นิพพานคือขั้นสูงสุดใช่หรือไม่

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย Saranpong, 25 พฤษภาคม 2012.

  1. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ใครอยากในธาตุไหน ก็สั่งสมธาตุนั้น

    ใครเห็นในธาตุไหน ก็สลัดธาตุนั้น
     
  2. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    เห็นด้วยครับ อณุโมทนาด้วยกับข้อความดีๆ.....
     
  3. phudit999

    phudit999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    2,471
    ค่าพลัง:
    +2,396
    เจตนา ที่ เขียน ไม่ เขียน เพื่อ แย้ง ท่าน แต่ อย่าง ใด

    แต่ เห็น ว่า ท่าน เป็น ผู้ ที่ พบ ความ สุข แล้ว

    พบ มิติ แห่ง ความ สุข ดั่ง ที่ องค์ พุทธะ เคย พบ

    แต่ ผม จะ ให้ ท่าน ลอง พิจารณา ดัง นี้ ดู

    ความ สุข หรือ ความ ทุกข์ เป็น มิติ ที่ มนุษย์ ทุก คน

    ต้อง เคย เจอ แต่ จะ มี มิติ หนึ่ง ที่ มนุษย์ ไม่ เคย เจอ

    คือ ความ รู้ สึก ที่ ไม่ ทุกข์ และ ไม่ สุข เป็น มิติ ที่ อยู่

    ระหว่าง กลาง สมดุล ระหว่าง ทุกข์ และ สุข ก่ ไม่ ก้าว

    ล่วง มา ได้ เหมือน กับ ลูก ตุ้ม ที่ นิ่ง อยู่ อย่าง นั้น ไม่

    ไหว ไป ทาง ใด ทาง หนึ่ง เช่น เดียว กัน การ ยัง รู้ สึก

    มี ความ สุข ก่ ดี และ ความ ทุกข์ ก่ ดี ใน สภาวะ ที่

    จะ บ่ง บอก ได้ ว่า เรา ถึง ที่ สุด หรือ ยัง ก่ คือ ความ

    ไม่ เที่ยง เพราะ ยัง มี เกิด ยัง มี ดับ อยู่ แต่ สภาวะ

    ที่ นิ่ง ไม่ มี เกิด ไม่ มี ดับ คือ สภาวะ ที่ ไม่ เอน ไป

    ทาง ทุกข์ หรือ สุข ครับ

    ช่อง ทาง หรือ สภาวะ นี่ ล่ะ ครับ คือ มิติ แห่ง นิพพาน

    แต่ หาก ท่าน จะ ดำรง สภาวะ อย่าง นี้ ต่อ ไป

    หรือ ให้ ตน เอง อยู่ ใกล้ กับ สภาวะ นี้ ควร ทำ อย่าง

    ไร ปฏิบัติ ตน อย่าง ไร นี่ คือ สิ่ง ที่ ท่าน ต้อง มอง

    หา วิธี การ เอา เอง ครับ
     
  4. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    มูลปริยายสูตร

    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ปุถุชนในโลกนี้ไม่ได้สดับ ไม่ได้เห็นพระอริยะ ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ
    ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้เห็นสัตบุรุษ
    ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของสัตบุรุษ
    ย่อมรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดิน ครั้นรู้ธาตุดินโดยความเป็นธาตุดินแล้ว
    ย่อมสำคัญธาตุดิน ย่อมสำคัญในธาตุดิน ย่อมสำคัญโดยความเป็นธาตุดิน
    ย่อมสำคัญธาตุดินว่า ของเรา ย่อมยินดี
    ธาตุดิน ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร เรากล่าวว่า เพราะเขาไม่ได้กำหนดรู้.
     
  5. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    ถ้าคุณกล่าวว่านิพพานไม่สุข-ไม่ทุกข์ ผมไม่ไปด้วยหรอก นิพพานัง ปรมัง สุขัง นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง...
     
  6. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    เพราะเขาไม่เข้าใจว่านั่นมันสังขารเขา สัญญาเขา แม้แต่เขาเองเขาบางคนก็บอกว่าไม่ใช่ๆ มันไม่ใช่ของเขา มันเป็นอนัตตา ทีนี้บางคนรู้ชัดว่า นี่ขี้ แต่มันก้ยังกินขี้ คนอื่นเขากินโจ๊ก เขาชวนมากินโจ๊กมันบอกว่า "ไม่ วิทย์ไม่กิน"...คือจะกินขี้ไปตลอดเลยหรือวะ!
     
  7. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    สุขในที่นี้ คงไม่ได้หมายถึงสุขเวทนาหรอกครับ

    สุขสุด สุขตัวลอย สุขปิติ โสมนัสยินดี พวกนี้สุขเวทนา

    มันเดี๋ยวมีเดี๋ยวไม่มี สุขแล้วทุกข์ ทุกข์แล้วสุข นี่ก็รู้กันอยู่

    อยากให้สุขนานๆก้ทำไม่ได้ จะเอาเอาทุกข์เลยก็ทำไม่ได้

    นี้แล อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในเวทนา

    แต่การพ้นจากการปรุงแต่งแล้วไซ้ร นั้นแลสุขอย่างยิ่ง ^^
     
  8. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ต้องการจะสื่อเหตุผล หรือ สื่อความในใจ

    ไม่เข้าใจ ^^
     
  9. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    ผมไม่ได้ว่าคุณ ผมว่าเพื่อนผมที่เป็นมิจฉาทิฏฐิ ถ้าสติปัญญาไม่พอก็อ่านไม่รู้เรื่องหรอก...
     
  10. ฟางว่าน

    ฟางว่าน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 มีนาคม 2010
    โพสต์:
    1,080
    ค่าพลัง:
    +968
    พวกคุณนี่ไม่เข้าใจเรื่องความทุกข์ความสุข ถ้านิพพานมันทุกข์แล้วคุณจะไปทำไม พระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสว่านิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง การพ้นจาการปรุงแต่งนั่นแหละความสุข คุณกล่าวแต่คุณไม่รู้ ความสุขของนิพพานคนดีเท่านั้นที่จะได้ไปนิพพาน สัตว์โลกก่อกรรมทำเข็ญประเด็นหนึ่งอย่างตอนนี้มันก็มีพวกจาบจ้วงพระพุทธเจ้า ผมคนหนึ่งล่ะค้านสุดๆไม่ให้ไอ้พวกนี้ได้นิพพาน และมันก้เป้นไปตามนั้น พระพุทธเจ้าท่านนิพพานไป 2555 ปีแล้วยังไปจาบจ้วงท่านอีก หลายคนบอกว่าพระพุทธเจ้าเป็นเกย์ มึงอย่าเอาตัวเองไปเปรียบเทียบกับท่าน มึงนั่นแหละเกย์...
     
  11. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เอานะครับ คงไม่บิดเบือนหรือกล่าวหาอะไรไม่ดีต่อกัน ^^
     
  12. phudit999

    phudit999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    2,471
    ค่าพลัง:
    +2,396
    ถูก ต้อง ครับ สุข ที่ ผม กล่าว คือ สุข เวทนา ที่ ท่าน กล่าว นั้น

    ล่ะ เพราะ สภาวะ ที่ คน ส่วน ใหญ เจอ กัน ใน มิติ ทุกข์ สุข เวทนา

    ดังนั้น มัน จะ มี มิติ ที่ อยู่ ระหว่าง กลาง คือ การ วาง ใน ทุกข์ สุข

    เวทนา ให้ ได้ ก่อน ..... วาง จน นิ่ง ไม่ หวั่น ไหว จึง จะ เห็น

    หรือ เข้า ใกล้ เข้า สัมผัส มิติ ใหม่ ได้ .....
     
  13. telwada

    telwada เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2004
    โพสต์:
    1,509
    ค่าพลัง:
    +1,817
    ในทางพุทธศาสนา นิพพานถือว่าที่สุดแล้ว แต่ นิพพานมิใช่การสิ้แล้วซึ่งกิเลสทั้งปวง ตราบใดที่บุคคลยังคงปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแลยังเกี่ยวข้องกับสังคมแห่งชุมชนทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่มีการสิ้นแล้วซึ่งกิเลสทั้งปวง แม้จะบรรลุหรือสำเร็จนิพพานแล้วก็ตามที

    เหตุเพราะ นิพพาน นั้น เป็นชื่อชั้นแห่งการปฏิบัติจนสามารถขจัด อาสวะหรือกิเลส อันได้แก่ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งเป็นเหตุแลปัจจัยแห่งความโลภ ความโกรธ ความหลง ดังนั้นผู้บรรลุนิพานหรือสำเร็จนิพพานได้ จะเพียงสามารถขจัดอาสวะทั้งปวงดังที่กล่าวไปออกจากร่างกายได้ แต่ไม่ใช่เป็นหมดซึ่งกิเลส เนื่องด้วย คลื่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง ของมนุษย์ทั้งหลาย สามารถเคลื่อนไหลเข้าสู่ร่างกายได้ ดังนั้น กิเลสในตัวของบุคคลแม้จะบรรลุนิพพานหรือสำเร็จนิพพานแล้ว ก็ยังคงมีอยู่ เพียงแต่สามารถขจัดออกไปได้เท่านั้นขอรับ

    ที่กล่าวไปทั้งหมดข้างต้น เป็นเพียงอธิบายถึงลักษณะของนิพพาน ในทางพุทธศาสนา ถึงแม้ว่า ในทางพุทธศาสนา จะถือว่า นิพพานเป็นที่สุดแห่งการปฏิบัติ แต่ในทางที่เป็นจริงแล้ว ยังมีชั้นที่สูงกว่า นิพพานอยู่อีกอย่างน้อย หนึ่งชั้น ขอรับ
     
  14. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    ขอนอกเรื่อง ข้อนี้พูดกลางๆนะครับ ไม่ไปโจมตีใคร


    ผู้ที่เสี่ยงยืนขอบเหวที่สุด คือผู้กล่าวธรรม คลุกคลีอยู่ในธรรม

    หากกล่าวดี กล่าวถูก ล้วนเป็นคุณตน คุณผู้ฟัง คุณศาสนา

    หากกล่าว พล่อย ไม่เข้าใจแล้วกล่าว โน้มโน้ว ขัดทางมรรค พวกนี้อันตราย ให้ผลตรงกันข้ามกับคุณ

    บางทีอยู่เฉยๆ แบบผู้ไม่รู้ธรรมเลย ยังจะปรามาสพระธรรมน้อยกว่า

    ดีที่สุดหากจะกล่าวธรรม ควรยกพุทธพจน์ หรือ พระสูตร และไม่จำเป็นต้องไปตีความอะไร

    เพราะในอรรถกถา ท่านขยายความไว้ดีแล้ว

    หากจะกล่าวแนวทางปฏิบัติ สอบถามการปฏิบัติ สนทนาธรรมตามกาล ตั้งอยู่ในประโยชน์ ก็ไม่มีปัญหาอะไร

    เป็นความเห็นส่วนตัวนะครับ ^^
     
  15. telwada

    telwada เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 กันยายน 2004
    โพสต์:
    1,509
    ค่าพลัง:
    +1,817
    ในทางพุทธศาสนา นิพพานถือว่าที่สุดแล้ว แต่ นิพพานมิใช่การสิ้แล้วซึ่งกิเลสทั้งปวง ตราบใดที่บุคคลยังคงปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมแลยังเกี่ยวข้องกับสังคมแห่งชุมชนทั้งหลายอยู่ ย่อมไม่มีการสิ้นแล้วซึ่งกิเลสทั้งปวง แม้จะบรรลุหรือสำเร็จนิพพานแล้วก็ตามที
    เหตุเพราะ นิพพาน นั้น เป็นชื่อชั้นแห่งการปฏิบัติจนสามารถขจัด อาสวะหรือกิเลส อันได้แก่ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งเป็นเหตุแลปัจจัยแห่งความโลภ ความโกรธ ความหลง ดังนั้นผู้บรรลุนิพานหรือสำเร็จนิพพานได้ จะเพียงสามารถขจัดอาสวะทั้งปวงดังที่กล่าวไปออกจากร่างกายได้ แต่ไม่ใช่เป็นหมดซึ่งกิเลส เนื่องด้วย คลื่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง ของมนุษย์ทั้งหลาย สามารถเคลื่อนไหลเข้าสู่ร่างกายได้ ดังนั้น กิเลสในตัวของบุคคลแม้จะบรรลุนิพพานหรือสำเร็จนิพพานแล้ว ก็ยังคงมีอยู่ เพียงแต่สามารถขจัดออกไปได้เท่านั้นขอรับ
    ที่กล่าวไปทั้งหมดข้างต้น เป็นเพียงอธิบายถึงลักษณะของนิพพาน ในทางพุทธศาสนา ถึงแม้ว่า ในทางพุทธศาสนา จะถือว่า นิพพานเป็นที่สุดแห่งการปฏิบัติ แต่ในทางที่เป็นจริงแล้ว ยังมีชั้นที่สูงกว่า นิพพานอยู่อีกอย่างน้อย หนึ่งชั้น ขอรับ
     
  16. phudit999

    phudit999 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 พฤศจิกายน 2009
    โพสต์:
    2,471
    ค่าพลัง:
    +2,396
    เป็น ถึง พระ เชี่ยว หรือ

    เป็น ถึง อนาคามี เชี่ยว หรือ

    อนาคามี มี โกรธ ด้วย ....

    สนทนา ด้วย ความ สุภาพ ได้ มั๊ย อนาคามี

    สนทนา ประหนึ่ง ผู้ เป็น อริย ได้ มั๊ย ...ท่าน อนาคามี หือ

    ทำ ได้ บ่ ... อนาคามี

    ไม่ ได้ บวช ก่ อย่า เรียก ตน ว่า พระ ....
     
  17. กาน้ำ

    กาน้ำ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    31 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    89
    ค่าพลัง:
    +153
    การเข้าถึงนิพพานคือการสิ้นแล้วซึ่งกิเลสทั้งปวง
    นิพพานมี ๔ ระดับคือ การเห็นพระนิพพาน
    ครั้งที่ ๑ ( พระโสดาบัน )
    ครั้งที่ ๒ ( พระสกิทาคามี )
    ครั้งที่ ๓ ( พระอนาคามี )
    ครั้งที่ ๔ ( พระอรหันตร์ )
    เป็นพระอริยะไปตามลำดับ ตามปัญญาที่ดับกิเลสได้
    ในสมัยพุทธกาล หลายท่านบรรลุพรวดเดียวเป็นพระอรหันตร์ก็มาก
    บางท่านก็ไปทีละขั้น แล้วแต่วาสนาบารมีที่สั่งสมกันมา

    มุ่งสู่ความว่างเปล่าไร้ขอบเขต ถ้าหากจะคิดต่อไปว่า...นิพพานคือที่สุดแล้วจริงหรือครับ
    นิพพานคือรอยต่อระหว่างมรรคจิตกับผลจิต จิตจะขาดซึ่งอารมณ์ไม่ได้จึงน้อมนิพพานมาเป็นอารมณ์ให้จิตเกาะเกี่ยว
    นิพพานยังไม่ใช่ที่สุด แต่การดับขันธปรินิพพานคือที่สุด

    ปล. นับจากพระพุทธเจ้าท่านเสด็จดับขันธ์นิพพานไปก็ครบรอบ 2,600 ปีแล้ว ตามความคิดคือตอนนี้ท่านน่าจะบำเพ็ญสู่ขั้นที่สูงกว่าเดิมอีกหลายขั้น เลยอยากถามความคิดเห็นดูครับ
    การเสด็จดับขันธปรินิพพานของพระพุทธเจ้าคือ การดับจิต เจตสิก รูป ไม่สืบต่อภพชาติเป็นการดับสังสารวัฏฏ์ ดับการเวียนว่ายตายเกิด
    ถือเป็นชาติสุดท้ายของเจ้าชายสิทธัตถะคือการได้อุบัติเป็นพระพุทธเจ้า
     
  18. ฐาณัฏฐ์

    ฐาณัฏฐ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 มกราคม 2008
    โพสต์:
    6,197
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +4,075
    เขาว่าพระนิพานคือ ที่สุด

    ภาวะนิพานก็ ที่สุด

    ความไม่ปรุงแต่งก็ ที่สุด

    เมื่อนิพพานปราศจากการปรุงแต่งแล้วไซ้ร

    ก็อะไรหนอ ยังต้องมีครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ ครั้ง ๓ ครั้งที่ ๔

    นั้นแปลว่า นิพพานครั้งที่ ๑ ไม่เหมือน นิพพานครั้งที่ ๒ ๓ ๔ หรือ
     
  19. Saranpong

    Saranpong สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    5
    ค่าพลัง:
    +10
    อืมตอนแรกว่าจะยังไม่ลงถึงตรงนั้น เอ่ยถึงแล้วก็ขออธิบายเลยละกันครับ

    กิเลสเป็นเหมือนหมอกที่ปกคลุม ละได้ หวนกลับมาได้ แต่ไม่ติดตัวเหมือนสันดาน
    ส่วนตัณหาต้องเข้าใจก่อนว่า เหตุใดจึงมี เหตุใดจึงละยาก และทำไมถึงบอกว่าละตัณหาแล้วจะเข้าสู่นิพพาน

    ตัณหาเป็นของคู่กันของชายและหญิงเป็นเหมือนแรงดึงดูดและเป็นธรรมชาติของการอยู่รอดของเผ่าพันธุ์และผูกติดกับอารมณ์ความรัก เมื่อเราเข้าใจในรักและละวางไว้ได้ จะเหลือเพียงการทำความเข้าใจว่าตัณหาปล่อยอารมณ์ใดออกมาบ้าง ความรักมี 4 ระดับคือ ความอยาก ความชอบ ความรัก ความสนุก
    หากเข้าใจและวางเฉยได้ทั้ง 4 ระดับก็จะเหลือเพียงตัณหาซึ่งเป็นตัวกระตุ้นให้ 4 ประการดังกล่าวรุนแรงขึ้น หากพูดถึงต้นตอของตัณหาอยู่ที่ใด อยู่ในจุดลึกที่สุดของจิตใจ ดำมืดไร้ความเคลื่อนไหวแต่เต็มไปด้วยแรงกดดัน ที่ๆเวลาไหลช้าลงจนเหมือนหยุดนิ่ง ณ จุดเล็กๆจุดหนึ่งนั้นสิ่งที่ต้องทำคือ "การจุดกิองไฟในน้ำลึก และก่อสายน้ำในกองไฟ" จะได้จิตที่หลุดจากจิตเดิมเปลี่ยนจากจิตสีขาวกลายเป็นโปร่งใสครับ

    ส่วนการละกิเลสคือการลดรูปของจิตที่เกิดการปรุงแต่งให้มีขนาดเล็กลงและเบาขึ้น เป็นขั้นต้นก่อนการดับลมหายใจให้หมดสิ้นไปเพื่อปรับแต่งจิตขั้นสุดท้าย
    หากทำสำเร็จลมหายใจจะแผ่วเบา และช่วงระหว่างหายใจเข้าออกจะนานขึ้น เพราะต้องการลมหายใจเพียงพอสำหรับการขยับร่างกายเท่านั้น

    ปล. การละความคิดจนหมดสิ้นรวมทั้งกิเลสและตันหาจะทำให้สมองต้องการพลังงานและอากาศน้อยลง เหมือนเรานั่งสมาธิตลอดเวลาแม้ในชีวิตประจำวันครับ

    ส่วนคำตอบของคุณขันธ์ก่อนหน้านี้ที่มีผู้ถามตอบพระธรรมเพราะเขาต้องการการแลกเปลี่ยนความรู้ ขนาดพระพุทธเจ้าเองท่านยังตอบทุกข้อสงสัยของผู้ที่มีข้อสงสัยเลยนี่ครับ เพราะเมื่อคนเราได้คำตอบที่กระจ่างชัดก็จะปล่อยวางสิ่งนั้นเอง แต่หากยังคงคิดแสดงว่านั้นคือวิถีของเขาในภพชาตินี้ เราควรส่งเสริมมิใช่หรือ
     
  20. ขันธ์

    ขันธ์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    7,917
    ค่าพลัง:
    +9,181
    ก็อยากได้เงินก็สะสมเงิน มันจะไปผิดอะไร
    แต่ ทีอยากได้โง่ สะสมความโง่ ยังไม่เห็นเป็นอะไรกัน เห็นสะสมกันทั่วบ้านทั่วเมือง
     

แชร์หน้านี้

Loading...