การปฏิบัติธรรม "ด้วยการปฏิเสธฌานสมาธิ" จะสำเร็จได้อย่างไร.?

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย นโมพุทธายะ๕, 5 มกราคม 2020.

สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้
  1. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ***********
    ...จะพึงมีทางอื่นที่จะตรัสรู้บ้างไหม’ เราจึงมีความดำริว่า ‘เราจำได้อยู่ เมื่อคราวงานของท้าวสักกาธิบดีซึ่งเป็นพระราชบิดา เรานั่งอยู่ใต้ต้นหว้าอันร่มเย็น ได้สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้วบรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ ทางนั้นพึงเป็นทางแห่งการตรัสรู้หรือหนอ’ เรามีความรู้แจ้งที่ตามระลึกด้วยสติว่า ‘ทางนั้นเป็นทางแห่งการตรัสรู้’ เราจึงมีความดำริว่า ‘เรากลัวความสุขที่เว้นจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายหรือ’ เราก็ดำริว่า ‘เราไม่กลัวความสุขที่เว้นจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายเลย’
    [๓๘๒] อัคคิเวสสนะ เราจึงมีความดำริต่อไปว่า ‘เราผู้มีกายซูบผอมมากอย่างนี้ จะบรรลุความสุขนั้นไม่ใช่ทำได้ง่ายเลย ทางที่ดี เราควรกินอาหารหยาบ คือข้าวสุกและขนม
    กุมมาส’ เราก็กินอาหารหยาบคือข้าวสุกและขนมกุมมาส ครั้งนั้น ภิกษุปัญจวัคคีย์ ที่เฝ้าบำรุงเราด้วยหวังว่า ‘พระสมณโคดมบรรลุธรรมใด จักบอกธรรมนั้นแก่เราทั้งหลาย’ เมื่อใด เรากินอาหารหยาบ คือข้าวสุกและขนมกุมมาส เมื่อนั้น ภิกษุปัญจวัคคีย์นั้น ก็เบื่อหน่ายจากไปด้วยเข้าใจว่า ‘พระสมณโคดมมักมาก คลายความเพียร เวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมากเสียแล้ว’
    ฌาน ๔ และวิชชา ๓
    [๓๘๓] อัคคิเวสสนะ เรากินอาหารหยาบให้ร่างกายมีกำลัง สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป เราบรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสในภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิอยู่แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    เพราะปีติจางคลายไป เรามีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ‘ผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข’ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้นก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    เพราะละสุขและทุกข์ได้ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อนแล้ว เราบรรลุจตุตถฌานที่ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    [๓๘๔] เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนินปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ คือ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ้าง ฯลฯ เราระลึกชาติก่อนได้หลายชาติพร้อมทั้งลักษณะทั่วไปและชีวประวัติอย่างนี้ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๑ นี้ ในปฐมยามแห่งราตรี กำจัดอวิชชาได้แล้ว วิชชาก็เกิดขึ้น กำจัดความมืดได้แล้ว ความสว่างก็เกิดขึ้น เหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้นก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    [๓๘๕] เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นน้อมจิตไปเพื่อจุตูปปาตญาณ เห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังเกิด ทั้งชั้นต่ำและชั้นสูง งามและไม่งาม เกิดดีและเกิดไม่ดี ด้วยตาทิพย์อันบริสุทธิ์เหนือมนุษย์ รู้ชัดถึงหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ฯลฯ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๒ นี้ในมัชฌิมยามแห่งราตรีกำจัดอวิชชาได้แล้ว วิชชาก็เกิดขึ้น กำจัดความมืดได้แล้ว ความสว่างก็เกิดขึ้นเหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    [๓๘๖] เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า ‘นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา’ เมื่อเรารู้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’ รู้ชัดว่า ‘ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป’
    อัคคิเวสสนะ เราบรรลุวิชชาที่ ๓ นี้ในปัจฉิมยามแห่งราตรี กำจัดอวิชชาได้แล้ว วิชชาก็เกิดขึ้น กำจัดความมืดได้แล้ว ความสว่างก็เกิดขึ้น เหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของ
    เราอยู่ไม่ได้
    ……………….
    ข้อความบางตอนใน มหาสัจจกสูตร มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=12&siri=36
    หมายเหตุ : ในอรรถกถาอธิบายว่า สัจจกนิครนถ์ได้ฟังพระธรรมเทศนาถึง ๓ ภาณวาร แต่ไม่ได้บรรลุมรรคผลอะไร ไม่ได้ขอบรรพชา ไม่ได้ประกาศตนเป็นอุบาสกผู้ถึงพระรัตนตรัย ถามว่า พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่เขาทำไม ตอบว่า ทรงแสดงเพื่อผลในอนาคตกาล คือทรงเห็นว่า ในชาตินี้ เขาไม่มีอุปนิสัย พอจะรู้แจ้งธรรม แต่หลังจากพุทธปรินิพพานแล้ว ๒๐๐ ปี พระพุทธศาสนาจะไปเจริญในลังกา สัจจกนิครนถ์จะไปเกิดที่นั้นจะได้บรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา และจะบรรลุอรหัตตผลเป็นพระขีณาสพ มีชื่อว่า กาฬพุทธรักขิตตะ
    ดูรายละเอียดใน อรรถกถามหาสัจจกสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=12&i=405

    https://web.facebook.com/TipitakaStudies

    DhK6RVEL4BVEBQtaRpMSfP9zSFaO3KB_jzvHUzoWsQHn&_nc_ohc=2D1kT3Wx4YcAX9JwJPs&_nc_ht=scontent.fbkk2-6.jpg
     
  2. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ?temp_hash=9b55647a4e9c1e0e456455eb9443dcff.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  3. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ฌาน คือ ทางแห่งการตรัสรู้
    ***********
    ...จะพึงมีทางอื่นที่จะตรัสรู้บ้างไหม’ เราจึงมีความดำริว่า ‘เราจำได้อยู่ เมื่อคราวงานของท้าวสักกาธิบดีซึ่งเป็นพระราชบิดา เรานั่งอยู่ใต้ต้นหว้าอันร่มเย็น ได้สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้วบรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ ทางนั้นพึงเป็นทางแห่งการตรัสรู้หรือหนอ’ เรามีความรู้แจ้งที่ตามระลึกด้วยสติว่า ‘ทางนั้นเป็นทางแห่งการตรัสรู้’ เราจึงมีความดำริว่า ‘เรากลัวความสุขที่เว้นจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายหรือ’ เราก็ดำริว่า ‘เราไม่กลัวความสุขที่เว้นจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายเลย’
    [๓๘๒] อัคคิเวสสนะ เราจึงมีความดำริต่อไปว่า ‘เราผู้มีกายซูบผอมมากอย่างนี้ จะบรรลุความสุขนั้นไม่ใช่ทำได้ง่ายเลย ทางที่ดี เราควรกินอาหารหยาบ คือข้าวสุกและขนมกุมมาส’ เราก็กินอาหารหยาบคือข้าวสุกและขนมกุมมาส ครั้งนั้น ภิกษุปัญจวัคคีย์ ที่เฝ้าบำรุงเราด้วยหวังว่า ‘พระสมณโคดมบรรลุธรรมใด จักบอกธรรมนั้นแก่เราทั้งหลาย’ เมื่อใด เรากินอาหารหยาบ คือข้าวสุกและขนมกุมมาส เมื่อนั้น ภิกษุปัญจวัคคีย์นั้น ก็เบื่อหน่ายจากไปด้วยเข้าใจว่า ‘พระสมณโคดมมักมาก คลายความเพียร เวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมากเสียแล้ว’
    ฌาน ๔ และวิชชา ๓
    [๓๘๓] อัคคิเวสสนะ เรากินอาหารหยาบให้ร่างกายมีกำลัง สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    เพราะวิตกวิจารสงบระงับไป เราบรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสในภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขอันเกิดจากสมาธิอยู่แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    เพราะปีติจางคลายไป เรามีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะเสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ‘ผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข’ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้นก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    เพราะละสุขและทุกข์ได้ เพราะโสมนัสและโทมนัสดับไปก่อนแล้ว เราบรรลุจตุตถฌานที่ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    [๓๘๔] เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนินปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติก่อนได้หลายชาติ คือ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ้าง ฯลฯ เราระลึกชาติก่อนได้หลายชาติพร้อมทั้งลักษณะทั่วไปและชีวประวัติอย่างนี้ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๑ นี้ ในปฐมยามแห่งราตรี กำจัดอวิชชาได้แล้ว วิชชาก็เกิดขึ้น กำจัดความมืดได้แล้ว ความสว่างก็เกิดขึ้น เหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้นก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    [๓๘๕] เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นน้อมจิตไปเพื่อจุตูปปาตญาณ เห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังเกิด ทั้งชั้นต่ำและชั้นสูง งามและไม่งาม เกิดดีและเกิดไม่ดี ด้วยตาทิพย์อันบริสุทธิ์เหนือมนุษย์ รู้ชัดถึงหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ฯลฯ เราได้บรรลุวิชชาที่ ๒ นี้ในมัชฌิมยามแห่งราตรีกำจัดอวิชชาได้แล้ว วิชชาก็เกิดขึ้น กำจัดความมืดได้แล้ว ความสว่างก็เกิดขึ้นเหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของเราอยู่ไม่ได้
    [๓๘๖] เมื่อจิตเป็นสมาธิบริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจากความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ เรานั้นน้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า ‘นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา’ เมื่อเรารู้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตก็หลุดพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า ‘หลุดพ้นแล้ว’ รู้ชัดว่า ‘ชาติสิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้อีกต่อไป’
    อัคคิเวสสนะ เราบรรลุวิชชาที่ ๓ นี้ในปัจฉิมยามแห่งราตรี กำจัดอวิชชาได้แล้ว วิชชาก็เกิดขึ้น กำจัดความมืดได้แล้ว ความสว่างก็เกิดขึ้น เหมือนบุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียร อุทิศกายและใจอยู่ แม้สุขเวทนาที่เกิดขึ้นเช่นนั้น ก็ครอบงำจิตของ
    เราอยู่ไม่ได้
    ……………….
    ข้อความบางตอนใน มหาสัจจกสูตร มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=12&siri=36
    หมายเหตุ : ในอรรถกถาอธิบายว่า สัจจกนิครนถ์ได้ฟังพระธรรมเทศนาถึง ๓ ภาณวาร แต่ไม่ได้บรรลุมรรคผลอะไร ไม่ได้ขอบรรพชา ไม่ได้ประกาศตนเป็นอุบาสกผู้ถึงพระรัตนตรัย ถามว่า พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่เขาทำไม ตอบว่า ทรงแสดงเพื่อผลในอนาคตกาล คือทรงเห็นว่า ในชาตินี้ เขาไม่มีอุปนิสัย พอจะรู้แจ้งธรรม แต่หลังจากพุทธปรินิพพานแล้ว ๒๐๐ ปี พระพุทธศาสนาจะไปเจริญในลังกา สัจจกนิครนถ์จะไปเกิดที่นั้นจะได้บรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา และจะบรรลุอรหัตตผลเป็นพระขีณาสพ มีชื่อว่า กาฬพุทธรักขิตตะ
    ดูรายละเอียดใน อรรถกถามหาสัจจกสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=12&i=405

    U7QhNEyZ6w0ggmuOKGeePm9_TS-ZJE_gGgxQzCE4NH0&_nc_ohc=NzcZPwr-OGgAX-J6q_b&_nc_ht=scontent.fbkk22-1.jpg
     
  4. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ฌานสูตร ว่าด้วยฌาน

    [๓๖] ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า

    ๑. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยปฐมฌาน
    ๒. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยทุติยฌาน
    ๓. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยตติยฌาน
    ๔. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยจตุตถฌาน
    ๕. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยอากาสานัญจายตนฌาน
    ๖. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยวิญญาณัญจายตนฌาน
    ๗. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยอากิญจัญญายตนฌาน
    ๘.อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน
    ๙. อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยสัญญาเวทยิตนิโรธ
    เรากล่าวไว้เช่นนี้แลว่า ‘อาสวะทั้งหลายสิ้นไปได้ เพราะอาศัยปฐมฌาน’เพราะอาศัยเหตุอะไร เราจึงกล่าวไว้เช่นนั้น
    เพราะอาศัยเหตุนี้ว่า
    ภิกษุในธรรมวินัยนี้สงัดจากกามและอกุศลธรรมทั้งหลายบรรลุปฐมฌาน ฯลฯ เธอย่อมพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่มีอยู่ในปฐมฌานนั้น โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นดังโรคเป็นดังหัวฝี เป็นดังลูกศร เป็นสิ่งคอยก่อความเดือดร้อน เป็นที่ทำให้ขัดข้อง เป็นดังคนฝ่ายอื่น เป็นสิ่งที่ต้องแตกสลาย เป็นของว่างเปล่า เป็นอนัตตา เธอย่อมทำจิตให้กลับจากธรรมเหล่านั้น
    ครั้นแล้ว จึงน้อมจิตไปเพื่ออมตธาตุว่า
    ‘ภาวะที่สงบ ประณีต คือ ความระงับสังขารทั้งปวง ความสละคืนอุปธิกิเลสทั้งปวง ความสิ้นไปแห่งตัณหา ความคลายกำหนัด ความดับ นิพพาน‘
    เธอดำรงอยู่ในปฐมฌานนั้น ย่อมบรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย หากยังไม่บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ก็จะเป็นโอปปาติกะ เพราะสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ ประการสิ้นไป ด้วยความยินดีเพลิดเพลินในธรรมนั้น จักปรินิพพานในภพนั้น ไม่หวนกลับมาจากโลกนั้นอีก...
    .......
    ข้อความบางตอนใน ฌานสูตร อังคุตตรนิกาย นวกนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๓ http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=23&siri=199
    #ฌาน

    jXIcV7iHOJ-13p6kiYFRPfhVXNfEEaNLbpcrrv7bH7D1&_nc_ohc=_TQf2WwNQNsAX-DuVET&_nc_ht=scontent.fbkk2-7.jpg
     
  5. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ?temp_hash=8081631bec1b4c5b3cbfc2f4fe76c69d.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  6. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
  7. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
  8. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ?temp_hash=c448e52e61c8f0a2b1d50f279d9ee846.jpg
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  9. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    ?temp_hash=612df2729bdf27d94757ec2fa8f5cb5c.jpg


    ทัฏฐัพพสูตร ว่าด้วยธรรมที่พึงเห็น
    [๑๕] ภิกษุทั้งหลาย พละ ๕ ประการนี้
    พละ ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ
    ๑. สัทธาพละ
    ๒. วิริยพละ
    ๓. สติพละ
    ๔. สมาธิพละ
    ๕. ปัญญาพละ

    ภิกษุทั้งหลาย พึงเห็นสัทธาพละได้ที่ไหน
    พึงเห็นได้ในโสตาปัตติยังคะ พึงเห็นสัทธาพละได้ที่นี้
    พึงเห็นวิริยพละได้ที่ไหน
    พึงเห็นได้ในสัมมัปปธาน ๔ พึงเห็นวิริยพละได้ที่นี้
    พึงเห็นสติพละได้ที่ไหน
    พึงเห็นได้ในสติปัฏฐาน ๔ พึงเห็นสติพละได้ที่นี้

    พึงเห็นสมาธิพละได้ที่ไหน
    พึงเห็นได้ในฌาน ๔ พึงเห็นสมาธิพละได้ที่นี้
    พึงเห็นปัญญาพละได้ที่ไหน
    พึงเห็นได้ในอริยสัจ ๔ พึงเห็นปัญญาพละได้ที่นี้

    ภิกษุทั้งหลาย พละ ๕ ประการนี้แล
    ........
    ทัฏฐัพพสูตร อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๒ https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=22&siri=15
    #พละ #สมาธิ #สมาธิพละ #ฌาน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  10. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    bgwlQO8XvW3dEJ2Fs3u5xXh8GheADdO0D&_nc_ohc=2KHqICB6FQgAX_sZ26A&_nc_zt=23&_nc_ht=scontent.fbkk22-6.jpg
     
  11. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    พึงเป็นผู้ขวนขวายในฌาน
    ……
    [๙๗๙] ภิกษุพึงเป็นผู้ไม่สอดส่ายจักษุ
    และไม่พึงเป็นผู้มีเท้าอยู่ไม่สุข
    พึงเป็นผู้ขวนขวายในฌาน ตื่นอยู่โดยมาก
    ปรารภอุเบกขา มีจิตตั้งมั่น
    พึงเข้าไปตัดความตรึกธรรม
    ที่อาศัยความตรึกและความคะนอง
    …….
    ข้อความบางตอนใน สารีปุตตสูตร ว่าด้วยพระสารีบุตรกล่าวสรรเสริญพระพุทธคุณ
    ขุททกนิกาย สุตตนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕
    https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=25&siri=281
    บทว่า ฌานานุยุตฺโต คือ เป็นผู้ขวนขวายในฌานด้วยการทำฌานที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น และเสพฌานที่เกิดขึ้นแล้ว.
    บทว่า อุเปกฺขมารพฺภ สมาหิตตฺโต ภิกษุปรารภอุเบกขามีจิตตั้งมั่นแล้ว คือ ยังอุเบกขาในจตุตตฌานให้เกิดแล้วมีจิตตั้งมั่น.
    บทว่า ตกฺกาสยํ กุกฺกุจฺจิยูปฉินฺเท พึงตัดเสียซึ่งธรรมเป็นที่อยู่แห่งความวิตกและความคะนอง คือพึงตัดเสียซึ่งวิตกมีกามวิตกเป็นต้น, ธรรมเป็นที่อยู่แห่งความตรึกถึงกามสัญญาเป็นต้น และความคะนองมีคะนองมือเป็นต้น.
    ………..
    ข้อความบางตอนใน อรรถกถาสารีปุตตสูตร https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=423
    4y9pUM8xrIgUc&_nc_ohc=nvklmi49j9QAX9eds0L&tn=toLzPcx_25HvKG2C&_nc_zt=23&_nc_ht=scontent.fbkk22-8.jpg
     
  12. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
    อุฏฐานสูตร พระสูตรนี้มีเนื้อหาโดยย่อว่า พระผู้มีพระภาคทรงสอนปลุกใจให้ลุกขึ้นบำเพ็ญเพียร เจริญกัมมัฏฐานเพื่อบรรลุสันติธรรม อย่าปล่อยให้โอกาสหรือเวลาผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ คำว่า “สันติธรรม” หมายถึงธรรมคือความสงบ มี ๓ ประการ คือ
    ๑. อัจจันตสันติ(ความสงบอย่างสิ้นเชิง)
    ๒. ตทังคสันติ (ความสงบด้วยองค์นั้น ๆ)
    ๓. สัมมุติสันติ(ความสงบโดยสมมุติ)
    แต่ในสูตรนี้หมายถึงอัจจันตสันติ กล่าวคือนิพพาน
    ………….
    ดูรายละเอียดใน อุฏฐานสูตร ว่าด้วยการลุกขึ้นนั่งสมาธิ ขุททกนิกาย สุตตนิบาต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕
    http://www.84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=25&siri=249
    และดูเพิ่มในอรรถกถาอุฏฐานสูตร http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=327
    YjsX-c7tiaIeHoWpQWjaS_201eRglVrGUqBBwgIWFMIuIvH8eivfIBBRl_CC4&_nc_zt=23&_nc_ht=scontent.fbkk22-6.jpg


    พระไตรปิฎกศึกษา
     
  13. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
  14. นโมพุทธายะ๕

    นโมพุทธายะ๕ ก่อนตายไปอีกชาติ .. ใช้กายสังขารสร้างกำลังให้คุ้ม ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 สิงหาคม 2010
    โพสต์:
    22,252
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1,109
    ค่าพลัง:
    +70,447
สถานะของกระทู้:
กระทู้ถูกปิด ไม่สามารถโพสต์ตอบกลับได้

แชร์หน้านี้

Loading...