มาใหม่หน้าท้าย!! กริ่งมปร ปี15,เหรียญหลวงปู่ทวดปี12,พุทโธหลวงปู่สังวาลย์

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย SPARTANS, 15 พฤษภาคม 2013.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. Specialized

    Specialized ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กุมภาพันธ์ 2006
    โพสต์:
    22,155
    กระทู้เรื่องเด่น:
    23
    ค่าพลัง:
    +83,359
    องค์นี้ยังมีอีกเปล่าครับ ถ้าหลุดจองผมขอต่อคิวนะครับ
     
  2. HG_junior

    HG_junior Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2013
    โพสต์:
    40
    ค่าพลัง:
    +71
    โอนเงินแล้วครับ

    พระสมเด็จฟ้าหลั่ง รุ่นแรก หลวงปู่ ครูบาอิน อินฺโท
    จองครับ
     
  3. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    [​IMG]

    [​IMG]
    หลวงพ่อดาบส อธิษฐานจิตครบไตรมาสในปีพ.ศ.๒๕๒๘ เปี่ยมไปด้วยพุทธคุณครับ องค์เล็กพอๆกับพระคำข้าว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 เมษายน 2017
  4. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ เนื้อทองกายสิทธิ์ อุดผงจักรพรรดิ์
    ความเป็นมาของการจัดสร้างพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ เพื่อน้อมถวายพระราชกุศลแด่พระญาณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้าและพระบูรพกษัตราธิราชเจ้าแห่งแผ่นดินไทยทุกพระองค์ ตลอดจนถึงผู้ที่มีพระคุณต่อผืนแผ่นดินไทยทุกท่าน
    พระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องแบบพระมหากษัตริย์หรือแบบพระมหาจักรพรรดิ พระอิริยาบทนั่งขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา
    ในพระหัตถ์ซ้ายมีมณีรัตนะ คือ มณีแก้ว หมายถึงความสว่างไสว
    และหมายถึงพระปัญญาธิคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงแจ้งแล้วในโลก
    พระหัตถ์ขวาวางหงายบนพระชานุ หมายถึงการให้อภัยทาน อันเป็นทานที่ประเสริฐยิ่งนัก
    อีกประการหนึ่ง ในบรรดาทานทั้งหมดทั้งมวล
    เปรียบเสมือนพระมหากรุณาธิคุณที่ประทับอยู่ในพระทัยขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ทรงประทับบนดอกบัว อันหมายถึงพระบริสุทธิคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ด้านหลังจารึกคำว่า เจ้าฟ้านเรศ
    อันหมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้า
    วีรกษัตริย์ไทยผู้เกรียงไกร ผู้ทรงกอบกู้เอกราชแห่งชาติไทย
    ให้ลูกหลานได้อยู่สุขสบายจนตราบเท่าทุกวันนี้

    ประกอบกับได้มีการจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์
    ศิลปะล้านนาตอนต้น (พระสิงห์ ๑)
    เนื้อหินหยกสีน้ำผึ้ง ขนาดหน้าตัก ๔๓ นิ้ว
    และพระวิหารทรงล้านนาอันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปดังกล่าว
    ณ วัดป่าดาราภิรมย์ (พระอารามหลวง) อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
    อันทีพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระโสภณธรรมสาร (หลวงพ่อฤทธิรงค์ ญาณวโร)
    เจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ (พระอารามหลวง)
    และพระเดชพระคุณพระวรงคต วิริยธโร (หลวงตาม้า)
    เจ้าอาวาสวัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ)
    ลูกศิษย์ พระเดชพระคุณหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
    เป็นประธานการจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์
    และพระวิหารตามวัตถุประสงค์เพื่อน้อมเกล้าถวายเป็นพระราชกุศล
    แด่พระญาณองค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้า
    และพระญาณของบูรพกษัตราธิราชเจ้าแห่งแผ่นดินไทยทุกพระองค์ในอดีต
    ตลอดจนถึงดวงวิญญาณของผู้มีพระคุณต่อผืนแผ่นดินไทยทุกท่าน

    ทั้งนี้ ในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๐
    ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของพระเดชพระคุณพระวรงคต (หลวงตาม้า)
    คณะศิษยานุศิษย์จึงกราบเรียนขออนุญาตสร้างวัตถุมงคลพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ
    ณ วัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ) เพราะมักจะมีผู้รู้กล่าวไว้ว่า
    ณ ถ้ำเมืองนะแห่งนี้ เป็นสถานที่สวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้า
    ด้วยหลักฐานหลายอย่างพอจะน่าเชื่อถือและเป็นไปได้
    แต่ทั้งนี้ ก็ต้องรอผู้ที่มีความรู้ ความสามารถมาพิสูจน์ให้แน่ชัดอีกครั้ง
    การจัดสร้างพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศมีวัตถุประสงค์การจัดสร้างทั้งหมดทั้งมวลดังนี้
    เพื่อเป็นการสืบอายุพระพุทธศาสนา
    โดยผู้ที่บูชาพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศน้อมนำเอาพระพุทธเจ้าเป็นสรณะของจิตใจ
    เพื่อเทิดทูนพระเกียรติยศแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์
    อันเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยทุกหมู่เหล่า
    เพื่อนำปัจจัยจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์หยกสีน้ำผึ้ง
    ขนาดหน้าตัก ๔๓ นิ้ว
    เพื่อประดิษฐาน ณ วัดป่าดาราภิรมย์ (พระอารามหลวง) อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
    เพื่อนำปัจจัยสร้างพระวิหาร
    เพื่อประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์หยกสีน้ำผึ้ง ขนาดหน้าตัก ๔๓ นิ้ว
    เพื่อนำปัจจัยเข้ากองทุนพุทธพรหมปัญโญ
    ของวัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ) อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

    ชนวนโลหะที่นำมาใช้ในการหล่อพระกริ่งในครั้งนี้ เพื่อให้เป็นสิริมงคลอย่างสูงสุด ทางผู้สร้างจึงได้พยายามรวบรวมแผ่นยันต์ และวัตถุมงคล อีกทั้งมีผู้ร่วมมอบชนวนสำคัญต่างๆดังนี้

    ๑. แผ่นยันต์ที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากครูบาอาจารย์หลายๆท่าน
    ลำดับที่ รายนามพระคณาจารย์ วัด จังหวัด
    ๑ หลวงปู่หลอด วัดใหม่เสนานิคม กรุงเทพฯ
    ๒ หลวงพ่อมหาโพธิ์ วัดคลองมอญ ชัยนาท
    ๓ พระครูวิจิตร (จวบ) วัดพลับ กรุงเทพฯ
    ๔ หลวงปู่ปลื้ม วัดสวนหงษ์ สุพรรณบุรี
    ๕ ครูบาดวงดี วัดท่าจำปี เชียงใหม่
    ๖ หลวงปู่แป้น วัดไทรงาม สุพรรณบุรี
    ๗ ครูบาบุญปั๋น วัดร้องขุ้ม เชียงใหม่
    หลวงพ่อสังวาล วัดทุ่งสามัคคีธรรม สุพรรณบุรี
    ๙ ครูบาขัน สุสานไตรลักษณ์ แม่วาง เชียงใหม่
    ๑๐ พระครูภาวนาวรคุณ วัดเขาพระ สระบุรี
    ๑๑ ครูบาตั๋น สำนักสงฆ์ดอยม่อนปู่อิ่น เชียงใหม่
    ๑๒ หลวงปู่นาค วัดหนองโป่ง สระบุรี
    ๑๓ ครูบาคำตั๋น วัดสันทรายหลวง เชียงใหม่
    ๑๔ หลวงปู่เจียม วัดอินทราวาสุการาม สุรินทร์
    ๑๕ ครูบาเผือก วัดไชยสถาน เชียงใหม่
    ๑๖ หลวงปู่ถม วัดเชิงท่า ลพบุรี
    ๑๗ ครูบาอิ่นคำ วัดข้าวแท่นหลวง เชียงใหม่
    ๑๘ ครูบาหล้า วัดป่าลาน เชียงใหม่
    ๑๙ ครูบาผัด วัดศรีดอนมูล เชียงใหม่
    ๒๐ หลวงพ่อดาบส อาศรมไผ่มรกต เชียงราย
    ๒๑ ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ลำพูน
    ๒๒ ครูบาคำปัน วัดพระธาตุผาหนาม ลำพูน
    ๒๓ ครูบาอินตา วัดห้วยไช ลำพูน
    ๒๔ หลวงปู่สี วัดพระฉาย (เขาชะโงก) นครนายก
    ๒๕ หลวงปู่ผาง วัดป่าบ้านนายม มุกดาหาร
    ๒๖ หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ศรีสะเกษ
    ๒๗ พระอาจารย์จ่อย วัดป่าหนองล่ม สระแก้ว
    ๒๘ หลวงพ่อธรรมยุต วัดหนองแท่นพระ ปราจีนบุรี
    ๒๙ หลวงปู่ทองมี วัดนิคมวนาราม ยโสธร
    ๓๐ หลวงปู่ทองสี วัดสุทธิมงคล ยโสธร
    ๓๑ หลวงปู่สอ วัดป่าหนองแสง ยโสธร
    ๓๒ หลวงปู่เหรียญ วัดอรัญบรรพต หนองคาย
    ๓๓ หลวงปู่ตี๋ วัดหลวงราชาวาส อุทัยธานี
    ๓๔ หลวงน้าสายหยุด วัดสะแก อยุธยา
    ๓๕ หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล อยุธยา
    ๓๖ หลวงพ่อรวย วัดตระโก อยุธยา
    ๓๗ หลวงปู่ชม วัดนางใน อ่างทอง
    ๓๘ หลวงปู่ศรี วัดป่ากุง ร้อยเอ็ด
    ๓๙ หลวงปู่บุญมี วัดสระประสานสุข อุบลราชธานี
    ๔๐ หลวงปู่จันทา วัดป่าเขาน้อย พิจิตร

    ๒ . แผ่นยันต์ที่ครูบาอาจารย์ทั้งหลายท่านได้เมตตามอบให้เพื่อนำเป็นชนวน
    ลำดับที่ รายนามพระคณาจารย์ วัด จังหวัด
    ๑ หลวงพ่อพูน (๑ แผ่น) วัดบ้านแพน อยุธยา
    หลวงพ่อหวล (๓ แผ่น) วัดพุทไธศวรรย์ อยุธยา
    ๓ หลวงพ่อเอียด (๑ แผ่น) วัดไผ่ล้อม อยุธยา
    ๔ หลวงพ่อหมื่นอุดม (๑ แผ่น) วัดตูม อยุธยา
    ๕ หลวงพ่อเพิ่ม (๑ แผ่น) วัดป้อมแก้ว อยุธยา
    ๖ หลวงพ่อพุฒ (๓ แผ่น) วัดขนอนเหนือ อยุธยา
    ๗ หลวงพ่ออุดม (๑ แผ่น) วัดพิชัยสงคราม อยุธยา
    ๘ พระอาจารย์ธรรมนูญ (๓ แผ่น) วัดมณีชลขัณฑ์ ลพบุรี
    ๙ พระครูวินัยธรนิพนธ์ (๓ แผ่น) วัดกล้วย อยุธยา
    ๑๐ หลวงปู่บุญ (๓ แผ่น) วัดหัวเขา ลพบุรี
    ๑๑ เจ้าคุณไวทย์ (๓ แผ่น) วัดพนัญเชิง อยุธยา
    ๑๒ หลวงพ่อเพี้ยน (๓ แผ่น) วัดเกริ่นกฐิน ลพบุรี
    ๑๓ หลวงปู่ชื้น (๑ แผ่น) วัดญาณเสน อยุธยา
    ๑๔ หลวงปู่เทพ (๑ แผ่น) วัดป่าเทพเนรมิต ลพบุรี
    ๑๕ หลวงปู่ทิม (๑ แผ่น) วัดพระขาว อยุธยา
    ๑๖ หลวงปู่นนท์ (๑ แผ่น) วัดเหนือวน ราชบุรี
    ๑๗ หลวงปู่สวัสดิ์ (๑ แผ่น) วัดศาลาปูน อยุธยา
    ๑๘ หลวงพ่อน้อย (๑ แผ่น) วัดไผ่ท่าโพธิ์ใต้ พิจิตร
    ๑๙ หลวงพ่ออุตตมะ (๔ แผ่น) วัดวังก์วิเวการาม กาญจนบุรี
    ๒๐ หลวงตาพวง (๒ แผ่น) วัดศรีธรรมาราม ยโสธร
    ๒๑ ครูบาเที่ยงธรรม (๓ แผ่น) วัดเวฬุวัน ศรีสะเกษ
    ๒๒ หลวงปู่สรวง (๑ แผ่น) วัดศรีฐานใน ยโสธร
    ๒๓ หลวงพ่อสุทัศน์ (๑ แผ่น) วัดกระโจมทอง นนทบุรี
    ๒๔ หลวงพ่อดุล (๓ แผ่น) สำนัดสงฆ์คงคำโคกทม บุรีรัมย์
    ๒๕ หลวงปู่ชื่น (๒ แผ่น) วัดตาอี บุรีรัมย์
    ๒๖ หลวงพ่อสิริ (๓ แผ่น) วัดตาล นนทบุรี
    ๒๗ หลวงปู่สินธุ์ (๓ แผ่น) วัดสะพานสูง นนทบุรี
    ๒๘ หลวงปู่ธีร์ (3 แผ่น) วัดจันทราวาส บุรีรัมย์
    ๒๙ หลวงปู่จันทร์แรม (๑ แผ่น) วัดเกาะแก้วธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    ๓๐ หลวงปู่ฤทธิ์ (๒ แผ่น) วัดชลประทานราชดำริ บุรีรัมย์
    ๓๑ หลวงปู่เหลือง (๑ แผ่น) วัดกระดึงทอง บุรีรัมย์
    ๓๒ หลวงปู่จุ่ม (๑ แผ่น) วัดป่ารักษ์น้ำ ธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    ๓๓ หลวงพ่อสิริ (๑ แผ่น) ศูนย์ฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติด ชัยภูมิ
    ๓๔ อาจารย์ศุภรัตน์ แสงจันทร์ (๑ แผ่น) บ้านพุทธฉัตร อยุธยา
    ๓๕ หลวงปู่คำพันธ์ (๑ แผ่น) วัดธาตุมหาชัย นครพนม
    ๓๖ หลวงปู่พวง (๑๒ แผ่น) วัดป่าปูลู อุดรธานี
    ๓๗ หลวงปู่จันทร์โสม (๑ แผ่น) วัดป่านาสีดา อุดรธานี
    ๓๘ หลวงปู่หรุ่ม (๑ แผ่น) วัดบางจักร อ่างทอง
    ๓๙ หลวงปู่ชุป (๔ แผ่น) วัดหนองเต่าทอง สุพรรณบุรี
    ๔๐ ครูบาอินทร (๔ แผ่น) วัดสันป่ายางหลวง ลำพูน
    ๔๑ ครูบาอินตา (๔ แผ่น) วัดวังทอง ลำพูน
    ๔๒ ครูบาสุข (๑ แผ่น) วัดป่าซางน้อย ลำพูน
    ๔๓ ครูบากฤษดา (๖ แผ่น) วัดสันพระเจ้าแดง ลำพูน
    ๔๔ ครูบาอริยชาติ (๘๖ แผ่น) วัดวังมุย ลำพูน
    ๔๕ หลวงพ่อบุญรัตน์ (๑ แผ่น) วัดโขงขาว เชียงใหม่
    ๔๖ ครูบาน้อย (๓ แผ่น) วัดศรีดอนมูล เชียงใหม่
    ๔๗ ครูบาดวงดี (๔ แผ่น) วัดบ้านฟ่อน เชียงใหม่
    ๔๘ ครูบาอิน (๑ แผ่น) วัดทุ่งปุย เชียงใหม่
    ๔๙ ครูบาเทือง (๒ แผ่น) วัดบ้านเด่น เชียงใหม่
    ๕๐ หลวงตาม้า (๓ แผ่น) วัดพุทธพรหมปัญโญ เชียงใหม่
    ๕๑ ครูบาจันทร์ (๑ แผ่น) วัดสันเจดีย์ริมปิง เชียงใหม่
    ๕๒ หลวงพ่อแดง (๓ แผ่น) วัดแม่ฮ่องไคร้ เชียงใหม่
    ๕๓ หลวงปู่ลี (๒ แผ่น) วัดเอี่ยมวนาราม อุบลราชธานี
    ๕๔ หลวงปู่สังข์ (๓ แผ่น) วัดบ้านท่าช้างใหญ่ อุบลราชธานี
    ๕๕ หลวงปู่สวน (๓ แผ่น) วัดนาอุดม อุบลราชธานี
    ๕๖ พระโพธินันทมุนี (๒ แผ่น) วัดบูรพาราม สุรินทร์
    ๕๗ หลวงปู่ธรรมรังษี (๓ แผ่น) วัดพระพุทธบาทเขาพนมดิน สุรินทร์
    ๕๘ หลวงปู่หงส์ (๒ แผ่น) วัดเพชรบุรี สุรินทร์
    ๕๙ หลวงพ่อประวิทย์ (๑ แผ่น) วัดหนองจระเข้ ปราจีนบุรี
    ๖๐ หลวงปู่วาส (๓ แผ่น) วัดสะพานสูง นนทบุรี
    ๖๑ หลวงพ่อสง่า (๓ แผ่น) วัดเขมาภริตาราม นนทบุรี
    ๖๒ หลวงพ่อประสิทธิ์ (๒ แผ่น) วัดไทรน้อย นนทบุรี
    ๖๓ หลวงปู่แยง (๑ แผ่น) วัดภูทอก หนองคาย
    ๖๔ หลวงพ่อคำ (๑ แผ่น) วัดถ้ำบูชาภูวัว หนองคาย
    ๖๕ หลวงปู่เคน (๑ แผ่น) วัดป่าประชานิยม มหาสารคาม
    ๖๖ หลวงพ่อจำเนียร (๑ แผ่น) วัดถ้ำเสือ กระบี่
    ๖๗ หลวงปู่ผ่าน (๔ แผ่น) วัดประทีปปุญญาราม สกลนคร
    ๖๘ หลวงปู่บุญมา (๒ แผ่น) วัดป่าสีห์พนม สกลนคร
    ๖๙ หลวงปู่แปลง (๒ แผ่น) วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
    ๗๐ หลวงปู่บุญพิณ (๓ แผ่น) วัดป่าเทพนิมิตร สกลนคร
    ๗๑ หลวงพ่อเจียม (๓ แผ่น) วัดเทพวิสุทธาราม สกลนคร
    ๗๒ หลวงปู่สุภา (๓ แผ่น) สำนักสงฆ์เทพขจรจิต ภูเก็ต
    ๗๓ หลวงปู่ท่อน (๑ แผ่น) วัดป่าศรีอภัยวัน เลย
    ๗๔ หลวงปู่หลุย (๓ แผ่น) วัดราชโยธา กรุงเทพฯ
    ๗๕ พระครูสถิตย์ (๑ แผ่น) วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
    ๗๖ หลวงพ่อน้ำมนต์เดือด (๑ แผ่น) ว่าป่าสมเด็จ มุกดาหาร
    ๗๗ หลวงพ่อคำ (๑ แผ่น) วัดท่ายาง นครศรีธรรมราช
    ๗๘ หลวงพ่อชำนาญ (๔ แผ่น) วัดบางกุฏีทอง ปทุมธานี
    ๗๙ หลวงปู่เมตตา (๓ แผ่น) วัดโพธิ์เลื่อน ปทุมธานี
    ๘๐ พระอาจารย์ประกอบ (๓ แผ่น) วัดป่ามหาชัย สมุทรสาคร
    ๘๑ หลวงปู่บ๊ก (๑ แผ่น) วัดเนินพยอม อุทัยธานี
    ๘๒ หลวงพ่อวิชัย (๓ แผ่น) วัดถ้ำผาจม เชียงราย
    ๘๓ พระครูสมุห์อวยพร (๒ แผ่น) วัดดอนยายหอม นครปฐม
    ๘๔ หลวงปู่ผูก (๑ แผ่น) วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
    ๘๕ หลวงปู่จ่าง (๓ แผ่น) วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี
    ๘๖ หลวงปู่อุ้น (๓ แผ่น) วัดตาลกง เพชรบุรี
    ๘๗ หลวงปู่จันทร์หอม (๕ แผ่น) วัดสว่างวนาราม อุบลราชธานี
    ๘๘ หลวงปู่พร้า (๓ แผ่น) วัดโคกดอกไม้ ชัยนาท
    ๘๙ หลวงพ่อแดง (๓ แผ่น) วัดห้วยฉลองราษฎร์ อุตรดิตถ์
    ๙๐ หลวงพ่อทองคำ (๑ แผ่น) วัดท่าทอง อุตรดิตถ์
    ๙๑ หลวงพ่อวัดป่าพุทธคยา (๑ แผ่น) อินเดีย

    ๓. ห่วงเหรียญและเหรียญคณาจารย์
    ลำดับที่ รายนามพระคณาจารย์ วัด จังหวัด
    ๑ เหรียญหลวงปู่เหรียญ วัดอรัญบรรพต หนองคาย
    ๒ เหรียญหลวงปู่ทวด รุ่นต่างๆ วัดช้างให้และวัดอื่นๆ ปัตตานี
    ๓ เหรียญสมเด็จองค์ปฐมต้น โครงการโพธิจิต
    ๔ เหรียญหลวงพ่อสงวน วัดทุ่งทองทิพย์ กาญจนบุรี
    ๕ เหรียญพระนิพานหลวงปู่บุญศรี วัดศรีสุทธาวาส นครสวรรค์
    ๖ เหรียญหลวงพ่ออินทร์ ปี ๒๕๐๔
    ๗ เหรียญพระครูสิริกันทรลักษณ์ ปี ๒๕๒๑ วัดศรีขุนหาญ ศรีสะเกษ
    ๘ เหรียญหลวงพ่อรุ่ง วัดป่าน้ำจืด
    ๙ เหรียญบาทขวัญถุง ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระบาทห้วยต้ม ลำพูน
    ๑๐ เหรียญหลวงปู่มี ปี ๒๕๒๕ วัดสิงห์
    ๑๑ เหรียญ 10 บาทขวัญถุงครูบาอริยชาติ วัดพระธาตุดงสีมา เชียงราย
    ๑๒ แหนบ-เหรียญหลวงพ่อฤาษีลิงดำ หลังยันต์เกราะเพชร วัดท่าซุง
    ๑๓ เหรียญหลวงพ่อบุญเย็น สำนักสงฆ์พระเจ้าพรหมมหาราช เชียงใหม่
    ๑๔ เหรียญหลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวกการาม กาญจนบุรี
    ๑๕ เหรียญหลวงพ่อสิน วัดบุณยประดิษฐ์
    ๑๖ เหรียญหลวงพ่อวิชัย วัดถ้ำผาจม เชียงราย
    ๑๗ เหรียญหลวงพ่อผล วัดดักคะนน ชัยนาท
    ๑๘ เหรียญหลวงปู่ธูป วัดวังอ่าง
    ๑๙ เหรียญหลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย นครพนม
    ๒๐ เหรียญหลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง อยุธยา
    ๒๑ เหรียญหลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
    ๒๒ เหรียญหลวงปู่ทอง วัดบ้านกลึง นครราชสีมา
    ๒๓ เหรียญรุ่นสุดท้ายหลวงพ่อโอภาสีและรุ่นหลัง อาศรมบางมด กรุงเทพฯ
    ๒๔ เหรียญหลวงพ่อบุญช่วย วัดไผ่แก้ว ฉะเชิงเทรา
    ๒๕ เหรียญพระคณาจารย์ตั๊กฮี ปี ๒๕๓๔ วัดเซี่ยนฮุดยี่ ชลบุรี
    ๒๖ เหรียญหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ วัดแปลงกะดิน ชลบุรี
    ๒๗ เหรียญพรหม ๔ หน้า หลวงพ่อคอน วัดชัยพฤกษ์มาลา กรุงเทพฯ
    ๒๘ เหรียญหลวงปู่ปาน วัดหนองปลาไหล
    ๒๙ เหรียญอนุสรณ์ ๘๐ ปี หลวงพ่อเดิม วัดหนองบัว นครสวรรค์
    ๓๐ เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่พวง วัดป่าปูลู อุดรธานี
    ๓๑ รูปหล่อพระพุทธชินราชรุ่น ๒ หลวงตา
    มหาบัวอธิษฐานจิต วัดป่ากู่ทอง
    ๓๒ เหรียญ ร.๙ สภากาชาดไทย
    ๓๓ เหรียญพระสัมพุทธสิรี สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัส กรุงเทพฯ
    ๓๔ เหรียญหลวงปู่ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
    ๓๕ พระปิดตาเนื้อตะกั่วหลังเฮง หลวงพ่อดำ วัดสันติธรรม สนระแก้ว
    ๓๖ เหรียญหลวงพ่อสุด ปี ๒๕๑๗ วัดกาหลง สมุทรสาคร
    ๓๗ เหรียญสมเด็จพระญาณสังวร ปี ๒๕๓๕ วัดพิชัยญาติการราม กรุงเทพฯ
    ๓๘ เหรียญพระชัยหลังช้าง
    ๓๙ เหรียญพระวันรัต วัดสังเวชวิทยาราม
    ๔๐ เหรียญหลวงพ่อธรรมงาม
    ๔๑ เหรียญหลวพ่อโตชินะราช ปี ๒๕๑๗ วัดบัวปากท่า นครปฐม
    ๔๒ เหรียญหลวงพ่อม่วง วัดยางงาม ราชบุรี
    ๔๓ เหรียญหลวงพ่อผาง ปี ๒๕๑๒ วัดอุดมคงคาคีรีเขตต์ ขอนแก่น
    ๔๔ เหรียญหลวงพ่อดี วัดพระรูป สุพรรณบุรี
    ๔๕ เหรียญสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ปี ๒๕๒๘
    ๔๖ เหรียญ ๙ มหาราช ๙ สังฆราช วัดบางมุกนาก พิจิตร
    ๔๗ เหรียญหลวงปู่วงษ์ วัดโกรกแก้ววงพระจันทร์ ฉะเชิงเทรา
    ๔๘ เหรียญหลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม นครปฐม
    ๔๙ เหรียญหลวงปูฤทธิ์ วัดชลประทานราชดำริ บุรีรัมย์

    ชนวนมวลสารศักดิ์สิทธิ์ที่ได้นำมาร่วมหล่อพระกริ่งนี้ มีมากมายเหลือคณานับได้ ด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถระบุรายละเอียดได้จนครบ ยังมีอีกมากที่ไม่ได้กล่าวรายละเอียดปลีกย่อยลงไป กระแสพลังของพระกริ่งมีมากนักผู้ที่มีบุญวาสนาได้ครอบครองจงเก็บรักษาไว้ให้เป็นมรดกตกทอดต่อไป

    [​IMG]
    [​IMG]
    สวยเดิมผงเต็มรอยจาร พร้อมกล่อง หายากครับ
    ปิดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
  5. หยกเขียว

    หยกเขียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    380
    ค่าพลัง:
    +956
    ตามที่ได้จองทาง PM ผมขอจององค์ที่ 2 ตามรูปนี้นะครับ
     
  6. เจษฎา เยี่ยมคำน

    เจษฎา เยี่ยมคำน เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 มกราคม 2008
    โพสต์:
    3,332
    ค่าพลัง:
    +5,413
    ขอจองทั้ง 2 องค์ครับ
     
  7. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระผงรูปเหมือนรุ่นแรก ครูบาเจ้าบุญชุ่ม วัดพระธาตุดอนเรือง

    สร้างปี 2536 ออกที่วัดพระธาตุดอนเรือง (ฝั่งพม่า) ถือว่าเป็นรุ่นนิยมของศิษย์สายนี้ มวลสารที่จัดสร้างนั้นท่านได้รวบรวมผงวิเศษ ผงพุทธคุณ ดอกไม้บูชาครู ตลอดเกศาของท่าน พระทุกองค์จึงแก่มวลสารมาก ประสบการณ์นั้นดังจากฝั่งพม่าข้ามมาฝั่งไทย
    แต่เนื่องด้วยศิษย์สายนี้เขาเจอแล้วเป็นเก็บ ไม่ค่อยยอมออกกันทำให้ไม่ค่อยมีพระชุดนี้กระจายในวงกว้าง

    ครูบาบุญชุ่ม ญาณสังวโร วัดพระธาตุดอนเรือง ท่านเป็นศิษย์ของหลวงปู่โง่น โสรโย ​
    ก็ได้เดินทางมากราบหลวงปู่ดู่ ๒ ครั้ง โดยท่านได้เล่าให้ฟังภายหลังว่า เมื่อได้มาพบหลวงปู่ดู่ จึงได้รู้ว่าหลวงปู่ดู่ก็คือ พระภิกษุชราภาพที่ไปสอนท่านในสมาธิ ในช่วงที่ท่านอธิษฐานเข้ากรรมปฏิบัติไม่พูด ๗ วัน ซึ่งท่านก็ได้แต่กราบระลึกถึงอยู่ตลอดทุกวัน โดยไม่รู้ว่าพระภิกษุชราภาพรูปนี้คือใคร กระทั่งได้มีโอกาสมาพบหลวงปู่ดู่ที่วัดสะแก เกิดรู้สึกเหมือนดังพ่อลูกที่จากกันไปนานๆ แม้ครั้งที่ ๒ ที่พบกับหลวงปู่ดู่ หลวงปู่ดู่ก็ได้พูดสอนให้ท่านเร่งความเพียร เพราะหลวงปู่จะอยู่อีกไม่นาน
    ครูบาบุญชุ่มยังได้เล่าว่า ท่านตั้งใจจะกลับไปวัดสะแกอีก เพื่อหาโอกาสไปอุปัฏฐากหลวงปู่ดู่ แต่แล้วเพียงระยะเวลาไม่นานนัก ก็ได้ข่าวว่าหลวงปู่ดู่มรณภาพ ยังความสลดสังเวชใจแก่ท่าน ท่านได้เขียนบันทึกความรู้สึกในใจของท่านไว้ในหนังสือพระราชทานเพลิงพระศพ หลวงปู่ดู่ตอนหนึ่งว่า
    "...หลวงปู่ท่านมรณภาพสิ้นไป เปรียบเสมือนดวงอาทิตย์ที่ให้ความสว่างส่องแจ้งในโลกและดับไป อุปมาเหมือนดังดวงประทีปที่ให้ความสว่างไสวแก่ลูกศิษย์ได้ดับไป ถึงแม้ท่านหลวงปู่ได้มรณะไปแล้ว แต่บุญญาบารมีที่ท่านแผ่เมตตา รอยยิ้มอันอิ่มเอิบยังปรากฎฝังอยู่ในดวงใจอาตมา มิอาจลืมได้ถ้าหลวงปู่มีญาณรับทราบ และแผ่เมตตาลูกศิษย์ลูกหาทุกคน ขอให้ท่านหลวงปู่เข้าสู่พระนิพพานเป็นอมตะแด่ท่านเทอญ อาตมาขอกราบคารวะท่านหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ ด้วยความเคารพสูงสุด..."
    พระครูบา บอกว่าให้พวกเราช่วยกันเผยแพร่พระพุทธศาสนาท่านบอกว่าพระพุทธศาสนาไม่มีสูญ จึงยังคงอยู่ต่อไปอีก 2,500 ปีตามอายุพระศาสนา พระสมณโคดมเจ้า 5,000 ปี
    ท่านเคยลาพุทธภูมิแล้ว 3 ครั้ง แต่ลาไม่ได้เพราะได้รับพุทธพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านเป็นพระนิยตโพธิสัตว์ถ้าท่านลาพุทธภูมิได้ท่านจะเข้าพระนิพพานชาตินี้เลย เพราะท่านพูดว่าท่านเบื่อการเกิดมากเกิดมาแล้วก็เป็นทุกข์ทั้งสิ้น
    ท่านบอกว่าวันที่ 18 เมษายน 2553 เป็นต้นไปท่านจะเข้าถ้ำไม่ออกมาอีก 3 ปี
    พระครูบาท่านรักในหลวงมาก ท่านบอกว่าได้สวดมนต์แผ่เมตตาให้ในหลวงทุกวัน

    [​IMG]
    เนื้อพระแก่มวลสาร มีเกศานะครับ ความคมชัดในการกดพิมพ์ออกมาจึงมีความแตกต่างกันครับ
    ปิดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • jcy7t.jpg
      jcy7t.jpg
      ขนาดไฟล์:
      72 KB
      เปิดดู:
      146
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
  8. promma2481

    promma2481 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    129
    ค่าพลัง:
    +109
    จอง พระผงรูปเหมือนรุ่นแรก ครูบาเจ้าบุญชุ่ม วัดพระธาตุดอนเรืองและ พระผงของขวัญรุ่นแรก พุทธปทุมนิมิต ๒๕๒๘องค์ที่1ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 สิงหาคม 2013
  9. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระพุทธวิโมกข์ หลวงปู่โง่น ปี 2528

    หลวงปู่โง่นได้ดำริที่จะสร้างพระพุทธวิโมกข์ขนาดบูชาติดตัว เมื่อปี2528 เป็นครั้งแรก เพื่อแจกจ่ายให้แก่เหล่าทหารที่ประจำการอยู่ตามฐาน ห้วยโกร๋นหินร่องกล้า ดอนมะเกลือ เมืองน่าน ทุ่งช้าง ท่านจัดสร้างและอธิษฐานจิตเสร็จแล้วก็นำไปมอบให้กับเหล่าทหารดังกล่าวโดยไม่คิดมูลค่าแต่อย่างใด มวลสารที่ใช้สร้างพระกริ่งพุทธวิโมกข์ เป็นโลหะผสมสีออกเหลืองอมเขียวเล็กน้อย การปลุกเสกนั้น โดยหลวงปู่โง่น และหลวงปู่ดู่ วัดสะแก พุทธคุณที่ปรากฏแก่เหล่าผู้กล้ารั้วของชาตินั้น ต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าดีทางแคล้วคลาดปกป้องอุบัติภัยได้อย่างรอบด้านเลยทีเ ดียวจัดเป็นของดีที่น่าบูชาติดตัวเพื่อหวังพึ่งพุทธคุณได้เป็นอย่างดีเนื่องจากผ่านการปลุกเสกและอธิษฐานจิต โดยหลวงปู่โง่นและหลวงปู่ดู่ ด้วยหลวงปู่ท่านเป็นเอกด้านปฏิมากรรม พระสวย มีประสบการณ์ ปัจจุบันพระพบเห็นได้น้อยมาก ขนาดองค์พระสูง 3.5 ซ.ม. ฐานกว้าง 2.3 ซ.ม
    หลวงปู่โง่น โสรโย นับได้ว่าเป็นพระที่ทรงอภิญญารูปหนึ่งและเป็นพระนักพัฒนาที่ทำคุณประโยชน์แก่พุทธศาสนามากมาย ท่านอยู่ที่วัดนี้ตราบจนกระทั่งมรณภาพ วันอาทิตย์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2542 สิริอายุรวม 95 ปี รวม 64 พรรษา สำหรับสหธรรมิกของหลวงปู่โง่น เท่าที่ทราบมีหลวงปู่ดู่ วัดสะแก หลวงปู่บุดดา วัดกลางชูศรี และหลวงพ่อคง วัดเขาสมโภชน์ เป็นต้น
    ส่วนศิษย์เอกหลวงปู่โง่นคือครูบาบุญชุ่ม วัดพระธาตุดอนเรือง


    นะโมเม พุทธะวีรัตตุ วิปปะมุตโตสิสัพพะธิ สัพพาธะปะฏิโนสะมิ ตัสสะเม สะระนังภะวะ
    ครูบาศรีวิชัยสอนหลวงปู่โง่น วัดเขารวก(ท่านบอกว่าใช้ได้ทุกอย่างในคราวมีทุกขฺภัย)
    [​IMG]
    [​IMG]

    ปิดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • jcy7t.jpg
      jcy7t.jpg
      ขนาดไฟล์:
      72 KB
      เปิดดู:
      107
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 มีนาคม 2014
  10. thanayos77

    thanayos77 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 ตุลาคม 2012
    โพสต์:
    158
    ค่าพลัง:
    +124
    จองเหรียญพระธาตุเจดีย์ หลัง 12 นักษัตร์ ราคา 1,050 บาท ครับ
     
  11. หยกเขียว

    หยกเขียว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    380
    ค่าพลัง:
    +956
    แจ้งโอนเงินครับ โอนตู้ BBL เวลา 15.47 น. จำนวนเงิน 450 บาทครับ
    จัดส่ง นายชนุดม สุขสถิตย์ 11/82 หมู่บ้านสีวลี(ศรีจันทร์) ซ. 5 ถ.ศรีจันทร์ ต.บ้านเป็ด อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 (0818371848)
     
  12. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    [​IMG]
    หลวงพ่อดาบส อธิษฐานจิตครบไตรมาสในปีพ.ศ.๒๕๒๘ เปี่ยมไปด้วยพุทธคุณครับ
    องค์เล็กพอๆกับพระคำข้าวครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 22 มีนาคม 2014
  13. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    [​IMG]
    <blink>ยังอยู่</blink>
     
  14. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    [​IMG]
    <blink>ยังอยู่</blink>
     
  15. promma2481

    promma2481 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2012
    โพสต์:
    129
    ค่าพลัง:
    +109
    โอนเพิ่มให้แล้วครับ450เวลา14.40น.
     
  16. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระกริ่ง 101 ปี ครูบาอิน วัดฟ้าหลั่ง
    พระกริ่งรุ่นสุดท้าย ออกปี46 ของหลวงปู่ครูบาอิน รูปลักษณ์สวยงามมาก อุดกริ่งใต้ฐานและปิดจีวรของหลวงปู่ใต้ฐาน
    ปัจจุบันพบเห็นน้อยมาก พุทธคุณสูง หลวงปู่ ครูบาอิน อินโท ท่านเปรียบดั่งองค์ปฐมชินบัญชรแห่งเมืองล้านนา
    จัดได้ว่าเป็นพระกริ่งอีกหนึ่งรุ่นที่น่าบูชามากครับ สวยเดิมพร้องกล่อง หายากแล้วครับเก็บกันหมดราคาขยับขึ้นเรื่อยๆ
    หลวงปู่คือพระอริยสงฆ์ ที่หลวงพ่อกวย สั่งให้อ.ตั้วไปเรียนวิชาให้ได้คือ
    1.หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน
    2.ครูบาอิน วัดฟ้าหลั่ง

    [​IMG]
    [​IMG]

    ปิดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
  17. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ เนื้อทองกายสิทธิ์ อุดผงจักรพรรดิ์
    ความเป็นมาของการจัดสร้างพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ เพื่อน้อมถวายพระราชกุศลแด่พระญาณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้าและพระบูรพกษัตราธิราชเจ้าแห่งแผ่นดินไทยทุกพระองค์ ตลอดจนถึงผู้ที่มีพระคุณต่อผืนแผ่นดินไทยทุกท่าน
    พระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องแบบพระมหากษัตริย์หรือแบบพระมหาจักรพรรดิ พระอิริยาบทนั่งขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา
    ในพระหัตถ์ซ้ายมีมณีรัตนะ คือ มณีแก้ว หมายถึงความสว่างไสว
    และหมายถึงพระปัญญาธิคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงแจ้งแล้วในโลก
    พระหัตถ์ขวาวางหงายบนพระชานุ หมายถึงการให้อภัยทาน อันเป็นทานที่ประเสริฐยิ่งนัก
    อีกประการหนึ่ง ในบรรดาทานทั้งหมดทั้งมวล
    เปรียบเสมือนพระมหากรุณาธิคุณที่ประทับอยู่ในพระทัยขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ทรงประทับบนดอกบัว อันหมายถึงพระบริสุทธิคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
    ด้านหลังจารึกคำว่า เจ้าฟ้านเรศ
    อันหมายถึง สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้า
    วีรกษัตริย์ไทยผู้เกรียงไกร ผู้ทรงกอบกู้เอกราชแห่งชาติไทย
    ให้ลูกหลานได้อยู่สุขสบายจนตราบเท่าทุกวันนี้

    ประกอบกับได้มีการจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์
    ศิลปะล้านนาตอนต้น (พระสิงห์ ๑)
    เนื้อหินหยกสีน้ำผึ้ง ขนาดหน้าตัก ๔๓ นิ้ว
    และพระวิหารทรงล้านนาอันเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปดังกล่าว
    ณ วัดป่าดาราภิรมย์ (พระอารามหลวง) อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
    อันทีพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระโสภณธรรมสาร (หลวงพ่อฤทธิรงค์ ญาณวโร)
    เจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ (พระอารามหลวง)
    และพระเดชพระคุณพระวรงคต วิริยธโร (หลวงตาม้า)
    เจ้าอาวาสวัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ)
    ลูกศิษย์ พระเดชพระคุณหลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ
    เป็นประธานการจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์
    และพระวิหารตามวัตถุประสงค์เพื่อน้อมเกล้าถวายเป็นพระราชกุศล
    แด่พระญาณองค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้า
    และพระญาณของบูรพกษัตราธิราชเจ้าแห่งแผ่นดินไทยทุกพระองค์ในอดีต
    ตลอดจนถึงดวงวิญญาณของผู้มีพระคุณต่อผืนแผ่นดินไทยทุกท่าน

    ทั้งนี้ ในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๐
    ซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของพระเดชพระคุณพระวรงคต (หลวงตาม้า)
    คณะศิษยานุศิษย์จึงกราบเรียนขออนุญาตสร้างวัตถุมงคลพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศ
    ณ วัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ) เพราะมักจะมีผู้รู้กล่าวไว้ว่า
    ณ ถ้ำเมืองนะแห่งนี้ เป็นสถานที่สวรรคตของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นเจ้า
    ด้วยหลักฐานหลายอย่างพอจะน่าเชื่อถือและเป็นไปได้
    แต่ทั้งนี้ ก็ต้องรอผู้ที่มีความรู้ ความสามารถมาพิสูจน์ให้แน่ชัดอีกครั้ง
    การจัดสร้างพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศมีวัตถุประสงค์การจัดสร้างทั้งหมดทั้งมวลดังนี้
    เพื่อเป็นการสืบอายุพระพุทธศาสนา
    โดยผู้ที่บูชาพระกริ่งเจ้าฟ้านเรศน้อมนำเอาพระพุทธเจ้าเป็นสรณะของจิตใจ
    เพื่อเทิดทูนพระเกียรติยศแห่งสถาบันพระมหากษัตริย์
    อันเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยทุกหมู่เหล่า
    เพื่อนำปัจจัยจัดสร้างพระพุทธสิหิงค์หยกสีน้ำผึ้ง
    ขนาดหน้าตัก ๔๓ นิ้ว
    เพื่อประดิษฐาน ณ วัดป่าดาราภิรมย์ (พระอารามหลวง) อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
    เพื่อนำปัจจัยสร้างพระวิหาร
    เพื่อประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์หยกสีน้ำผึ้ง ขนาดหน้าตัก ๔๓ นิ้ว
    เพื่อนำปัจจัยเข้ากองทุนพุทธพรหมปัญโญ
    ของวัดพุทธพรหมปัญโญ (วัดถ้ำเมืองนะ) อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่

    ชนวนโลหะที่นำมาใช้ในการหล่อพระกริ่งในครั้งนี้ เพื่อให้เป็นสิริมงคลอย่างสูงสุด ทางผู้สร้างจึงได้พยายามรวบรวมแผ่นยันต์ และวัตถุมงคล อีกทั้งมีผู้ร่วมมอบชนวนสำคัญต่างๆดังนี้

    ๑. แผ่นยันต์ที่ผ่านการอธิษฐานจิตจากครูบาอาจารย์หลายๆท่าน
    ลำดับที่ รายนามพระคณาจารย์ วัด จังหวัด
    ๑ หลวงปู่หลอด วัดใหม่เสนานิคม กรุงเทพฯ
    ๒ หลวงพ่อมหาโพธิ์ วัดคลองมอญ ชัยนาท
    ๓ พระครูวิจิตร (จวบ) วัดพลับ กรุงเทพฯ
    ๔ หลวงปู่ปลื้ม วัดสวนหงษ์ สุพรรณบุรี
    ๕ ครูบาดวงดี วัดท่าจำปี เชียงใหม่
    ๖ หลวงปู่แป้น วัดไทรงาม สุพรรณบุรี
    ๗ ครูบาบุญปั๋น วัดร้องขุ้ม เชียงใหม่
    หลวงพ่อสังวาล วัดทุ่งสามัคคีธรรม สุพรรณบุรี
    ๙ ครูบาขัน สุสานไตรลักษณ์ แม่วาง เชียงใหม่
    ๑๐ พระครูภาวนาวรคุณ วัดเขาพระ สระบุรี
    ๑๑ ครูบาตั๋น สำนักสงฆ์ดอยม่อนปู่อิ่น เชียงใหม่
    ๑๒ หลวงปู่นาค วัดหนองโป่ง สระบุรี
    ๑๓ ครูบาคำตั๋น วัดสันทรายหลวง เชียงใหม่
    ๑๔ หลวงปู่เจียม วัดอินทราวาสุการาม สุรินทร์
    ๑๕ ครูบาเผือก วัดไชยสถาน เชียงใหม่
    ๑๖ หลวงปู่ถม วัดเชิงท่า ลพบุรี
    ๑๗ ครูบาอิ่นคำ วัดข้าวแท่นหลวง เชียงใหม่
    ๑๘ ครูบาหล้า วัดป่าลาน เชียงใหม่
    ๑๙ ครูบาผัด วัดศรีดอนมูล เชียงใหม่
    ๒๐ หลวงพ่อดาบส อาศรมไผ่มรกต เชียงราย
    ๒๑ ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ลำพูน
    ๒๒ ครูบาคำปัน วัดพระธาตุผาหนาม ลำพูน
    ๒๓ ครูบาอินตา วัดห้วยไช ลำพูน
    ๒๔ หลวงปู่สี วัดพระฉาย (เขาชะโงก) นครนายก
    ๒๕ หลวงปู่ผาง วัดป่าบ้านนายม มุกดาหาร
    ๒๖ หลวงปู่หมุน วัดบ้านจาน ศรีสะเกษ
    ๒๗ พระอาจารย์จ่อย วัดป่าหนองล่ม สระแก้ว
    ๒๘ หลวงพ่อธรรมยุต วัดหนองแท่นพระ ปราจีนบุรี
    ๒๙ หลวงปู่ทองมี วัดนิคมวนาราม ยโสธร
    ๓๐ หลวงปู่ทองสี วัดสุทธิมงคล ยโสธร
    ๓๑ หลวงปู่สอ วัดป่าหนองแสง ยโสธร
    ๓๒ หลวงปู่เหรียญ วัดอรัญบรรพต หนองคาย
    ๓๓ หลวงปู่ตี๋ วัดหลวงราชาวาส อุทัยธานี
    ๓๔ หลวงน้าสายหยุด วัดสะแก อยุธยา
    ๓๕ หลวงปู่กอง วัดสระมณฑล อยุธยา
    ๓๖ หลวงพ่อรวย วัดตระโก อยุธยา
    ๓๗ หลวงปู่ชม วัดนางใน อ่างทอง
    ๓๘ หลวงปู่ศรี วัดป่ากุง ร้อยเอ็ด
    ๓๙ หลวงปู่บุญมี วัดสระประสานสุข อุบลราชธานี
    ๔๐ หลวงปู่จันทา วัดป่าเขาน้อย พิจิตร

    ๒ . แผ่นยันต์ที่ครูบาอาจารย์ทั้งหลายท่านได้เมตตามอบให้เพื่อนำเป็นชนวน
    ลำดับที่ รายนามพระคณาจารย์ วัด จังหวัด
    ๑ หลวงพ่อพูน (๑ แผ่น) วัดบ้านแพน อยุธยา
    หลวงพ่อหวล (๓ แผ่น) วัดพุทไธศวรรย์ อยุธยา
    ๓ หลวงพ่อเอียด (๑ แผ่น) วัดไผ่ล้อม อยุธยา
    ๔ หลวงพ่อหมื่นอุดม (๑ แผ่น) วัดตูม อยุธยา
    ๕ หลวงพ่อเพิ่ม (๑ แผ่น) วัดป้อมแก้ว อยุธยา
    ๖ หลวงพ่อพุฒ (๓ แผ่น) วัดขนอนเหนือ อยุธยา
    ๗ หลวงพ่ออุดม (๑ แผ่น) วัดพิชัยสงคราม อยุธยา
    ๘ พระอาจารย์ธรรมนูญ (๓ แผ่น) วัดมณีชลขัณฑ์ ลพบุรี
    ๙ พระครูวินัยธรนิพนธ์ (๓ แผ่น) วัดกล้วย อยุธยา
    ๑๐ หลวงปู่บุญ (๓ แผ่น) วัดหัวเขา ลพบุรี
    ๑๑ เจ้าคุณไวทย์ (๓ แผ่น) วัดพนัญเชิง อยุธยา
    ๑๒ หลวงพ่อเพี้ยน (๓ แผ่น) วัดเกริ่นกฐิน ลพบุรี
    ๑๓ หลวงปู่ชื้น (๑ แผ่น) วัดญาณเสน อยุธยา
    ๑๔ หลวงปู่เทพ (๑ แผ่น) วัดป่าเทพเนรมิต ลพบุรี
    ๑๕ หลวงปู่ทิม (๑ แผ่น) วัดพระขาว อยุธยา
    ๑๖ หลวงปู่นนท์ (๑ แผ่น) วัดเหนือวน ราชบุรี
    ๑๗ หลวงปู่สวัสดิ์ (๑ แผ่น) วัดศาลาปูน อยุธยา
    ๑๘ หลวงพ่อน้อย (๑ แผ่น) วัดไผ่ท่าโพธิ์ใต้ พิจิตร
    ๑๙ หลวงพ่ออุตตมะ (๔ แผ่น) วัดวังก์วิเวการาม กาญจนบุรี
    ๒๐ หลวงตาพวง (๒ แผ่น) วัดศรีธรรมาราม ยโสธร
    ๒๑ ครูบาเที่ยงธรรม (๓ แผ่น) วัดเวฬุวัน ศรีสะเกษ
    ๒๒ หลวงปู่สรวง (๑ แผ่น) วัดศรีฐานใน ยโสธร
    ๒๓ หลวงพ่อสุทัศน์ (๑ แผ่น) วัดกระโจมทอง นนทบุรี
    ๒๔ หลวงพ่อดุล (๓ แผ่น) สำนัดสงฆ์คงคำโคกทม บุรีรัมย์
    ๒๕ หลวงปู่ชื่น (๒ แผ่น) วัดตาอี บุรีรัมย์
    ๒๖ หลวงพ่อสิริ (๓ แผ่น) วัดตาล นนทบุรี
    ๒๗ หลวงปู่สินธุ์ (๓ แผ่น) วัดสะพานสูง นนทบุรี
    ๒๘ หลวงปู่ธีร์ (3 แผ่น) วัดจันทราวาส บุรีรัมย์
    ๒๙ หลวงปู่จันทร์แรม (๑ แผ่น) วัดเกาะแก้วธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    ๓๐ หลวงปู่ฤทธิ์ (๒ แผ่น) วัดชลประทานราชดำริ บุรีรัมย์
    ๓๑ หลวงปู่เหลือง (๑ แผ่น) วัดกระดึงทอง บุรีรัมย์
    ๓๒ หลวงปู่จุ่ม (๑ แผ่น) วัดป่ารักษ์น้ำ ธุดงคสถาน บุรีรัมย์
    ๓๓ หลวงพ่อสิริ (๑ แผ่น) ศูนย์ฟื้นฟู ผู้ติดยาเสพติด ชัยภูมิ
    ๓๔ อาจารย์ศุภรัตน์ แสงจันทร์ (๑ แผ่น) บ้านพุทธฉัตร อยุธยา
    ๓๕ หลวงปู่คำพันธ์ (๑ แผ่น) วัดธาตุมหาชัย นครพนม
    ๓๖ หลวงปู่พวง (๑๒ แผ่น) วัดป่าปูลู อุดรธานี
    ๓๗ หลวงปู่จันทร์โสม (๑ แผ่น) วัดป่านาสีดา อุดรธานี
    ๓๘ หลวงปู่หรุ่ม (๑ แผ่น) วัดบางจักร อ่างทอง
    ๓๙ หลวงปู่ชุป (๔ แผ่น) วัดหนองเต่าทอง สุพรรณบุรี
    ๔๐ ครูบาอินทร (๔ แผ่น) วัดสันป่ายางหลวง ลำพูน
    ๔๑ ครูบาอินตา (๔ แผ่น) วัดวังทอง ลำพูน
    ๔๒ ครูบาสุข (๑ แผ่น) วัดป่าซางน้อย ลำพูน
    ๔๓ ครูบากฤษดา (๖ แผ่น) วัดสันพระเจ้าแดง ลำพูน
    ๔๔ ครูบาอริยชาติ (๘๖ แผ่น) วัดวังมุย ลำพูน
    ๔๕ หลวงพ่อบุญรัตน์ (๑ แผ่น) วัดโขงขาว เชียงใหม่
    ๔๖ ครูบาน้อย (๓ แผ่น) วัดศรีดอนมูล เชียงใหม่
    ๔๗ ครูบาดวงดี (๔ แผ่น) วัดบ้านฟ่อน เชียงใหม่
    ๔๘ ครูบาอิน (๑ แผ่น) วัดทุ่งปุย เชียงใหม่
    ๔๙ ครูบาเทือง (๒ แผ่น) วัดบ้านเด่น เชียงใหม่
    ๕๐ หลวงตาม้า (๓ แผ่น) วัดพุทธพรหมปัญโญ เชียงใหม่
    ๕๑ ครูบาจันทร์ (๑ แผ่น) วัดสันเจดีย์ริมปิง เชียงใหม่
    ๕๒ หลวงพ่อแดง (๓ แผ่น) วัดแม่ฮ่องไคร้ เชียงใหม่
    ๕๓ หลวงปู่ลี (๒ แผ่น) วัดเอี่ยมวนาราม อุบลราชธานี
    ๕๔ หลวงปู่สังข์ (๓ แผ่น) วัดบ้านท่าช้างใหญ่ อุบลราชธานี
    ๕๕ หลวงปู่สวน (๓ แผ่น) วัดนาอุดม อุบลราชธานี
    ๕๖ พระโพธินันทมุนี (๒ แผ่น) วัดบูรพาราม สุรินทร์
    ๕๗ หลวงปู่ธรรมรังษี (๓ แผ่น) วัดพระพุทธบาทเขาพนมดิน สุรินทร์
    ๕๘ หลวงปู่หงส์ (๒ แผ่น) วัดเพชรบุรี สุรินทร์
    ๕๙ หลวงพ่อประวิทย์ (๑ แผ่น) วัดหนองจระเข้ ปราจีนบุรี
    ๖๐ หลวงปู่วาส (๓ แผ่น) วัดสะพานสูง นนทบุรี
    ๖๑ หลวงพ่อสง่า (๓ แผ่น) วัดเขมาภริตาราม นนทบุรี
    ๖๒ หลวงพ่อประสิทธิ์ (๒ แผ่น) วัดไทรน้อย นนทบุรี
    ๖๓ หลวงปู่แยง (๑ แผ่น) วัดภูทอก หนองคาย
    ๖๔ หลวงพ่อคำ (๑ แผ่น) วัดถ้ำบูชาภูวัว หนองคาย
    ๖๕ หลวงปู่เคน (๑ แผ่น) วัดป่าประชานิยม มหาสารคาม
    ๖๖ หลวงพ่อจำเนียร (๑ แผ่น) วัดถ้ำเสือ กระบี่
    ๖๗ หลวงปู่ผ่าน (๔ แผ่น) วัดประทีปปุญญาราม สกลนคร
    ๖๘ หลวงปู่บุญมา (๒ แผ่น) วัดป่าสีห์พนม สกลนคร
    ๖๙ หลวงปู่แปลง (๒ แผ่น) วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
    ๗๐ หลวงปู่บุญพิณ (๓ แผ่น) วัดป่าเทพนิมิตร สกลนคร
    ๗๑ หลวงพ่อเจียม (๓ แผ่น) วัดเทพวิสุทธาราม สกลนคร
    ๗๒ หลวงปู่สุภา (๓ แผ่น) สำนักสงฆ์เทพขจรจิต ภูเก็ต
    ๗๓ หลวงปู่ท่อน (๑ แผ่น) วัดป่าศรีอภัยวัน เลย
    ๗๔ หลวงปู่หลุย (๓ แผ่น) วัดราชโยธา กรุงเทพฯ
    ๗๕ พระครูสถิตย์ (๑ แผ่น) วัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
    ๗๖ หลวงพ่อน้ำมนต์เดือด (๑ แผ่น) ว่าป่าสมเด็จ มุกดาหาร
    ๗๗ หลวงพ่อคำ (๑ แผ่น) วัดท่ายาง นครศรีธรรมราช
    ๗๘ หลวงพ่อชำนาญ (๔ แผ่น) วัดบางกุฏีทอง ปทุมธานี
    ๗๙ หลวงปู่เมตตา (๓ แผ่น) วัดโพธิ์เลื่อน ปทุมธานี
    ๘๐ พระอาจารย์ประกอบ (๓ แผ่น) วัดป่ามหาชัย สมุทรสาคร
    ๘๑ หลวงปู่บ๊ก (๑ แผ่น) วัดเนินพยอม อุทัยธานี
    ๘๒ หลวงพ่อวิชัย (๓ แผ่น) วัดถ้ำผาจม เชียงราย
    ๘๓ พระครูสมุห์อวยพร (๒ แผ่น) วัดดอนยายหอม นครปฐม
    ๘๔ หลวงปู่ผูก (๑ แผ่น) วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
    ๘๕ หลวงปู่จ่าง (๓ แผ่น) วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี
    ๘๖ หลวงปู่อุ้น (๓ แผ่น) วัดตาลกง เพชรบุรี
    ๘๗ หลวงปู่จันทร์หอม (๕ แผ่น) วัดสว่างวนาราม อุบลราชธานี
    ๘๘ หลวงปู่พร้า (๓ แผ่น) วัดโคกดอกไม้ ชัยนาท
    ๘๙ หลวงพ่อแดง (๓ แผ่น) วัดห้วยฉลองราษฎร์ อุตรดิตถ์
    ๙๐ หลวงพ่อทองคำ (๑ แผ่น) วัดท่าทอง อุตรดิตถ์
    ๙๑ หลวงพ่อวัดป่าพุทธคยา (๑ แผ่น) อินเดีย

    ๓. ห่วงเหรียญและเหรียญคณาจารย์
    ลำดับที่ รายนามพระคณาจารย์ วัด จังหวัด
    ๑ เหรียญหลวงปู่เหรียญ วัดอรัญบรรพต หนองคาย
    ๒ เหรียญหลวงปู่ทวด รุ่นต่างๆ วัดช้างให้และวัดอื่นๆ ปัตตานี
    ๓ เหรียญสมเด็จองค์ปฐมต้น โครงการโพธิจิต
    ๔ เหรียญหลวงพ่อสงวน วัดทุ่งทองทิพย์ กาญจนบุรี
    ๕ เหรียญพระนิพานหลวงปู่บุญศรี วัดศรีสุทธาวาส นครสวรรค์
    ๖ เหรียญหลวงพ่ออินทร์ ปี ๒๕๐๔
    ๗ เหรียญพระครูสิริกันทรลักษณ์ ปี ๒๕๒๑ วัดศรีขุนหาญ ศรีสะเกษ
    ๘ เหรียญหลวงพ่อรุ่ง วัดป่าน้ำจืด
    ๙ เหรียญบาทขวัญถุง ครูบาชัยวงศาพัฒนา วัดพระบาทห้วยต้ม ลำพูน
    ๑๐ เหรียญหลวงปู่มี ปี ๒๕๒๕ วัดสิงห์
    ๑๑ เหรียญ 10 บาทขวัญถุงครูบาอริยชาติ วัดพระธาตุดงสีมา เชียงราย
    ๑๒ แหนบ-เหรียญหลวงพ่อฤาษีลิงดำ หลังยันต์เกราะเพชร วัดท่าซุง
    ๑๓ เหรียญหลวงพ่อบุญเย็น สำนักสงฆ์พระเจ้าพรหมมหาราช เชียงใหม่
    ๑๔ เหรียญหลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวกการาม กาญจนบุรี
    ๑๕ เหรียญหลวงพ่อสิน วัดบุณยประดิษฐ์
    ๑๖ เหรียญหลวงพ่อวิชัย วัดถ้ำผาจม เชียงราย
    ๑๗ เหรียญหลวงพ่อผล วัดดักคะนน ชัยนาท
    ๑๘ เหรียญหลวงปู่ธูป วัดวังอ่าง
    ๑๙ เหรียญหลวงปู่คำพันธ์ วัดธาตุมหาชัย นครพนม
    ๒๐ เหรียญหลวงพ่อเชิญ วัดโคกทอง อยุธยา
    ๒๑ เหรียญหลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่
    ๒๒ เหรียญหลวงปู่ทอง วัดบ้านกลึง นครราชสีมา
    ๒๓ เหรียญรุ่นสุดท้ายหลวงพ่อโอภาสีและรุ่นหลัง อาศรมบางมด กรุงเทพฯ
    ๒๔ เหรียญหลวงพ่อบุญช่วย วัดไผ่แก้ว ฉะเชิงเทรา
    ๒๕ เหรียญพระคณาจารย์ตั๊กฮี ปี ๒๕๓๔ วัดเซี่ยนฮุดยี่ ชลบุรี
    ๒๖ เหรียญหลวงพ่อศักดิ์สิทธิ์ วัดแปลงกะดิน ชลบุรี
    ๒๗ เหรียญพรหม ๔ หน้า หลวงพ่อคอน วัดชัยพฤกษ์มาลา กรุงเทพฯ
    ๒๘ เหรียญหลวงปู่ปาน วัดหนองปลาไหล
    ๒๙ เหรียญอนุสรณ์ ๘๐ ปี หลวงพ่อเดิม วัดหนองบัว นครสวรรค์
    ๓๐ เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่พวง วัดป่าปูลู อุดรธานี
    ๓๑ รูปหล่อพระพุทธชินราชรุ่น ๒ หลวงตา
    มหาบัวอธิษฐานจิต วัดป่ากู่ทอง
    ๓๒ เหรียญ ร.๙ สภากาชาดไทย
    ๓๓ เหรียญพระสัมพุทธสิรี สมเด็จพระวันรัต วัดโสมนัส กรุงเทพฯ
    ๓๔ เหรียญหลวงปู่ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร สกลนคร
    ๓๕ พระปิดตาเนื้อตะกั่วหลังเฮง หลวงพ่อดำ วัดสันติธรรม สนระแก้ว
    ๓๖ เหรียญหลวงพ่อสุด ปี ๒๕๑๗ วัดกาหลง สมุทรสาคร
    ๓๗ เหรียญสมเด็จพระญาณสังวร ปี ๒๕๓๕ วัดพิชัยญาติการราม กรุงเทพฯ
    ๓๘ เหรียญพระชัยหลังช้าง
    ๓๙ เหรียญพระวันรัต วัดสังเวชวิทยาราม
    ๔๐ เหรียญหลวงพ่อธรรมงาม
    ๔๑ เหรียญหลวพ่อโตชินะราช ปี ๒๕๑๗ วัดบัวปากท่า นครปฐม
    ๔๒ เหรียญหลวงพ่อม่วง วัดยางงาม ราชบุรี
    ๔๓ เหรียญหลวงพ่อผาง ปี ๒๕๑๒ วัดอุดมคงคาคีรีเขตต์ ขอนแก่น
    ๔๔ เหรียญหลวงพ่อดี วัดพระรูป สุพรรณบุรี
    ๔๕ เหรียญสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ปี ๒๕๒๘
    ๔๖ เหรียญ ๙ มหาราช ๙ สังฆราช วัดบางมุกนาก พิจิตร
    ๔๗ เหรียญหลวงปู่วงษ์ วัดโกรกแก้ววงพระจันทร์ ฉะเชิงเทรา
    ๔๘ เหรียญหลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม นครปฐม
    ๔๙ เหรียญหลวงปูฤทธิ์ วัดชลประทานราชดำริ บุรีรัมย์

    ชนวนมวลสารศักดิ์สิทธิ์ที่ได้นำมาร่วมหล่อพระกริ่งนี้ มีมากมายเหลือคณานับได้ ด้วยเหตุนี้จึงไม่สามารถระบุรายละเอียดได้จนครบ ยังมีอีกมากที่ไม่ได้กล่าวรายละเอียดปลีกย่อยลงไป กระแสพลังของพระกริ่งมีมากนักผู้ที่มีบุญวาสนาได้ครอบครองจงเก็บรักษาไว้ให้เป็นมรดกตกทอดต่อไป

    [​IMG]
    [​IMG]
    สวยเดิมผงเต็มรอยจาร พร้อมกล่อง หายากครับ
    ปิดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
  18. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระกริ่ง 7 คัมภีร์ พระกริ่งรุ่นแรก ดินไทย หลวงปู่ครูบาบุดดา วัดหนองบัวคำ
    ใต้ฐานปิดด้วยใบลาน พระกริ่งนี้หล่อจากแผ่นยันต์ในตำรา 7 คัมภีร์
    เป็นการสร้างกริ่งหูทะลุศิลปะแท้พม่า ซึ่งหลวงปู่หล่อจากแผ่นยันต์ในตำรา 7 คัมภีร์
    เป็นการสร้างกริ่งพม่าตำรับแท้ คำว่า 7 คัมภีร์มีดี 7 อย่าง เชิญเทวดามาช่วย 7 องค์
    มีดี 7 ด้าน
    1.เตือนภัยได้สารพัด
    2.มีอำนาจ เดชานุภาพ ชนะศัตรูผู้คิดร้ายกับเรา คิดไม่ดีต่อเรา ชนะราบคาบ
    3.มีโชคลาภไหลมาทั้ง 7 ทางดั่งแม่น้ำคงคาที่ไม่เคยเหือดแห้ง
    4.สงเคราะห์ดวงเรา ดวงเราไม่รู้ว่าจะดีหรือร้ายตอนไหนเวลาใด พระกริ่ง 7 คัมภีร์นี้ ห้ามทัพเคราะห์ร้ายได้
    5.ค้าขาย นายหน้านายประกันหรือติดต่อเจรจา ดังมีสาริกาลิ้นทองซัก 100 ตนล้อมตนไปหมด
    6.เมตตามหานิยมมีมาตลอด
    7.อธิฐานสำเร็จให้เขย่าพระกริ่งดังๆเท่าอายุ ถ้าดังทุกครั้งที่อธิฐานไว้สำเร็จทุกอย่าง
    ใต้ฐานปิดด้วยใบลานจารมือล้านนา จากพระธุดงค์เหนือโลกที่ผูกคาถาอธิธรรมที่มีผลมากไว้ให้เป็นใบลานที่มีค่ามาก อักขระที่พระบริสุทธิ์เขียนจารตัวหนึ่งตีค่าไว้เท่ากับทองคำหนึ่งชั่ง ขนาดความสูง 3.5 ซ.ม. กว้าง 2 ซ.ม. สร้างจำนวน 999 องค์ มีโค๊ดและหมายเลขกำกับทุกองค์

    [​IMG]
    [​IMG]

    ปิดครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
  19. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    พระรูปเหมือนปั๊มครูบาบุญชุ่ม วัดพระธาตุดอนเรือง รุ่นแรก ปี 36
    บล๊อกแตกนิยมหายากครับ สร้างจากชนวนมวลสารระฆังเก่า เนื้อทองเหลืองกะไหล่ทอง ตอกโค้ดด้านหลัง ครูบาบุญชุ่ม เป็นลูกศิษย์เอกของหลวงปู่โง่น ท่านเดินทางไปหาหลวงปู่ดู่แล้วฝากตัวเป็นศิษย์เช่นกันซึ่งหลวงปู่ดู่ท่านเคยสอนกรรมฐานให้ท่านผ่านทางนิมิต ปัจจุบันท่านครูบาบุญชุ่มเป็นพระที่มีผู้ศรัทธาเลื่อมใสมาก แม้ว่าอายุพรรษาท่านยังไม่มากนักก็ตามปกติสำนักปฏิบัติธรรมของท่าน อยู่ที่บ้านบุญมหาลาภ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย สายตรงเก็บหมดครับ ทราบกันดี อนาคตแรงแน่นอน สภาพสวยแชมป์ ไม่ผ่านการใช้ครับ
    [​IMG]
    [​IMG]

    ปิดนอกเวบครับ
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • jcy7t.jpg
      jcy7t.jpg
      ขนาดไฟล์:
      72 KB
      เปิดดู:
      136
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
  20. SPARTANS

    SPARTANS เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    3,380
    ค่าพลัง:
    +2,987
    เหรียญอิทธิมงคล 9 ครูบาชัยวงค์
    อธิษฐานจิตโดยสุดยอด 3 เกจิแห่งยุค ครูบาอิน วัดฟ้าหลั่ง
    ครูบาดวงดี วัดท่าจำปี และครูบาชัยวงค์ วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม ด้านหลังเป็นยันต์พระโมคคัลลานะ พิธีใหญ่ ในคราวที่หลวงปู่อายุครบ82ปีครับเหรียญนี้สามารถทำน้ำมนต์ได้เหมือนเหรียญตานใช้ของหลวงปู่ครับ
    เหรียญสวยเดิม ไม่ผ่านการใช้ ตอกโค๊ดชัดเจนด้านขวาครับ
    เหรียญจริงสวยเดิม กะไหล่ทองหายากครับ

    [​IMG]

    ปิดครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 มกราคม 2014
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...