,318" alt="Map Centered at 30°S, 75°W"></map>
    Earthquake List for Map 10/290 -30

    Update time = Thu Jun 21 12:31:30 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the 10/290 -30 area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/21 09:54:55</td><td align="right" nowrap="nowrap">-31.674</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -70.955</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 54.0</td><td>COQUIMBO, CHILE</td></tr></tbody></table>

     

แชร์หน้านี้

Loading...