ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อเวลา 14:57 น. เวลาไทย

    [​IMG]

    SPAM 3D

    .
     
  2. opside

    opside เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ธันวาคม 2012
    โพสต์:
    56
    ค่าพลัง:
    +211
    ขอบคุณ คุณ hiflyer และ คุณ Falkman
    สําหรับข้อมูล ข่าวสารครับ
     
  3. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    จากเหตุการณ์อุกกาบาตตกที่รัสเซียเมื่อ 15 กพ 2013 นักดาราศาสตร์ได้ศึกษาเพื่อหาที่มา และได้เค้าว่า น่าจะเศษของอุกกาบาตที่แตกออกมามาจาก NEO ที่ชื่อ 2011 EO40 โดยชิ้นส่วนที่แตกออกมามีขนาดประมาณ 18 เมตร จากก้อนใหญ่ของ 2011 EO40 ที่มีขนาด 150-330 เมตร และเป็นไปได้ว่าในอนาคต โลกเราอาจต้องเผชิญกับเหตุการณ์นี้ซ้ำอีก

    [​IMG]


    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    .
     
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/iWgorhVVbRs?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    .
     
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    หาข้อมูลมาให้ดูว่า มันก็มีส่วนอย่างที่นักดาราศาสตร์เขาตั้งข้อสมมุติฐานไว้

    จุดตัดวงโคจร ของโลกกับ 2011 EO40 มี 2 จุด บนระนาบวงโคจรของโลก และในช่วงวันที่ 15 กพ 2013 โลกเรากำลังโคจรผ่านใกล้จุดตัดนั้นพอดี

    [​IMG]

    วงโคจรของ 2011 EO40 เกือบจะอยู่ในระนาบเดียวกับดาวเคราะห์เลยนะครับ

    [​IMG]

    ไม่ใช่ 2011 EO40 จะมาชนโลกนะครับ แต่เนื่องจากวงโคจรทับกัน โลกเราเลยมีโอกาสโดนลูกหลงจากเศษอุกกาบาตที่แตกออกมาจากก้อนใหญ่ เข้าอีกสักวัน

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  6. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    [​IMG]

    [​IMG]

    เมื่อวันที่ 4 สค ที่ผ่านมา ได้ตรวจพบอุกกาบาตใหม่ ( 2013 PJ10 ) ในระยะประชิดตัวมาก

    .
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    2013 PS13 เพิ่งตรวจพบ เมื่อวาน ( 7 สค ) กำลังจะผ่ากลางวงโคจรระหว่างโลกกับดวงจันทร์ ในวันพรุ่งนี้ ( 9 สค )


    [​IMG]

    .
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    2013 PS13 จะผ่านเฉียดโลกไปในเวลา 12:23 น. เวลาไทย


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Cool video of NEA 2013 PS13 as it flies by Earth (made by its discovery team at La Sagra, Spain)

    La Sagra Sky Survey

    .
     
  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อเวลา 11:36 น. เวลาไทย


    [​IMG]

    SPAM 3D

    .
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อเวลา 13:42 น. เวลาไทย

    [​IMG]


    PERSEID METEOR SHOWER INTENSIFIES: The Perseid meteor shower is intensifying as Earth moves deeper into the debris stream of parent comet 109P/Swift-Tuttle. International observers are reporting as many as 30 Perseids per hour from dark sky sites, a rate which could triple on August 12-13 when the shower peaks. The best time to look is during the dark hours between local midnight and sunrise

    .
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    19:18 น เวลาไทยครับ

    [​IMG]

    .
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อเวลา 10:00 น (ไทย) ช่วงนี้อุกกาบาตเล็กๆน้อย และเศษฝุ่นละอองของดางหาง Swift-Tuttle 1862 ถูกดูดเข้ามาในชั้นบรรยากาศโลกค่อนข้างเยอะ

    [​IMG]

    ภาพฝนดางตก Perseus ครับ

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ดูสวยดี แต่แฝงไว้ด้วยมหันตภัย !

    [​IMG]


    Explanation : Are asteroids dangerous? Some are, but the likelihood of a dangerous asteroid striking the Earth during any given year is low. Because some past mass extinction events have been linked to asteroid impacts, however, humanity has made it a priority to find and catalog those asteroids that may one day affect life on Earth. Pictured above are the orbits of the over 1,000 known Potentially Hazardous Asteroids (PHAs). These documented tumbling boulders of rock and ice are over 140 meters across and will pass within 7.5 million kilometers of Earth -- about 20 times the distance to the Moon. Although none of them will strike the Earth in the next 100 years -- not all PHAs have been discovered, and past 100 years, many orbits become hard to predict. Were an asteroid of this size to impact the Earth, it could raise dangerous tsunamis, for example. Of course rocks and ice bits of much smaller size strike the Earth every day, usually pose no danger, and sometimes creating memorable fireball and meteor displays.

    ภาพนี้ได้มาจาก การนำวงโคจรของอุกกาบาตที่คาดว่าจะเป็นอันตรายต่อโลกเรา 1,000 ดวง ที่มีขนาดมากกว่า 140 เมตร และห่างจากโลกไม่เกิน 20 LD (ระยะทางจากโลกถึงดวงจันทร์) มาพล๊อตไว้รวมกัน

    .
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    ปีนี้ โดยเฉลี่ย ทุก 11 นาที 30 วินาที มีการค้นพบ Asteroid ใหม่ๆ หนึ่งดวง !!!

    .
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    มารู้จัก ISON กัน

    นักดาราศาสตร์ได้พบดางหางดวงใหม่ C/2012 (ISON) ไอซ่อน

    ปัจจุบันนี้ อยู่ไกลออกไปจากวงโคจรของดาวพฤหัส ดาวหางไอซ่อนนี้กำลังวิ่งไปหาดวงอาทิตย์ปีหน้า (2013) ในเดือนพฤศจิกายน 2013. และจะอยู่ใกล้พื้นผิวดวงอาทิตย์มาก ระยะทางน้อยกว่า 0.012 AU (ประมาณ 1.8 ล้านไมล์) และจะทำให้เกิดความร้อนมาก มันจะกลายเป็นดาวหางที่สว่างมากสามารถมองได้ด้วยตาเปล่า

    ตอนนี้ (หมายถึงปีที่แล้วเดือนกันยา 2012) ยังไม่ทราบว่าดาวหางนี้จะเป็นอย่างไร แต่นักดาราศาสตร์ของนาซ่า ที่อยู่ในโครงการดาวหางที่พุ่งชนดวงอาทิตย์ Karl Battams บอกว่า มีความน่าจะเป็นได้ 2 อย่าง

    "ในกรณีที่ดีที่สุดคือ ดาวหางจะใหญ่ สว่าง และเดินทางไปใกล้ดวงอาทิตย์ในเดือนพฤศจิกายน (2013) มันจะสว่างมากๆ และมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าแถวซีกโลกทางเหนือเป็นเวลาอย่างน้อย 2 เดือน"

    "อีกกรณี คือ ดาวหางจะละลายหายไป อย่างเช่น ดาวหางอิลินิน หรือว่าอาจจะเป็นดาวหางใหม่ที่วิ่งเข้าหาดวงอาทิตย์ และน้ำแข็งของดาวหางอาจะละลายไป ก่อนที่จะเข้าถึงดวงอาทิตย์"

    Battam บอกว่า "ไม่ว่ากรณีไหน ไม่ต้องเดาเลยว่า ดาวหางไอซ่อนนี้จะถูกจับตาอย่างใกล้ชิด เพราะว่าดาวหางนี้ตอนนี้อยู่ไกล ถึงอย่างไรก็ตามความรู้ของพวกเราไม่สามารถบอกอะไรได้ตอนนี้ แต่อาจบอกได้ในหลายเดือนต่อ
    ไป" (พูดไว้เดือน กันยา 12)

    ตอนนี้นักวิจัย John Bortle ได้ชี้ให้เห็นจุดที่น่าสงสัย คือ วงโคจรของดาวหางไอซ่อนนี้ มันคล้ายกับดาวหาง Great comet ในปี 1680 "เดาเอาล้วนๆ" เค้าบอกว่า "บางทีดาวหางสองดวงนี้อาจเป็นดวงเดียวกันที่วิ่งเคยวิ่งมาก่อนหน้านี้มาครบรอบอีกหน"


    BIG SUN-DIVING COMET DISCOVERED: Astronomy forums are buzzing with speculation about newly-discovered Comet C/2012 S1 (ISON). Currently located beyond the orbit of Jupiter, Comet ISON is heading for a very close encounter with the sun next year. In Nov. 2013, it will pass less than 0.012 AU (1.8 million km) from the solar surface. The fierce heating it experiences then could turn the comet into a bright naked-eye object.

    [​IMG]

    Comet ISON photographed by E. Guido, G. Sostero & N. Howes on Sept. 24. [more]

    Much about this comet--and its ultimate fate--remains unknown. "At this stage we're just throwing darts at the board," says Karl Battams of the NASA-supported Sungrazer Comet Project, who lays out two possibilities:

    "In the best case, the comet is big, bright, and skirts the sun next November. It would be extremely bright -- negative magnitudes maybe -- and naked-eye visible for observers in the Northern Hemisphere for at least a couple of months."

    "Alternately, comets can and often do fizzle out! Comet Elenin springs to mind as a recent example, but there are more famous examples of comets that got the astronomy community seriously worked up, only to fizzle. This is quite possibly a 'new' comet coming in from the Oort cloud, meaning this could be its first-ever encounter with the Sun. If so, with all those icy volatiles intact and never having been truly stressed (thermally and gravitationally), the comet could well disrupt and dissipate weeks or months before reaching the sun."

    "Either of the above scenarios is possible, as is anything in between," Battams says. "There's no doubt that Comet ISON will be closely watched. Because the comet is so far away, however, our knowledge probably won't develop much for at least a few more months."

    Meanwhile, noted comet researcher John Bortle has pointed out a curious similarity between the orbit of Comet ISON and that of the Great Comet of 1680. "Purely as speculation," he says, "perhaps the two bodies could have been one a few revolutions ago."

    Stay tuned for updates.

    Spaceweather.com Time Machine
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • test4580.gif
      test4580.gif
      ขนาดไฟล์:
      6.7 KB
      เปิดดู:
      469
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    การกลับมาของ Great Coment 1680

    [​IMG]
    The Great Comet of 1680 over Rotterdam
    Discovery
    Discovered by Gottfried Kirch
    Discovery date 1680-11-14
    Alternative
    designations Great Comet of 1680, 1680 V1
    Orbital characteristics A
    Epoch 1680-Nov-29.0
    2335000.5(?)
    Aphelion 889 AU
    Perihelion 0.00622 AU[1][2]
    Semi-major axis 444 AU
    Eccentricity 0.999986[1][2]
    Orbital period ~10,000 yr[3]
    Inclination 60.7°
    Last perihelion 1680-12-18[1][2]
    Next perihelion unknown

    C/1680 V1, also called the Great Comet of 1680, Kirch's Comet, and Newton's Comet, has the distinction of being the first comet discovered by telescope. It was discovered by Gottfried Kirch on 14 November 1680, New Style, and became one of the brightest comets of the 17th century – reputedly visible even in daytime – and was noted for its spectacularly long tail.[4] Passing 0.42 AUs from Earth on 30 November 1680,[5] it sped around an incredibly close perihelion of 0.0062 AU (930,000 km; 580,000 mi) on 18 December 1680, reaching its peak brightness on 29 December as it rushed outward again.[2][5] It was last observed on 19 March 1681.[1] As of September 2012 the comet was about 253 AU from the Sun.[6]

    While the Kirch Comet of 1680–1681 was discovered and subsequently named for Gottfried Kirch, credit must also be given to Eusebio Kino, the Spaniard Jesuit priest who charted the comet’s course. During his delayed departure for Mexico, Kino began his observations of the comet in Cádiz in late 1680. Upon his arrival in Mexico City, he published his Exposisión [sic] astronómica de el cometa (Mexico City, 1681) in which he presented his findings. Kino’s Exposisión astronómica is among the earliest scientific treatises published by a European in the New World.[7]

    Although it was undeniably a sungrazing comet, it was probably not part of the Kreutz family.[8] Aside from its brilliance, it is probably most noted for being used by Isaac Newton to test and verify Kepler's laws.[9]

    Great Comet of 1680 - Wikipedia, the free encyclopedia
     

แชร์หน้านี้

Loading...