ดูจิตติดเฉยโง่ "อัญญาณุเบกขา"

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย ธรรมภูต, 1 กรกฎาคม 2013.

  1. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    (ขออภัยที่ใช้ภาษากำกวม)

    อันแรกเป็นการประจักษ์แจ้งที่เกิดจากการเกิดวิปัสสนาญาณ
    เป็นการรู้แจ้งในสิ่งที่เป็นอนัตตา และมันก็สามารถที่จะเกิดขึ้นได้อีกเรื่อยๆไม่ซ้ำ

    ส่วนอันหลัง เป็นผลจากการรู้ประจักษ์แจ้ง ก็จะมีสภาวธรรมอีกอันปรากฏ
    การปล่อยวาง ก็คือสักแต่รู้ ว่างๆเป็นปกติ ไม่สำคัญมั่นหมาย ไม่ถือเอาสภาวธรรมนั้นๆ (ตามพระสูตร)

     
  2. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    อย่างสมมุติเล่นๆ

    พี่ทริคเห็นผู้หญิงคนหนึ่งแล้วหลงรัก แล้ววันหนึ่งพี่ทริคไปเห็นผู้หญิงคนนั้นเป็นผู้ชาย
    พี่ทริคประจักษ์แจ้งเช่นนั้นแล้ว จิตมันจะคลาย จิตมันไม่เอา เลิกรักทันที ตรงนี้เป็นอันแรก

    ส่วนอันหลัง หลังจากพี่ทริคประจักษ์แจ้งเช่นนั้น สภาวธรรมอีกอันมันจะเกิด
    พี่ทริคก็สักแต่รู้ รู้ว่างๆ ไม่เข้าไปยึดสภาวธรรมนั้นๆ
     
  3. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ให้โอกาสปู๊ดดด ก็ต้องซัดสัก แปร๊ดดด !!

    " ดูซ้อนดู ยังไง "

    อันนี้ คำถาม ผมเรียบเรียง จังหวะใหม่ เนาะ

    ก็ ทำมาปู๊ดดด ก็ทราบ และ พยายาม แยก จิต กับ วิญญาณ หรือ มโน
    ออกจากกัน ชะมะ

    เอาแบบ ทำมาปู๊ดดด เข้าใจก่อนก็ได้

    จิต คืออะไร คือ อะไรสักอย่างที่มันทำหน้าที่ รู้ ได้ ชะมะ

    แล้ว วิญญาณ หรือ มโน หรือ มโนวิญญาณ หละ มันก็ทำหน้าที่ รู้ ได้ชะมะ

    ดังนั้น

    ที่กล่าวเป็นคำเทห์ๆ ให้ ทำมาปู๊ดดด ออกคำถามแย็บมาว่า " ยังไง "

    ก็อยากจะบอกว่า อย่าไปสนใจตรงเรื่อง " ยังไง "

    เอาแค่ ทิฏฐิว่าด้วย " การเอาจิตมา เห็นวิญญาณหรือมโน " อะไร
    แบบนี้ หากกล่าวให้เทห์ๆ ลัดสั้น ก็จะพูดว่า ดูซ้อนดู ได้ปะ

    ทีนี้ หาก เออ ออ หอ หมกว่า เออ มันคงทำได้มั้ง เพราะมัน คนละธาตุ
    ก็ควร ยกสิ่งที่ยิ่งกว่า ไปดูสิ่งที่หย่อนกว่า ได้ ดูได้ ก็จะเรียกว่า แยกธาตุ
    แยกขันธ์ได้

    " รู้อยู่ทีรู้ " หรือ " ดูอยู่ที่ดู "

    โดย รู้ หรือ ดู ในคำที่สอง หมายถึง "อาการรู้ " ที่เป็นเรื่อง วิญญาณ หรือ มโน

    หาใจให้เจอ วิญญาณ กับ มโน มันเป็นเพียง สภาพธรรมที่รู้

    ส่วนสภาพธรรมที่รู้เป็นเรื่องเป็นราว ไม่เรียกว่า วิญญาณ กับ มโน

    เล่นคำให้งงเข้าไปอีกคือ " รู้ที่ไม่รู้อะไร " ก็คือ สภาพธรรมที่รู้ ไม่ใช่
    " รู้เป็นเรื่อง "

    ดังนั้น หลวงพ่อพุธ ตอบ ในหลวงว่า ที่พระองค์ ภาวนา รู้อยู่ที่ไม่รู้
    (กสิณวิญญาณ) นั่นแหละ สุดยอดของการรู้

    ฮะ เอ่อ
     
  4. นิวรณ์

    นิวรณ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กันยายน 2008
    โพสต์:
    9,051
    ค่าพลัง:
    +3,456
    ทีนี้ หาก ทำมาปู๊ดดด พอจะ เออะอะ ยอมห่อหมก กับ โพสก่อนหน้า

    คราวนี้ ถามว่า ทำมาปู๊ดดดด เก่งพอที่จะ ดูอยู่ที่ดู ให้ได้ เนืองๆ อะเป่า

    เดี๋ยวก็ดูได้ เดี๋ยวก็ดูไม่ได้ ใช่ไหม หากวันไหน บรรหาญแจ่มใสดี
    ใจดีดีมีแว็บเข้ามา ก็กล่าวได้เป็นต่อยหอยว่า ดูได้ เห็นได้

    แต่..............

    ตะกี้กล่าวถึง " รู้ที่เป็นเรื่องเป็นราว " ซึ่งไม่ใช่ รู้ ที่เป็น อาการรู้เฉยๆ(ธาตุรู้)

    รู้ที่เป็นเรื่องเป็นราวเนี่ย มันเกิดได้บ่อยกว่า เราเผลอรู้เป็นเรื่องเป็นราวบ่อยกว่า

    ดังนั้น หากมีปฏิภาณ ก็อาศัยการ เผลอไปรู้เป็นเรื่องเป็นราว คิดเป็นเรื่องเป็น
    ราวว่าเป็นสภาวะธรรมหนึ่ง ที่ไม่ใช่ " ธาตุรู้ "

    ทีนี้ก็อาศัยอดทน โดนย่ำยีโดยจิต ที่ห้ามไม่ได้ เดี๋ยวมันไหลไปรู้เป็นเรื่อง
    เป็นราว เดี๋ยวมันคิดเป็นเรื่องเป็นราว เผลอไปคิด เผลอไปรู้แบบเป็นเรื่อง
    เป็นราว แล้วกระทำไว้ในใจว่า นี่ไม่ใช่ " ธาตุรู้ "

    ตามเห็นความเกิดดับของจิตไหลไปคิด ด้วยไตรลักษณญาณ จิตมันจะคลาย
    การใช้สัญญา ตามเห็นสัญญาหนึ่งเกิดขึ้น สัญญาหนึ่งดับไป ตามเห็นอุธัจจะ
    เกิดขึ้น กระทำไว้ในใจว่า มันขวางการเห็นตัวรู้ ธาตรู้ จนมันไม่ถือมั่นในสัญญา
    [ ขจัดนิวรณ์ เผิกการใช้รู้โดยสัญญา ชะปะ ]

    ปล่อยการรู้แบบเป็นเรื่องเป็นราว แล้ว มันจะทวนกระแสไปเห็น ธาตุรู้ ได้หรือไม่ได้
    [ ขจัดนิวรณ์ได้ ละอุธัจจะได้ มีธรรมเอก มีสติ มี..ชาวเกาะ...ชะปะ ]

    ก็แล้วแต่ ทำมาปู๊ดดดด จะเอาความเป็นบัณฑิต หรือว่า จะมุ่งแต่คว่ำบาตรใครทุกวันพระใหญ่ ฮิววววววววส์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 กรกฎาคม 2013
  5. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    คิดว่ายังคงไปเรื่อยเรื่อย.....ครับ.....สภาวะธรรมถ้าจะเกิดคงเกิดเอง บังคับบัญชาไม่ได้....คงทำได้แต่สร้างเหตุ ภาวนาไป...
     
  6. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ผลของพรหมจรรย์ที่แยบคาย

    ภูมิชะ! สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เป็นผู้ที่ มีความเข้าใจถูกต้อง,
    มีความมุ่งหมายถูกต้อง, มีคำพูดถูกต้อง,
    มีการทำงานถูกต้อง,มีการเลี้ยงชีวิตถูกต้อง, มีความพยายามถูกต้อง,
    มีความระลึกถูกต้อง,มีความตั้งจิตมั่นไว้อย่างถูกต้อง ;
    สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้น ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผล ก็ต้องได้รับผล ;
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล,
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ ทั้งโดยหวังผลและไม่หวังผล ก็ต้องได้รับผล ;
    ถ้าแม้ประพฤติพรหมจรรย์ โดยหวังผลก็มิใช่ ไม่หวังผลก็มิใช่ ก็ยังต้องได้รับผล.
    ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร ?เพราะเหตุแห่งการได้รับผลนั้น
    เป็นสิ่งที่เขาทั้งหลายเหล่านั้น ได้ทำไว้อย่างลึกซึ้งแยบคาย.


    ภูมิชะ! เช่นเดียวกับบุรุษผู้ต้องการน้ำมัน เสาะหาน้ำมัน เที่ยวแสวงหาน้ำมันอยู่,
    เขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง ประพรมด้วยน้ำแล้วคั้นไปเรื่อยไป ;
    แม้บุรุษนั้น ทำ ความหวัง---ทำ ความไม่หวัง---
    ทั้งทำ ความหวังและความไม่หวัง---ทั้งทำความหวังก็หามิได้
    ความไม่หวังก็หามิได้ ก็ตาม,เมื่อเขาเกลี่ยเยื่อเมล็ดงาลงในราง
    ประพรมด้วยน้ำ แล้วคั้นเรื่อยไป บุรุษนั้นก็ต้องได้น้ำมันอยู่เอง.
    ข้อนี้เพราะเหตุอะไร ?เพราะ เหตุแห่งการได้น้ำมันนั้น
    เป็นสิ่งที่บุรุษนั้นได้ทำแล้ว โดยลึกซึ้งแยบคาย ฉันใดก็ฉันนั้น.


    (ทรงให้อุปมาโดยทำนองนี้อีกสามข้อ คือบุรุษผู้ต้องการน้ำนม รีดน้ำนมจากแม่โคลูกอ่อน,
    บุรุษผู้ต้องการเนย ปั้นเนยจากนมที่หมักเป็นเยื่อแล้ว, บุรุษผู้ต้องการไฟ สีไฟจากไม้แห้ง,
    ก็ย่อมได้ผลตามที่ตนต้องการ แม้จะทำความหวังหรือความไม่หวังก็ตามผลนั้น ๆ
    ก็ย่อมมีให้เอง เพราะได้มีการทำที่ถูกต้องลงไปแล้ว).

    ........................
    บาลี พระพุทธภาษิต ภูมิชสูตร อุปริ. ม. ๑๔/๒๗๙/๔๑๔, ตรัสแก่พระภูมิชเถระ ที่เวฬุวัน.


    �����Ѿ���ҡ�����ɰ�
    Wunjun Group
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กรกฎาคม 2013
  7. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ^
    ^
    นู๋นิฯ

    ถ้ายังไม่เข้าใจอะไรได้กระจ่าง

    ก็อย่าพยายามแสดงอะไรเลย

    ไม่แสดงอะไรออกไป อยู่เฉยๆ

    ไม่มีใครกล่าวหาว่า"เฉยโง่"หรอก

    ไปถามวินุฯ ศิษย์สายตรงจะดีกว่า...

    รู้อยู่ที่รู้ กับ ดูซ่อนขึ้นไปมันคนละเรื่องจ้า

    รู้อยู่ที่รู้ รู้สักแต่ว่ารู้ มันไม่ใช่ซ้อนรู้นะนู๋นิฯ

    ส่วนดูอยู่ที่ดู ถ้าไม่รู้ก็อย่าบัญญัติคำขึ้นเองเลย

    นิสัยชอบจังหนะ ที่บัญญัติภาษาธรรมขึ้นมาใช้เอาเอง

    ถามตรงเถอะ "ดูยังไงจึงดูอยู่ที่ดูได้" อาการซ้อนอาการมีที่ไหน?

    อย่างของท่านพระอาจารย์หลวงพ่อพุธนั้น มีเหตุผลรับได้

    "รู้ที่ไม่รู้อะไร" ไม่รู้อะไรอาการของจิตที่ไม่รู้อะไร จิตไปรู้ขึ้นมาในภายหลังได้

    ไอ้ส่วน"ดูอยู่ที่ดู"นั้น นู๋นิฯบัญญัติมันขึ้นมาเอง

    แบบสดๆร้อนๆตามสไตล์ ที่ชอบดำน้ำ เพื่อเอาชนะเท่านั้น

    อย่าลืมคำที่นู๋นิฯบัญญัติขึ้นเอง"อนุสัมภิทาญาณ"นะจ๊ะ

    เจริญในธรรมทุกๆท่าน
     
  8. ธรรมภูต

    ธรรมภูต เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    3,621
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +2,192
    ^
    ^
    น้องครับ...

    อย่าเพิ่งหลงทาง ไม่ใช่สอนนะ

    แต่บอกว่าเพราะอ่านมาก"ภาวนา"น้อย ก็แบบนี้ทั้งนั้น

    มีพระพุทธพจน์ตรงไหนในพระสูตร

    ที่ให้ปล่อยซ้อนปล่อยอะไรเกินกว่าขันธ์๕บ้าง

    ถ้าปล่อยอุปาทานขันธ์๕ได้แล้ว ยังจะต้องปล่อยอะไรอีก?

    "ปล่อยซ้อนปล่อย ดูซ้อนดู"นั้น ไม่ใช่ภาษาธรรมที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้

    เป็นคำบัญญัติของพวกนักตำรานิยมพยายามคิดขึ้นมาใช่เอง ให้ดูเท่ๆเข้าไว้

    บัญญัติขึ้นมาให้ดูดี รู้สึกว่าตนเองนั้นสุดยอดกว่า คือ"ยอดของยอด"

    เก่งกว่าพระพุทธองค์จอมศาสดาเสียอีก ที่มีแค่"สุดยอด"

    ปล่อยได้คือปล่อยได้ จึงเรียกว่า"ปล่อยวางได้" ส่วนปล่อยซ้อนปล่อยไม่มีหรอก

    ปล. น้องครับเรียนจบหมอแล้ว ยังต้องปล่อยคำว่า"หมอ"ออกไปอีกหรือ? งง

    เจริญในธรรมทุกๆท่าน
     
  9. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ก็เพราะยังมีขันธ์๕ อยู่ค่ะ

    ส่วนพี่ธรรมภูตจะว่าอย่างไรนั้น ก็เป็นเพียงจิต มโน วิญญาณ ของพี่ธรรมภูตจะให้ค่า ให้ความหมาย
     
  10. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ปฏิปทา 4 แบบ

    ภิกษุทั้งหลาย ! ปฏิปทา 4 ประการ เหล่านี้ มีอยู่ คือ
    ( ทุกขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา ) ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า
    ( ทุกขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ) ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว
    ( สุขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา ) ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า
    ( สุขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ) ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว

    --------------------------

    ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ( ทุกขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา ) ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า เป็นอย่างไร
    ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้ ภิกษุ

    ( อสุภานุปสฺสี กาเย วิหรติ )
    เป็นผู้มีปกติ ตามเห็นความไม่งาม ในกาย อยู่

    ( อาหาเร ปฏิกฺกูลสัญญี )
    เป็นผู้มีสำคัญว่าปฏิกูล ในอาหาร

    ( สพฺพโลเก อนภิรตสัญญี )
    เป็นผู้มีความสำคัญว่าไม่น่ายินดี ในโลกทั้งปวง

    ( สพฺพสงฺขาเรสุ อนิจฺจานุปสฺสี )
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง

    ( มรณสัญญา โข ปนสฺส อชฺฌตฺตํ สูปฏฺฐิตา )
    มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่.

    ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรม เป็นกำลังของพระเสขะ 5 ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ

    แต่ อินทรีย์ 5 ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์

    เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้ง 5 เหล่านี้ ยังอ่อน
    ภิกษุนั้น จึงบรรลุอนันตริยกิจเพื่อความสิ้นอาสวะ ได้ช้า

    ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ( ทุกขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา ) ปฏิบัติลำบาก รู้ได้ช้า

    --------------------------

    ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ( ทุกขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ) ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว เป็นอย่างไร
    ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้ ภิกษุ

    ( อสุภานุปสฺสี กาเย วิหรติ )
    เป็นผู้มีปกติ ตามเห็นความไม่งาม ในกาย อยู่

    ( อาหาเร ปฏิกฺกูลสัญญี )
    เป็นผู้มีสำคัญว่าปฏิกูล ในอาหาร

    ( สพฺพโลเก อนภิรตสัญญี )
    เป็นผู้มีความสำคัญว่าไม่น่ายินดี ในโลกทั้งปวง

    ( สพฺพสงฺขาเรสุ อนิจฺจานุปสฺสี )
    เป็นผู้ตามเห็นความไม่เที่ยง ในสังขารทั้งปวง

    ( มรณสัญญา โข ปนสฺส อชฺฌตฺตํ สูปฏฺฐิตา )
    มรณสัญญา เป็นสิ่งที่ภิกษุนั้นเข้าไปตั้งไว้ดีแล้วในภายใน อยู่

    ภิกษุนั้น เข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ 5 ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ

    อินทรีย์ 5 ประการเหล่านี้ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์

    เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้ง 5 เหล่านี้มีประมาณยิ่ง
    ภิกษุนั้น จึงบรรลุอนันตริยกิจเพื่อความสิ้นอาสวะได้เร็ว

    ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ( ทุกขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ) ปฏิบัติลำบาก รู้ได้เร็ว

    ----------------------------

    ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ( สุขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา ) ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า เป็นอย่างไร
    ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้ ภิกษุ

    ( วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ
    สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
    บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกอยู่

    ( วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา อชฺฌตฺตํ สมฺปสาทนํ เจตโส เอโกทิภาวํ
    อวิตกฺกํ อวิจารํ สมาธิชํ ปีติสุขํ ทุติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายในเป็นธรรมเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่

    ( ปีติยา จ วิราคา อุเปกฺขโก จ วิหรติ สโต จ สมฺปชาโน สุขญฺจ กาเยน ปฏิสํเวเทติ
    ยนฺตํ อริยา อาจิกฺขนฺติ อุเปกฺขโก สติมา สุขวิหารีติ ตติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยกาย เพราะปีติ สิ้นไป บรรลุตติยฌาน
    ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข ดังนี้

    ( สุขสฺส จ ปหานา ทุกฺขสฺส จ ปหานา ปุพฺเพว โสมนสฺสโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมา
    อทุกฺขมสุขํ อุเปกฺขาสติปาริสุทฺธึ จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    บรรลุจตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสก่อนๆได้
    มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่

    ภิกษุนั้นเข้าไปอาศัยธรรม เป็นกำลังของพระเสขะ 5 ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ

    แต่ อินทรีย์ 5 ประการเหล่านี้ ของเธอนั้น ปรากฏว่าอ่อน คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์

    เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้ง 5 เหล่านี้ ยังอ่อน
    ภิกษุนั้น จึงบรรลุอนันตริยกิจเพื่อความสิ้นอาสวะ ได้ช้า

    ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ( สุขา ปฏิปทา ทันธาภิญญา ) ปฏิบัติสบาย รู้ได้ช้า

    -------------------------

    ภิกษุทั้งหลาย ! ก็ ( สุขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ) ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว เป็นอย่างไร
    ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้ ภิกษุ

    ( วิวิจฺเจว กาเมหิ วิวิจฺจ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ
    สวิตกฺกํ สวิจารํ วิเวกชํ ปีติสุขํ ปฐมํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม
    บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวกอยู่

    ( วิตกฺกวิจารานํ วูปสมา อชฺฌตฺตํ สมฺปสาทนํ เจตโส เอโกทิภาวํ
    อวิตกฺกํ อวิจารํ สมาธิชํ ปีติสุขํ ทุติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายในเป็นธรรมเอกผุดขึ้น
    ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขอันเกิดแต่สมาธิอยู่

    ( ปีติยา จ วิราคา อุเปกฺขโก จ วิหรติ สโต จ สมฺปชาโน สุขญฺจ กาเยน ปฏิสํเวเทติ
    ยนฺตํ อริยา อาจิกฺขนฺติ อุเปกฺขโก สติมา สุขวิหารีติ ตติยํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยกาย เพราะปีติ สิ้นไป บรรลุตติยฌาน
    ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข ดังนี้

    ( สุขสฺส จ ปหานา ทุกฺขสฺส จ ปหานา ปุพฺเพว โสมนสฺสโทมนสฺสานํ อตฺถงฺคมา
    อทุกฺขมสุขํ อุเปกฺขาสติปาริสุทฺธึ จตุตฺถํ ฌานํ อุปสมฺปชฺช วิหรติ )
    บรรลุจตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสก่อนๆได้
    มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่

    ภิกษุนั้น เข้าไปอาศัยธรรมเป็นกำลังของพระเสขะ 5 ประการเหล่านี้อยู่ คือ
    สัทธาพละ หิริพละ โอตตัปปพละ วิริยพละ ปัญญาพละ

    อินทรีย์ 5 ประการเหล่านี้ ของเธอนั้น ปรากฏว่ามีประมาณยิ่ง คือ
    สัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์ สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์

    เพราะเหตุที่อินทรีย์ทั้ง 5 เหล่านี้มีประมาณยิ่ง
    ภิกษุนั้น จึงบรรลุอนันตริยกิจเพื่อความสิ้นอาสวะได้เร็ว

    ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เรียกว่า ( สุขา ปฏิปทา ขิปปาภิญญา ) ปฏิบัติสบาย รู้ได้เร็ว

    ----------------

    ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้แล ปฏิปทา 4 ประการ.

    ----------------

    - จตุกฺก. อํ. 21/202/163.

    พุทธวจน : วัดนาป่าพง
    Wunjun Group
     
  11. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    สำคัญมั่นหมาย ว่านิพพานเป็นของเรา
    เพลินอย่างยิ่งซึ่ง นิพพาน

    เอานิพพานไปเขียนหนังสือขาย
    เอานิพพานไปตั้งโต๊ะ รับบริจาค
    รวยเละๆๆๆ
     
  12. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ใครเรียนจบอะไร จะเอาหัวโขนสวมหัวตัวเองไว้ ก็เป็นอุปทานของเขานั่นแล
     
  13. จิตสิงห์

    จิตสิงห์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    619
    ค่าพลัง:
    +687
    อาตมันไง

    นิพานกู นิพพานของกู กูเป็นผู้นิพพาน นิพพานเป็นกู

    นั้นแล บรมอัตตา
     
  14. จิตสิงห์

    จิตสิงห์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    619
    ค่าพลัง:
    +687
    การรู้ธรรม ถือว่าเป็นอุปทานได้ไหม

    การรู้ธรรม ไม่ถือว่าเป็นอุปทานได้ไหม

    การไม่รู้ธรรม ถือว่าเป็นอุปทานได้ไหม

    การไม่รู้ธรรม ไม่ถือว่าเป็นอุปทานได้ไหม

    การรู้ธรรมคือไม่รู้ธรรม การไม่รู้ธรรมคือการรู้ธรรม

    จะถือธรรมหรือไม่ถือธรรม ก็ไม่เป็นอุปทานอย่างนั้นหรือ ^^
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กรกฎาคม 2013
  15. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ถ้ายึดว่าตนเป็นนั่นเป็นนี่ ก็เป็นอุปทาน เพราะจริงๆ เป็นเพียงธาตุ
     
  16. จิตสิงห์

    จิตสิงห์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    619
    ค่าพลัง:
    +687
    ธาตุนั้นเป็นอุปทานได้ไหม

    ก็ในเมื่อผู้ยึดไม่มี ธาตุจะมีได้อย่างนั้นหรือ ^^


    รวยเละๆๆๆ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กรกฎาคม 2013
  17. Workgroup

    Workgroup เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 กรกฎาคม 2012
    โพสต์:
    693
    ค่าพลัง:
    +1,947
    ดูจิตติดเฉยโง่ "อัญญาณุเบกขา"

    เฉย ตีความหมายว่า ปล่อยวาง ได้ไหม

    เฉย ของเจ้าของกระทู้ ตีความหมายแบบไหน

    โง่ ตีความหมายว่า จิตที่ส่งออกมาแบบโง่ๆ เช่น เห็นผู้หญิงว่าสวย แต่งตัว Sexy แล้ว ตามไปดูแล้ว ยกจิต เข้า วิปัสสนากรรมฐาน สุดท้ายแล้วก็เหียว สุดท้ายแล้วก็ตาย ว่าโครงกระดูกเดินได้

    โง่ ตีความหมายอีกแบบ จิตที่ส่งออกมาแบบโง่ๆ เช่น เห็นผู้หญิงว่าสวย แต่งตัว Sexy แล้ว ปล่อยวางได้ไหม ไม่หันหน้ามองต่อ แบบนี้หรอ

    โง่ ของเจ้าของกระทู้ ตีความหมายแบบไหน

    เมื่อยึดใน สมถะ เป็น อารมณ์ ก็อาจจะตีความหมายในแบบที่เจ้าของกระทู้บอกได้

    ถ้า สติสัมปชัญญะ เต็ม แล้ว ก็จะเข้า วิปัสสนากรรมฐาน
    ทำให้เกิด ปัญญา

    สาธุ เจริญธรรม
     
  18. paetrix

    paetrix เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 เมษายน 2011
    โพสต์:
    2,478
    ค่าพลัง:
    +1,878
    กระผมคิดว่า...ทุกอย่างนั้นมี แต่ ไม่เที่ยง...เพราะสิ่งใดเกิดแต่เหตุ..ก็คือมีสมุทัย และความดับ คือ นิโรธอยู่..กระผมเลยคิดว่า ความไม่ยึดมั่นถือมั่นความไม่มี อุปาทาน นั้น........ไม่ได้เกี่ยวกับความมีไม่มี(ตรงนี้เป็นบัญญัติภาษา ถ้า คำว่าไม่มี นั้นย่อมหมายถึง ไม่มีซะเลย ซึ่งไม่ใช่ อาจจะเอนเอียงไปทางมิจฉาทิฎฐิได้ เช่น มี เดียร์ถีย์บางลัทธิในสมัยพุทธกาลกล่าวว่า ศาสตราแทงร่างกายมนุษย์ก็เหมือนแทงเข้าไปในความว่างเปล่า..).....ถ้าในพุทธศาสนาเรา น่าจะหมายถึง การปล่อย การสลัดคืน ความสิ้นไปแห่ง ราคะ ความสิ้นไปแห่งโมหะ ความสิ้นไปแห่งโทสะ....เหมือนการลละสมุทัย คือ สิ้นตัณหา...แต่ตัวทุกข์ปัญจุปาทานักขันธิ์นั้น แค่ กำหนดรู้ไป ส่วนความดับของทุกข์ นั้นคือนิโรธ อันอริยะมรรคมีองค์แปดคือทางแห่งความดับทุกข์นั้นเอง..อุปาทานขันธิ์ จึงไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา...กระผมไม่ได้แย้งอะไรหลวงพี่ แต่ผมคิดว่า บัญญัติภาษา ยังมี ช่องโหว่แห่งความเข้าใจอยู่ครับ...(อนัตตา นั้น คือไม่มีตัวตนที่เที่ยง แต่ไม่ใช่ไม่มีตัวตน ขันธิ์5เป็นอนัตตา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา )
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 กรกฎาคม 2013
  19. MindSoul1

    MindSoul1 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2012
    โพสต์:
    295
    ค่าพลัง:
    +496
    ไม่ทรงติดแม้ในนิพพาน

    ภิกษุ ท. ! แม้ตถาคต ผู้เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง ก็รู้ชัดซึ่ง
    นิพพานตามความเป็นนิพพาน. ครั้นรู้นิพพานตามความเป็นนิพพานชัดแจ้งแล้ว
    ก็ไม่ทำความมั่นหมายซึ่งนิพพาน ไม่ทำความมั่นหมายในนิพพาน ไม่ทำ
    ความมั่นหมายโดยความเป็นนิพพานไม่ทำความมั่นหมายว่า “นิพพาน
    เป็นของเรา”, ไม่เพลิดเพลินลุ่มหลงในนิพพาน. ข้อนี้เพราะเหตุไรเล่า ?
    เพราะเหตุว่า นิพพานนั้นเป็นสิ่งที่ตถาคตกำหนดรู้ทั่วถึงแล้ว.

    ภิกษุ ท. ! แม้ตถาคต ผู้เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ชอบเอง ก็รู้ชัดซึ่ง
    นิพพานตามความเป็นนิพพาน.ครั้นรู้นิพพานตามความเป็นนิพพานชัดแจ้งแล้ว
    ก็ไม่ทำความมั่นหมายซึ่งนิพพาน ไม่ทำความมั่นหมายในนิพพานไม่ทำ
    ความมั่นหมายโดยความเป็นนิพพาน ไม่ทำความมั่นหมายว่า “นิพพาน
    เป็นของเรา”, ไม่เพลิดเพลินลุ่มหลงในนิพพาน
    .
    ข้อนี้เพราะเหตุไรเล่า ?
    เรากล่าวว่า เพราะรู้ว่าความเพลิดเพลินเป็นมูลแห่งทุกข์และเพราะมีภพจึง
    มีชาติ, เมื่อเกิดเป็นสัตว์แล้วต้องมีแก่และตาย.


    เพราะเหตุนั้นตถาคตจึงตรัสรู้
    อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะตัณหาทั้งหลายสิ้นไป ปราศไป ดับไป สละไป
    ไถ่ถอนไป โดยประการทั้งปวงดังนี้.


    --------------------------------------
    บาลี มูลปริยายสูตร มู.ม. ๑๒/๑๐/๘๙. ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลาย ที่โคนต้นสาละ ในป่าสุภวัน ใกล้เมืองอุกกัฏฐะ.


    �Ҥ � : ����ç�Դ���㹹Ծ�ҹ
    077-ไม่ทรงติดแม้ในนิพพาน - พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ - สัจจธรรมแห่งชีวิต - Wunjun Group
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 กรกฎาคม 2013
  20. จิตสิงห์

    จิตสิงห์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤษภาคม 2011
    โพสต์:
    619
    ค่าพลัง:
    +687
    อันที่จริง ที่ยกเรื่องไม่ยึดในไม่ยึด

    เพราะทันที่เริ่มศึกษาธรรม ผู้นั้นก็ยึดธรรมที่ศึกษานั้นไปเรียบร้อยแล้ว

    แล้วหยิบยกธรรมนั้นมาเป็นอัตตา โดยพูดซ้ำ พูดย้ำ

    อาจแตกฉานอรรถ พูดไกล เข้าใจได้กว้างขวาง

    เมื่อเข้าใจประโยคใด ธรรมใด ก็อดไม่ได้ที่จะเทียบเคียงสภาวะข้างตน

    ให้ลงหยุดศึกษา อยู่กับตัวเอง ใส่ใจในสภาวะที่ปรากฏ

    ดูว่าสติระลึกอะไร ความยุ่งเหยิงในความรู้ที่ศึกษาเป็นภาระหรือไม่

    หรือ ระลึกได้เป็นระบบ มีสติประจักษ์และเข้าใจสภาวะลักษณะอย่างแท้จริง




    ส่วนเรื่องที่ ปุจฉากับโยม MindSoul1

    ท่านก็ยกพระสูตรมาตอบไว้ดีแล้ว " ไม่ทรงติดแม้ในนิพพาน "

    อนึ่ง จะรู้แบบใส่ชื่อ หรือไม่ใส่ชื่อ ไม่สำคัญ

    สำคัญตรง พอเป็นที่เข้าใจ พอเป็นที่ให้ระลึกว่า นี้ลักษณะธรรมที่ปรากฏ นี้เป็นลักษณะธาตุปรากฏ

    จนเมื่อรู้สภาพแปรปวน ทนสภาพเดิมไม่ได้ บังคับไม่ได้ นั้นแล วิปัสสนาเกิด

    จักคลายสภาวะยึดมั่นทุกครั้งที่ประจักษ์สภาวะนั้นๆ

    ขณะนั้นไม่มีธาตุให้ยึดแล้ว มองข้ามลักษณะความเป็นธาตุ

    ไปหมายรู้ที่สภาพแปรปวน ทนสภาพเดิมไม่ได้ บังคับไม่ได้ที่ปรากฏเนืองๆ

    จนเข้าใจสภาวะธรรมนั้นๆ ไม่มีสาระอะไรเลย

    ตรงนี้กล่าวในระดับ อนุปัสสนา

    ปัญญาก็อนุมานได้ถึงธรรมในอดีต ธรรมในอนาคต ก็เช่นกัน
     

แชร์หน้านี้

Loading...