ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Asteroid 2014 BR57 close encounter :


    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 กุมภาพันธ์ 2014
  3. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Asteroid 2014 DK10 discovered.
    Flyby Feb 21 at 11:27 UT.
    Dist: 0.68 LD (0.66 LD from Earth surface).
    Size: 5-16 m

    มีเซอร์ไพร้ส์แบบประชิดตัว ดีที่ทั้งขนาดเล็กและไม่ชนโลก

    .
     
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]


    Asteroid 2014 DX110 flyby Mar 5 at 21:00 UTC.

    Asteroid 2014 EF flyby Mar 6 at 03:17 UTC.

    Asteroid 2014 EC flyby Mar 6 at 22:05 UTC.

    .
     
  5. maxttdcv

    maxttdcv เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2011
    โพสต์:
    220
    ค่าพลัง:
    +760


    LD คืออะไรครับ
     
  6. baitouy

    baitouy เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 สิงหาคม 2011
    โพสต์:
    94
    ค่าพลัง:
    +179
    LD=lunar distance คือระยะทางเฉลี่ยระหว่างโลกกะดวงจันทร์ ประมาณ384400กม ครับ ถ้าค่า LD ต่ำกว่า1เช่น0.5 ก็คือเขาเข้ามาเฉียดโลกห่างจากโลก192200กมครับ
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ ที่เหลือสำหรับปีนี้

    24 พ.ค. อาจมีฝนดาวตกจากสายธารดาวหาง

    เป็นไปได้ว่าในวันที่ 24 พ.ค.นี้อาจจะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกที่สว่างสดใสในวันที่ 24 พ.ค. เนื่องจากคาดว่าโลกของเราจะเคลื่อนผ่านเข้าไปสายธารฝุ่นปริมาณมหาศาลที่ดาวหาง P/209 ลิเนียร์ (P/209 LINEAR) ดาวหางขนาดเล็กทิ้งไว้ในอวกาศ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า อาจมีปริมาณฝนดาวตกหลาสิบดวงหรืออาจถึงหลายร้อยดวงต่อชั่วโมง

    11 ส.ค.เกิด “ซูเปอร์มูน”

    ในวันที่ 11 ส.ค.ดวงจันทร์จะเต็มดวงตอน 02.09 น.ตามเวลาประเทศไทย ดวงจันทร์จะเข้าสู่ระยะเต็มดวง ซึ่งเกิดขึ้นล่วงหน้าเพียง 9 นาที ก่อนที่ดวงจันทร์จะเข้าสู่ตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในปี 2014 ที่ระยะ 356,896 กิโลเมตร ทำให้จันทร์เต็มดวงในครั้งนี้เรียกว่า “ซูเปอร์มูน” (supermoon) และคาดว่าจะทำให้เกิดน้ำขึ้นน้ำลงมากกว่าปกติในอีก 2-3 วันถัดไป

    18 ส.ค.สองดาวเคราะห์ “ศุกร์-พฤหัส” สุกสว่างเคียงกัน

    ในวันที่ 18 ส.ค. ท้องฟ้าด้านล่างของทิศตะวันออกเฉียงเหนือเยื้องมาทางตะวันออก ดาวเคราะห์ที่สุกสว่าง 2 ดวง คือ ดาวศุกร์ และ ดาวพฤหัสบดีจะอยู่ใกล้กันมาก โดยปรากฏห่างกันเพียง 2ใน 3 ของความกว้างปรากฏของดวงจันทร์บนท้องฟ้านั้น ซึ่งปรากฏการณ์นี้ง่ายต่อการสังเกต

    8 ต.ค.จันทรุปราเต็มดวง

    จะเกิดจันทรุปราคาอีกครั้งสำหรับปี 2014 ในวันที่ 8 ต.ค.โดยพื้นที่ที่จะได้เห็นคือทางซีกตะวันตกของอเมริกาเหนือ หมู่เกาะฮาวาย เอเชียตะวันออก อินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ และทางซีกตะวันออกของออสเตรเลีย และระหว่างปรากฏการณ์นี้หากส่องกล้องโทรทรรศน์หรือกล้องสองตาก็จะได้เห็นแสงเรืองเขียวของยูเรนัสดาวเคราะห์ที่ปรากฏอยู่ใกล้ๆ ดวงจันทร์ระหว่างนั้นด้วย ซึ่งผู้สังเกตการณ์ในอลาสกาและแคนาดาตอนบนจะเห็นดวงจันทร์บังดาวยูเรนัสระหว่างเกิดคราสเต็มดวงด้วย ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดขึ้นบ่อยนัก

    19 ต.ค.ดาวหางเฉียดดาวอังคาร

    ในวันที่ 19 ต.ค. ดาวหาง C/2013 เอ1 (C/2013 A1) หรือซิดิงสปริง (Siding Spring) ที่ค้นพบโดย โรเบิร์ต เอช.แมคนอต (Robert H. McNaught) จากหอดูดาวซิดิงสปริง (Siding Spring Observatory) ในออสเตรเลีย จะเฉียดใกล้ดาวอังคาร ซึ่งใกล้ในระดับที่ส่วนโคมา (coma) ของดาวหางอาจจะผ่านชั้นบรรยากาศดาวอังคาร แล้วทำให้เกิดฝนดาวตกที่มองเห็นได้จากพื้นผิวดาวอังคาร

    23 ต.ค. สุริยุปราคาบางส่วน

    วันที่ 23 ต.ค.จะเกิดสุริยุปราคาบางส่วนจากการที่เงามัว (penumbral shadow) พาดผ่านพื้นที่ส่วนใหญ่ของอเมริกาเหนือ และบางส่วนทางตะวันออกของไซบีเรีย โดยบริเวณที่เกิดคราสบังดวงอาทิตย์มากที่สุดอยู่ที่ช่องแคบแมคคลินตอค (M'Clintock Channel) ในมหาสมุทรอาร์กติก ที่แยกเกาะวิคตอเรีย (Victoria Island) ออกจากเกาะปรินซ์เวลส์ (Wales Island) ในเขตปกครองนูวาวุต (Territory of Nunavut) ของแคนาดา ส่วนที่เหลือของอเมริกาเหนือจะเห็นดวงอาทิตย์ถูกบังน้อยลงไป โดยทางแปซิฟิกนอร์ธเวสต์ (Pacific Northwest) และนอร์เทิร์นเพลนส์ (Northern Plains) จะเห็นดวงอาทิตย์ถูกบังไป 60%

    .
     
  10. natatik

    natatik เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 มกราคม 2012
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +3,607
    ติ๊กรบกวนคุณ hiflyer ช่วยตรวจสอบให้หน่อยได้มัยค่ะ
    ว่าช่วงเดือน พ.ค.- ก.ค. นี้ มีAsteroid อะไรบ้างมัยค่ะ
    ที่อยู่ในวงโคจรใกล้ ๆ กับโลก ขอบพระคุณล่วงหน้านะค่ะ
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    สวัสดีครับคุณติ๊ก

    จากข้อมูลของ NEO-JPL / NASA ( วันนี้ - 12 กค. 57 ) เรียงลำดับจากใกล้โลกที่สุด ไม่เกิน 5 เท่าของระยะทางโลก-ดวงจันทร์ ( LD )

    [​IMG]

    เมื่อคืน 10 พค. ตอนตี 3 บ้านเรา เพิ่งจะมีผ่านโลกเราไปด้วยระยะ 0.27 LD

    [​IMG]

    และเมื่อวันที่ 7 พค เพิ่งผ่านไปด้วยระยะ 0.28 LD 1 ลูก ส่วนวันที่ 6 พค. ผ่านไป 2 ลูก ที่ระยะ 1.11 และ 1.3 LD

    NEO Earth Close Approaches

    .
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]


    Here's a list of all the impacts between 2000 and 2013. Note how powerful each explosion was (a kiloton is equivalent to 1,000 tons of TNT explosives - note that the nuclear bomb that was dropped on Hiroshima during WWII had a power of about 16 kilotons of TNT):

    8/25/2000 (1-9 kilotons) North Pacific Ocean

    4/23/2001 (1-9 kilotons) North Pacific Ocean

    3/9/2002 (1-9 kilotons) North Pacific Ocean

    6/6/2002 (20+ kilotons) Mediterranean Sea

    11/10/2002 (1-9 kilotons) North Pacific Ocean

    9/3/2004 (20+ kilotons) Southern Ocean

    10/7/2004 (10-20 kilotons) Indian Ocean

    10/26/2005 (1-9 kilotons) South Pacific Ocean

    11/9/2005 (1-9 kilotons) New South Wales, Australia

    2/6/2006 (1-9 kilotons) South Atlantic Ocean

    5/21/2006 (1-9 kilotons) South Atlantic Ocean

    6/7/2007 (1-9 kilotons) Finland

    8/9/2006 (1-9 kilotons) Indian Ocean

    9/2/2006 (1-9 kilotons) Indian Ocean

    10/2/2006 (1-9 kilotons) Arabian Sea

    12/9/2006 (10-20 kilotons) Egypt

    9/22/2007 (1-9 kilotons) Indian Ocean

    12/26/2007 (1-9 kilotons) South Pacific Ocean

    10/7/2008 (1-9 kilotons) Sudan

    10/8/2009 (20+ kilotons) South Sulawesi, Indonesia

    9/3/2010 (10-20 kilotons) South Pacific Ocean

    12/25/2010 (1-9 kilotons) Tasman Sea

    4/22/2012 (1-9 kilotons) California, USA

    2/15/2013, (20+ kilotons) Chelyabinsk Oblast, Russia

    4/21/2013 (1-9 kilotons) Santiago del Estero, Argentina

    4/30/2013 (10-20 kilotons) North Atlantic Ocean


    ช่วง 13 ปีที่ผ่านมา มีเหตุการณ์ที่โลกเราโดนวัตถุจากนอกโลกชนขั้นรุนแรง 26 ครั้ง ในวีดีโอข้างล่างนี้จะแสดงให้เราเห็นว่า Asteroids มันมีมากมายขนาดไหน

    <iframe width="640" height="390" src="//www.youtube.com/embed/VmKofZbY0r0" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    .
     
  13. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    จากการเฝ้าสังเกตและตรวจจับวัตถุจากนอกโลก ซึ่งเป็นความพยายามร่วมกันทั้งโลก มี Asteroids ที่ต้องจับตาดูนับล้านลูกในแต่ละเดือน


    [​IMG]

    .
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    เมื่อคืนมีท่านใดออกไปเฝ้าดูฝนดาวตก มั๊งครับ ซึ่งโปรโมทกันว่า น่าจะเห็นมากถึง 200 ดวงต่อ ชม. จากข่าวบอกว่าเห็นน้อยมาก

    เป็นการโคจรผ่านธารสะเก็ดดาวหาง 209P/LINEAR ครั้งแรกของโลก

    .
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Asteroid 2014 KH39 เพิ่งถูกค้นพบ เมื่อ 24 พค. 2014

    Flyby : Jun 3 at 20:07 UT.
    Dist : 1.14 LD.
    Size : 12-39 m.
    Uncertainty code : 8

    .
     
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    .
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขณะนี้ยาน Rosetta อยู่ห่างจากดาวหาง 67P/C-G ไม่ถึง 10,000 กม. และคาดว่าอีกประมาณ 3 สัปดาห์ คือวันที่ 6 สิงหาคม 2014 ยาน Rosetta จะเริ่มโคจรรอบดาวหางดวงนี้ ก่อนที่จะปล่อยยาน Philae ลงจอดบนพื้นผิวของดาวหางในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน 2014 นี้

    [​IMG]


    ยิ่งเข้าใกล้ดาวหาง 67P/C-G ยิ่งพบว่ามันไม่ธรรมดาอย่างที่คิด แล้วจะลงจอดก้อนไหนดีหว่า ??

    [​IMG]

    http://sci.esa.int/rosetta/

    .
     
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขณะนี้ยาน Rosetta อยู่ห่างจากดาวหาง 67P/C-G ประมาณ 1,000 กม.


    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    2 วันติดกันเลยที่ผู้มาเยือน ผ่านไปอย่างปลอดภัย

    Asteroid 2014 OP2 Jul 24 at 08:35 UT. Dist: 0.52 LD (0.51 LD from Earth surface). Size: 2-9 m.

    Asteroid 2014 OM207 Jul 25 at 06:39 UT. Dist: 0.70 LD (0.69 LD from Earth surface). Size: 3-9 m.

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...