เรียงลำดับการสวดมนต์ก่อนนอนให้หน่อยนะครับ

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย knowknow, 3 มีนาคม 2015.

  1. knowknow

    knowknow สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2014
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +8
    ช่วยเรียงลำดับการสวดมนต์ให้หน่อยนะครับ
    ปัจจุบัน ผมเริ่มจากการ
    1.กราบพระรัตนตรัย
    2.อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมังนะมัสสามิ สุปะฏิปปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิ.
    3.นะโมตัสสะ
    4.พระคาถาชินบัญชร
    5.แผ่เมตตา และส่วนกุศลครับ
    ผมสวดแบบนี้มาได้เกือบปีแล้วครับ เมื่อก่อนจบแค่อะระหังสัมมาครับ ปัจจุบันได้เพิ่มพระคาถาชินบัญชรครับ
    ช่วยเรียงลำดับให้หน่อยนะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 มีนาคม 2015
  2. na_krub

    na_krub "นโม ธรรมะสุขัง อรหังพุทโธ นโมพุทธายะ"

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +2,916
    สาธุ สาธุ สาธุ

    ขออนุญาตชี้แนะนะครับ

    ลำดับขั้นตอนถูกต้องแล้วครับ แต่อยากแนะนำให้สวดเพิ่มเติมครับ จะได้ครบบริบูรณ์สำหรับการสักการะและเคารพในพระรัตนตรัย

    ลำดับขั้นในการสวดมนต์ตามแบบฉบับของหลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม
    ๑ อิมินา สักกาเรนะ, พุทธัง อะภิปู ชะยามะ
    อิมินา สักกาเรนะ, ธัมมัง อะภิปู ชะยามะ
    อิมินา สักกาเรนะ, สังฆัง อะภิปู ชะยามะ
    (สักการะพระรัตนตรัย)
    ๒ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิฯ (กราบ)
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, ธัมมัง นะมัสสามิฯ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สังฆัง นะมามิฯ (กราบ)
    (กราบพระรัตนตรัย)
    ๓ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    (นมัสการองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า)
    ๔ วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
    วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
    วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
    (ขอขมาพระรัตนตรัย)
    ๕ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    (ไตรสรณคมน์)
    ๖ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา, เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก ,เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก, ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ ฯ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต,สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,อาหุเนยโย,ปาหุเนยโย,ทักขิเณยโย,อัญชะลีกะระณีโย,อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
    (ถวายพรพระ)
    ๗ พาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ
    (พาหุง)

    ๘ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิ มุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

    ๙ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี
    ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี
    ภะวันตุ เต
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี
    ภะวันตุ เต
    (สัพพะมงคลคาถา)

    หลังจากสวดสักการะบูชาพระรัตนตรัยเสร็จแล้ว ก็ตามด้วยบทสวดของครู อาจารย์ที่เคารพ

    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

    ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
    อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
    อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ
    มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

    ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.

    ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.

    สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

    หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.

    ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.

    เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว


    กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.

    ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.

    เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

    ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

    ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

    ชินานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
    วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.

    อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.

    ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.

    อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

    ขออนุโมทนาสาธุด้วยครับ
    สาธุ สาธุ สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 มีนาคม 2015
  3. knowknow

    knowknow สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2014
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +8
    ขอบคุณครับ
     
  4. โมทนาman

    โมทนาman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    5,665
    ค่าพลัง:
    +6,165
    1 กับ 2 ไม่ใช่อันเดียวกันเหรอ
    กราบพระรัตนตรัยสวดยังไง

    สวดอิติปิโสฯด้วย
     
  5. Jindamunee

    Jindamunee เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มิถุนายน 2011
    โพสต์:
    341
    ค่าพลัง:
    +1,187
    อาราธนาศีล5 ด้วยครับเป็นฐานแห่งการรองรับความศักดิ์สิทธิ์ที่ไปกับศรัทธา
     
  6. na_krub

    na_krub "นโม ธรรมะสุขัง อรหังพุทโธ นโมพุทธายะ"

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +2,916
    ขออนุญาตแนะนำครับ

    ข้อ ๑ สักการะพระรัตนตรัย เปรียบเสมือนการยกย่องหรือระลึกถึง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ในณะที่กล่าวคำสักการะก็ให้น้อมจิตระลึกถึงพระรัตนตรัย จิตแต่ละคนความละเอียดจะไม่เหมือนกัน เช่น บางคนตอนที่กล่าวสักการะพระพุทธ(พระพุทธเจ้า) อาจจะนึกถึงพระพุทธเจ้าตั้งแต่องค์พระปฐมจนถึงปัจจุบัน หรือบางท่านก็นึกได้แค่องค์พระศาสดาองค์ปัจจุบันได้แค่องค์เดียว เป็นต้น หรือตอนที่กล่าวคำสักการะถึงพระสงฆ์จิตบางคนก็นึกได้แค่ว่าพระสงฆ์คือพระสงฆ์เท่านั้น กับบางคนที่สามารถนึกได้ตั้งแต่พระสงฆ์รูปแรก จนถึงครู อาจารย์ที่นับถืออยู่ ณ ปัจจุบัน เป็นต้น

    ข้อ ๒ กราบพระรัตนตรัย คำว่ากราบก็คือการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ ในช่วงที่ก้มกราบจิตก็ระลึกถึงตัวเองที่ก้มลงกราบต่อหน้าพระรัตนตรัยโดยตรง ส่วนจิตใครจะละเอียดกว่ากันนั้นก็ขึ้นอยู่กับการนับถือและเคารพบูชา

    ความแตกต่างของทั้ง ๒ ข้อ คือ แค่ระลึก กับ การกราบ หรือ เป็นนามธรรมกับรูปธรรม

    ถ้าจะถามว่าทำไมต้องทำ ทำไปเพื่ออะไร?
    วิสัชนา ปกติคนเราย่อมมีความแตกต่างกันในเรื่องของสมาธิ บางคนเกิดสมาธิเร็ว บางคนสมาธิเกิดช้า บางคนไม่ชอบทำสมาธิในช่วงสวดมนต์ บางคนชอบทำสมาธิไปพร้อมกับการสวดมนต์ สำหรับตัวข้าพเจ้าแล้วถนัดทางด้านสวดมนต์ไปด้วยทำสมาธิไปด้วย ไม่ถนัดทางด้านนั่งสมาธิโดยตรง เพราะมีความจำกัดในเรื่องของเวลา

    อนุโมทนาบุญกับผู้ที่ใฝ่ในธรรมะทุกๆท่านนะครับ สาธุ สาธุ สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มีนาคม 2015
  7. na_krub

    na_krub "นโม ธรรมะสุขัง อรหังพุทโธ นโมพุทธายะ"

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +2,916
    สาธุ สาธุ สาธุ

    ดีครับ เป็นคำแนะนำที่ดีมากครับ การอาราธนาศีลสามารถกระทำได้ต่อจากบทไตรสรณคมน์ การอาราธนาศีลหรือการสมาทานศีลเป็นการบ่มจิตฝึกจิตให้ทำความดี ละความชั่วเป็นเรื่องปกติ เหมาะกับผู้ที่จิตไม่หนักแน่น อ่อนไหวต่ออายตนะภายนอกที่ต้องใช้ชีวิตอยู่กับสังคม

    สำหรับตัวข้าพเจ้าเองไม่ได้อาราธนาศ๊ล เพราะยึดคติประจำตัวที่ว่า"ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว"ดูเหมือนเป็นวลีง่ายๆ แต่มันก็ครอบคลุมทั้งหมดแล้ว โดยให้จิตระลึกตลอดเวลา เพื่อความไม่ประมาท

    อนุโมทนาบุญแด่ผู้ที่ใฝ่ในธรรมะทุกๆท่านนะครับ สาธุ สาธุ สาธุ
     
  8. na_krub

    na_krub "นโม ธรรมะสุขัง อรหังพุทโธ นโมพุทธายะ"

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 กุมภาพันธ์ 2012
    โพสต์:
    1,514
    ค่าพลัง:
    +2,916
    ลืมตอบอีกข้อความ

    คำถามไม่ชัดเจน ผมขอเดานะครับ

    สำหรับบทสวดอิติปิโส(พระพุทธคุณ พระธรรมคุณและพระสังฆคุณ)หรือถวายพรพระเป็นบทเดียวกันอยู่ที่ข้อ ๖ ตามลำดับขั้นการสวดมนต์ด้านบนที่ข้าพเจ้าได้กล่าวเอาไว้แล้ว ส่วนคำแปลนั้นหาอ่านได้ในกูเกิ้ล
    สำหรับจังหวะหรือท่วงทำนองในการสวด แล้วแต่จริตของแต่ละท่าน บางท่านชอบสวดทำนองแบบเร็ว บางท่านชอบสวดทำนองแบบช้า ซึ่งไม่มีคำว่าถูกหรือผิดในการทำความดี บางท่านก็จำทำนองของพระสงฆ์สวดมาใช้กับตัวเอง บางท่านก็เน้นอักขระให้ชัดเจนเป็นคำๆ ในการท่องสวดถ้าสติดีก็จะนึกคำแปลตามไปด้วย ทำให้ได้สมาธิไปในตัว

    ถ้าตอบไม่ถูกต้อง รบกวนถามมาใหม่อีกครั้งนะครับ
    อนุโมทนาสาธุ ครับ สาธู สาธุ สาธุ
     
  9. knowknow

    knowknow สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2014
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +8
    สาธุครับ
     
  10. Muang99

    Muang99 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กุมภาพันธ์ 2011
    โพสต์:
    4,280
    กระทู้เรื่องเด่น:
    6
    ค่าพลัง:
    +6,519
    บทสวดมนต์ (แบบหลวงพ่อจรัญ)

    กราบพระรัตนตรัย
    อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)

    นมัสการพระพุทธเจ้า
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ)

    ไตรสรณคมน์
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

    พระพุทธคุณ
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต
    ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
    พุทโธ ภะคะวาติฯ

    พระธรรมคุณ
    สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก
    อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง
    เวทิตัพโพ วิญญูหีติฯ (อ่านว่า วิญญูฮีติ)

    พระสังฆคุณ
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี
    กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

    พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)
    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง
    โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ

    เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย
    วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
    หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ

    มหาการุณิโก
    มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง
    ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา
    ชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก
    สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนัก
    ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
    สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ จาริสุ ปะทักขิณัง
    กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
    มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
    กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะ พุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

    หมายเหตุ : ถ้าสวดให้ตัวเองให้เปลี่ยนจากคำว่า เต เป็น เม ทุกแห่ง

    หลังจากสวดมนต์ตั้งแต่ต้นจนจบบทพาหุงมาหากาฯ แล้ว
    ก็ให้สวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิติปิโส ให้ได้จำนวนจบ
    เท่ากับอายุของตนเอง แล้วสวดเพิ่มไปอีกหนึ่งจบ ตัวอย่างเช่น
    ถ้าอายุ ๓๕ ปี ต้องสวด ๓๖ จบ จากนั้นจึงค่อยแผ่เมตตา


    พุทธคุณเท่าอายุเกิน ๑ (อิติปิโสเท่าอายุ+๑)
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
    วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต
    ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
    พุทโธ ภะคะวาติฯ

    ** คาถาชินบัญชร ให้เพิ่มลงในช่วงนี้ **
    คาถาชินบัญชร
    (นะโม 3 จบ)
    ปุตตะกาโม ละเภ ปุตตัง ธะนะกาโม ละเภ ธะนัง
    อัตถิ กาเย กายะญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตตะวา
    อิติปิโส ภะคะวา ยะมะราชาโน เท้าเวสสุวัณโณ
    มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโม พุทธายะ
    1. ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชตะวามารัง สะวาหะนัง
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา
    2. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
    สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา
    3. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร
    4. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก
    5. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก
    6. เกสันโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
    7. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร
    8. ปุโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวะลี
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ
    9. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
    เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
    ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา
    10. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
    11. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
    12. ชินะ นานาวะระสังยุตตา สัตตปาการะลังกะตา
    วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา
    13. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร
    14. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหี ตะเล
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา
    15. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโค
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
    สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติ

    คำแผ่เมตตาให้แก่ตนเอง
    อะหัง สุขิโต โหมิ
    ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุข

    อะหัง นิททุกโข โหมิ
    ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากทุกข์

    อะหัง อเวโร โหมิ
    ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากเวร

    อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ
    ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากความลำบาก

    อะหัง อะนีโฆ โหมิ
    ขอให้ข้าพเจ้าจงปราศจากอุปสรรค

    สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ
    จงรักษาตนให้มีความสุขตลอดกาลนานเทอญ

    บทแผ่เมตตาให้แก่ผู้อื่น
    สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลาย ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บ
    ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น

    อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กัน
    และกันเลย

    อัพยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้
    พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย

    อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์
    กาย ทุกข์ใจเลย

    สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ
    รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

    บทอุทิศส่วนกุศล (บทกรวดน้ำ)
    อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตา ปิตะโร
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า
    ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้า จงมีความสุข

    อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า
    ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข

    อิทัง เม คุรูปัชฌายาจะริยานังโหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจะริยา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่ครูอุปัชฌาย์ อาจารย์ของข้าพเจ้า
    ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า จงมีความสุข

    อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง
    ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

    อิทัง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง
    ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

    อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
    ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง
    ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข

    อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ
    สัตตา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จ แก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้
    สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
     
  11. โมทนาman

    โมทนาman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    5,665
    ค่าพลัง:
    +6,165
    ถามเจ้าของกระทู้น่ะจ้ะ

    เห็นบอกข้อ 1 กราบพระรัตนตรัย ข้อ 2 อะระหังสัมมาฯ
     
  12. knowknow

    knowknow สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 เมษายน 2014
    โพสต์:
    15
    ค่าพลัง:
    +8
    ขอบคุณครับ ผมไม่รู้อ่ครับว่าอันเดียวกัน
     
  13. โมทนาman

    โมทนาman เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤศจิกายน 2007
    โพสต์:
    5,665
    ค่าพลัง:
    +6,165
    แล้วที่บอกว่า 1. กราบพระรัตนตรัย นั่นทำยังไงเหรอครับ
     
  14. (-*-)

    (-*-) เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    664
    ค่าพลัง:
    +1,060
    เห็นด้วยกับลุง samnido .. 1) กับ 2) เป็นส่วนเดียวกันครับ

    ขอแนะนำให้ปรับสองส่วนแรกครับ

    1. กราบพระรัตนตรัย 3 ครั้ง
    พร้อมกับต่อด้วยบท .. อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภควา ..

    2. (เพิ่ม) บทสรรเสริญ พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ ได้แก่บท
    อิติปิโส ภควา อรหัง สัมมา .. สวากขาโต ... สุปฏิปันโน ภควโต ..
    (บทนี้จะกล่าวยกย่องว่าท่านมีคุณอย่างไร .. สำคัญมากครับ)
     
  15. พามมะวดี

    พามมะวดี เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    435
    ค่าพลัง:
    +1,857
    ที่สวดประจำ ทำวัตรเช้า ทำวัตรเย็น บทโมรปริต บทพระมหาจักรพรรดิ
    ตามด้วยบทสวดมนต์อื่นๆ ไม่ได้สวดประจำๆแต่บทนั้นๆทุกๆวัน
    สลับสวดบท อื่นๆ เช่น
    -ทิพย์มนต์ ปิ่นธรณี
    -อาการวัตตาสูตร
    ฯลฯ

    -------------
    บางบทพุทธคุณด้านแคล้วคลาดอันตราย
    บางบทพุทธคุณด้านเมตตา
    บางบทสวดครั้งนึงมีอานุภาพคุ้มครองหลายเดือน

    จึงสวดสลับๆ หลายๆบท
     

แชร์หน้านี้

Loading...