ประกาศข่าวแผ่นดินไหว(&การคาดการณ์)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 28 กันยายน 2006.

  1. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ ทิศตะวันออกของปาปัวนิวกินี ความแรง 5.1


    Map Centered at 5°S, 145°E

    <!-- insert start --> [​IMG]
    [​IMG]
    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007eea7.php" coords="275,269,287,281," alt="Event us2007eea7"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/145_0.php" coords="179,1,319,70" alt="Map Centered at 0°N, 145°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/150_-5.php" coords="428,177,498,317" alt="Map Centered at 5°S, 150°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/145_-10.php" coords="179,426,319,496" alt="Map Centered at 10°S, 145°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/140_-5.php" coords="1,177,70,317" alt="Map Centered at 5°S, 140°E"></map>
    Earthquake List for Map 10/145 -5

    Update time = Sat Jun 30 3:00:04 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the 10/145 -5 area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 18:07:28</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -5.787</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 145.906</td><td align="right" nowrap="nowrap">110.3</td><td>EASTERN NEW GUINEA REG, PAPUA NEW GUINEA</td></tr></tbody></table>

     
  2. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ ชายฝั่งทะเลของรัสเซีย ความแรง 5.0


    Map Centered at 55°N, 160°E

    <!-- insert start -->
    [​IMG]
    [​IMG]

    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007efan.php" coords="342,233,354,245," alt="Event us2007efan"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007ecac.php" coords="238,352,246,360," alt="Event us2007ecac"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/160_60.php" coords="229,1,369,70" alt="Map Centered at 60°N, 160°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/170_55.php" coords="528,190,598,330" alt="Map Centered at 55°N, 170°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/160_50.php" coords="229,438,369,508" alt="Map Centered at 50°N, 160°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/150_55.php" coords="1,190,70,330" alt="Map Centered at 55°N, 150°E"></map>
    Earthquake List for Map Centered at 55°N, 160°E

    Update time = Sat Jun 30 16:00:22 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the Map Centered at 55°N, 160°E area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/30 13:46:43</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 55.584</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 162.454</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 21.8</td><td>NEAR THE EAST COAST OF KAMCHATKA, RUSSIA</td></tr></tbody></table>
     
  3. แม่นายมล

    แม่นายมล เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    1,069
    ค่าพลัง:
    +6,258
    แผ่นดินไหวขนาด 5.6 ริกเตอร์บนเกาะฮอกไกโด

    โดย ผู้จัดการออนไลน์
    1 กรกฎาคม 2550 13:18 น.
     
  4. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,696
    ค่าพลัง:
    +51,932
    *** โลกุตตระ (พระไตรปิฎก)...โปรดช่วย ญี่ปุ่น ****

    ผู้อาศัยบนเกาะญี่ปุ่น...ให้ปฏิบัติตนด้วย "สัจจะ" ทุกวัน
    อย่างน้อยวันละข้อ
    เพื่อให้มี.... "การกระทำจาก สัจจะ"
    แล้วนำ....พระคาถาป้องกันสรรพภัยทั้งปวงกึ่งพุทธกาล...นี้
    แปลเป็นภาษาญี่ปุ่น...ท่องจำให้ขึ้นใจ !!!!

    *****************************
    พระคาถา
     
  5. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวขนาด 5.6 ริกเตอร์บนเกาะฮอกไกโด

    Map Centered at 45°N, 145°E

    <!-- insert start --> [​IMG]
    [​IMG]
    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007egah.php" coords="193,289,205,301," alt="Event us2007egah"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/150_50.php" coords="137,1,277,70" alt="Map Centered at 50°N, 150°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/150_45.php" coords="344,181,414,321" alt="Map Centered at 45°N, 150°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/145_40.php" coords="137,429,277,499" alt="Map Centered at 40°N, 145°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/140_45.php" coords="1,181,70,321" alt="Map Centered at 45°N, 140°E"></map>

     
  6. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    Latest Earthquakes M5.0+ in the World - Past 7 days


    รายงานการเกิดแผ่นดินความแรง 5.0 ริกเตอร์ทั่วโลก รอบ 7 วัน

    Update time = Sun Jul 1 11:19:29 UTC 2007


    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/07/01 09:55:34</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 13.577</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 146.129</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 47.5</td><td>MARIANA ISLANDS REGION</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.6 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/07/01 04:12:09</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 43.758</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 144.667</td><td align="right" nowrap="nowrap">134.1</td><td>HOKKAIDO, JAPAN REGION</td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/30 13:46:43</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 55.584</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 162.454</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 21.8</td><td>NEAR THE EAST COAST OF KAMCHATKA, RUSSIA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.2 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/30 08:40:03</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -5.061</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 153.039</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 31.6</td><td>NEW IRELAND REGION, PAPUA NEW GUINEA</td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 23:24:00</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 25.445</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 96.594</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 40.5</td><td>MYANMAR</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.5 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 18:09:11</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 39.334</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 20.381</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.0</td><td>GREECE</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 18:07:28</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -5.788</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 145.906</td><td align="right" nowrap="nowrap">115.2</td><td>EASTERN NEW GUINEA REG, PAPUA NEW GUINEA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 09:05:10</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 14.452</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 146.697</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 35.4</td><td>ROTA REGION, NORTHERN MARIANA ISLANDS</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.6 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 02:02:19</td><td align="right" nowrap="nowrap">-15.743</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -74.829</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 24.1</td><td>NEAR THE COAST OF SOUTHERN PERU</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/29 01:17:15</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 15.063</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -92.948</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 92.2</td><td>OFFSHORE CHIAPAS, MEXICO</td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 22:37:01</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -5.848</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 103.868</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 35.0</td><td>SOUTHERN SUMATRA, INDONESIA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.7 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 19:25:21</td><td align="right" nowrap="nowrap">-31.976</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -71.281</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 68.3</td><td>COQUIMBO, CHILE</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.5 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 18:50:03</td><td align="right" nowrap="nowrap">-22.339</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 171.630</td><td align="right" nowrap="nowrap">108.3</td><td>SOUTHEAST OF THE LOYALTY ISLANDS</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 12:41:48</td><td align="right" nowrap="nowrap">-15.126</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -74.492</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 24.7</td><td>NEAR THE COAST OF SOUTHERN PERU</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.2 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 12:39:16</td><td align="right" nowrap="nowrap">-15.584</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -74.649</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 28.7</td><td>NEAR THE COAST OF SOUTHERN PERU</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.8 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 08:44:49</td><td align="right" nowrap="nowrap">-15.657</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -74.821</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 27.5</td><td>NEAR THE COAST OF SOUTHERN PERU</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">6.7 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/28 02:52:09</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -7.938</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 154.616</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.0</td><td>BOUGAINVILLE REGION, PAPUA NEW GUINEA</td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">6.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/26 22:23:03</td><td align="right" nowrap="nowrap">-10.505</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 108.112</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.0</td><td>SOUTH OF JAVA, INDONESIA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/26 20:36:52</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 5.628</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 125.148</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 75.6</td><td>MINDANAO, PHILIPPINES</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.0 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/26 08:04:16</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 46.482</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 152.957</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 46.6</td><td>KURIL ISLANDS</td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/25 17:10:18</td><td align="right" nowrap="nowrap">-11.307</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 165.521</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 36.7</td><td>SANTA CRUZ ISLANDS</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.2 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/25 13:33:18</td><td align="right" nowrap="nowrap"> -7.856</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 119.758</td><td align="right" nowrap="nowrap">191.3</td><td>FLORES SEA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/25 13:18:59</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 51.761</td><td align="right" nowrap="nowrap">-173.478</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 45.1</td><td>ANDREANOF ISLANDS, ALEUTIAN IS., ALASKA</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/25 05:28:24</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 6.752</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 123.863</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 55.5</td><td>MORO GULF, MINDANAO, PHILIPPINES</td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/25 02:32:26</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 41.125</td><td align="right" nowrap="nowrap">-124.814</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.1</td><td>OFFSHORE NORTHERN CALIFORNIA</td></tr> <tr><td colspan="7"><hr></td></tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.1 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/06/24 13:47:37</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 5.546</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 94.664</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 30.0</td><td>NORTHERN SUMATRA, INDONESIA</td></tr></tbody></table>
     
  7. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    ข่าวล่าสุด!
    ผู้เชี่ยวชาญได้เปิดเผยว่ามี รอยเลื่อนเกิดใหม่ เป็นแขนงแยกออกมา ที่น่ากลัวคืออยู่ใต้กรุงเทพมหานคร พาดผ่านไปทางจังหวัดชลบุรีและนครนายก
    หลังจากเกิดแผ่นดินไหวรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ 3 ริกเตอร์เมื่อเช้าวานนี้

    ปีที่ผ่านมาการเกิดแผ่นดินไหวเฉลี่ย 20,000 ครั้งต่อปี
    แต่ปีนี้ผ่านไปเพียง 2 เดือน ก็ไหวถึง 10,000 ครั้ง เข้าไปแล้ว
    มีโอกาสที่จะเกิดสึนามิสูงมาก จากการไหวแบบนี้ เหมือนที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว
    จึงต้องจับตาดูให้มากขึ้นเป็นพิเศษสำหรับปีนี้ เนื่องจากแผ่นดินไหวเป็นภัยอย่างเดียวไม่อาจรู้ล่วงหน้าได้เลย
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 กรกฎาคม 2007
  8. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แขนงรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์

    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    แขนงรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์

    โผล่องครักษ์ห่างกทม. 25 กิโลเมตร
    เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ที่โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรมทรัพยากรธรณี (ทธ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม (ทส.) จัดสัมมนาเรื่อง "แผ่นดินไหว : ธรณีพิบัติภัยใกล้ตัว" นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดี ทธ. กล่าวถึงการศึกษากลุ่มรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน และรอยเลื่อนเมย ในเขตพื้นที่ จ.แม่ฮ่องสอน ตาก กำแพงเพชร และกลุ่มรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ในเขตพื้นที่ จ.กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี และตาก ที่ยังไม่แล้วเสร็จว่า ทีมนักวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งเจาะจงพื้นที่ จ.กาญจนบุรีและสุพรรณบุรี โดยอาศัยหลักฐานธรณีสัณฐานที่ได้จากภาพถ่ายดาวเทียม และการตรวจสอบภาคสนาม รวมทั้งได้คัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการขุดร่องสำรวจ เพื่อประเมินหาขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิดในอดีต และช่วงเวลาที่เคยเกิด จำนวน 6 พื้นที่ ดังนี้

    1.บ้านทุ่งมะกอก ต.องค์พระ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 7.0 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 7,000 ปี 2.บ้านแก่งแคบ ต.ท่ากระดาน อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.4 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 1000 ปี 3.บ้านโป่งหวาย ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.5 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 1,500 ปี 4.บ้านดงเสลา ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.0 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 10,000 ปี 5.บ้านองธิ ต.ท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 7.0 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 7,000 ปี 6.บ้านทิพุเย ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.4 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 2,000 ปี

    รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ขณะนี้นักธรณีวิทยาหลายคนกังวลว่านอกจากกลุ่มรอยเลื่อน 6 กลุ่มที่ต้องเร่งศึกษาความเสี่ยงแล้ว ยังพบว่าพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กทม.) เองก็มีความเสี่ยง เนื่องจากผลการศึกษาระยะที่ 1 โดยใช้ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ พบว่ามีรอยแขนงที่แตกออกจากรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ พาดผ่านเข้ามาทางพื้นที่ตอนใต้ของ กทม. คือบริเวณ จ.สมุทรปราการ และวกเข้าไปใน จ.ชลบุรี น่าเป็นห่วงว่าหากเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หรือแม้แต่ระดับปานกลางจะกระทบกับพื้นที่ กทม. อย่างมากเพราะเป็นดินอ่อนที่สามารถขยายคลื่นความสั่นสะเทือนให้แรงเหมือนกับการหมุนวิทยุให้เสียงดังขึ้น ทำให้เพิ่มความแรงได้มหาศาล

    "รอยเลื่อนที่น่าจะเป็นส่วนต่อของรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ยังไม่มีการศึกษาอย่างละเอียด มีเพียงบางท่อนที่ยังมีพลังอยู่ใกล้กับพื้นที่ไทรโยค ศรีสวัสดิ์ และทางตอนใต้ของเขื่อนเขาแหลม มีแนวโน้มการมีพลังสูงมาก รอยเลื่อนนี้ที่พาดผ่านจากชายแดนพม่า แขนงของมันจะต่อเลยจากด่านเจดีย์เข้ามาถึงทางใต้ของ กทม.คือ บริเวณ จ.สมุทรปราการ ห่างจาก กทม.ประมาณ 25 กิโลเมตร และอีกแขนงไปยัง อ.องครักษ์ จ.นครนายก อีกแขนงไปยังบริเวณแม่น้ำท่าจีน จ.นครปฐม ในช่วง 1-2 เดือนนี้ยังเกิดแผ่นดินไหวจากแถบประเทศพม่า ลาว มีการตั้งข้อสังเกตว่าเป็นถี่ปกติหรือเป็นรอบของมันหรือเปล่า ดังนั้น คนไทยควรต้องรู้ถึงสภาวะ และความเสี่ยงที่อาจเกิดจากภัยแผ่นดินไหว โดย ทธ.ก็ต้องให้ความสำคัญการทำแผนที่พิบัติภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย หลังจากทำแผนที่รอยเลื่อนมีพลังของไทยออกมาแล้ว" รศ.ดร.ปัญญากล่าว

    (คอลัมน์:ชีวิตคุณภาพ)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">มติชน [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">3 ก.ค. 2550 <!--61.91.248.51--> </td></tr></tbody></table>
     
  9. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    แผ่นดินไหวขนาด 3.0 ริกเตอร์ บริเวณ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี

    เมื่อวันที่ 2 ก.ค.2550 เวลา 16.40 น. เกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.0 ริกเตอร์ ละติจูดที่ 14° 54' 54'' องศาเหนือ ลองจิจูด 98° 48' 48'' องศาตะวันออก บริเวณ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี เกิดจากการขยับตัวของกลุ่มรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ไม่มีรายงานความเสียหาย </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">กรมทรัพยากรธรณี [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">3 ก.ค. 2550</td></tr></tbody></table>
     
  10. Aunop

    Aunop เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 มกราคม 2007
    โพสต์:
    99
    ค่าพลัง:
    +1,243
    <TABLE class=mxtable cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top height=120>
    แขนงรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์

    โผล่องครักษ์ห่างกทม. 25 กิโลเมตร
    เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ที่โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรมทรัพยากรธรณี (ทธ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม (ทส.) จัดสัมมนาเรื่อง "แผ่นดินไหว : ธรณีพิบัติภัยใกล้ตัว" นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดี ทธ. กล่าวถึงการศึกษากลุ่มรอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน และรอยเลื่อนเมย ในเขตพื้นที่ จ.แม่ฮ่องสอน ตาก กำแพงเพชร และกลุ่มรอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ ในเขตพื้นที่ จ.กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทัยธานี และตาก ที่ยังไม่แล้วเสร็จว่า ทีมนักวิชาการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งเจาะจงพื้นที่ จ.กาญจนบุรีและสุพรรณบุรี โดยอาศัยหลักฐานธรณีสัณฐานที่ได้จากภาพถ่ายดาวเทียม และการตรวจสอบภาคสนาม รวมทั้งได้คัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการขุดร่องสำรวจ เพื่อประเมินหาขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิดในอดีต และช่วงเวลาที่เคยเกิด จำนวน 6 พื้นที่ ดังนี้

    1.บ้านทุ่งมะกอก ต.องค์พระ อ.ด่านช้าง จ.สุพรรณบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 7.0 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 7,000 ปี 2.บ้านแก่งแคบ ต.ท่ากระดาน อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.4 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 1000 ปี 3.บ้านโป่งหวาย ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.5 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 1,500 ปี 4.บ้านดงเสลา ต.ด่านแม่แฉลบ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.0 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 10,000 ปี 5.บ้านองธิ ต.ท่าขนุน อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 7.0 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 7,000 ปี 6.บ้านทิพุเย ต.ชะแล อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี ขนาดแผ่นดินไหวที่เคยเกิด 6.4 ริคเตอร์ เกิดมาแล้ว 2,000 ปี

    รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ขณะนี้นักธรณีวิทยาหลายคนกังวลว่านอกจากกลุ่มรอยเลื่อน 6 กลุ่มที่ต้องเร่งศึกษาความเสี่ยงแล้ว ยังพบว่าพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กทม.) เองก็มีความเสี่ยง เนื่องจากผลการศึกษาระยะที่ 1 โดยใช้ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ พบว่ามีรอยแขนงที่แตกออกจากรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ พาดผ่านเข้ามาทางพื้นที่ตอนใต้ของ กทม. คือบริเวณ จ.สมุทรปราการ และวกเข้าไปใน จ.ชลบุรี น่าเป็นห่วงว่าหากเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หรือแม้แต่ระดับปานกลางจะกระทบกับพื้นที่ กทม. อย่างมากเพราะเป็นดินอ่อนที่สามารถขยายคลื่นความสั่นสะเทือนให้แรงเหมือนกับการหมุนวิทยุให้เสียงดังขึ้น ทำให้เพิ่มความแรงได้มหาศาล

    "รอยเลื่อนที่น่าจะเป็นส่วนต่อของรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ยังไม่มีการศึกษาอย่างละเอียด มีเพียงบางท่อนที่ยังมีพลังอยู่ใกล้กับพื้นที่ไทรโยค ศรีสวัสดิ์ และทางตอนใต้ของเขื่อนเขาแหลม มีแนวโน้มการมีพลังสูงมาก รอยเลื่อนนี้ที่พาดผ่านจากชายแดนพม่า แขนงของมันจะต่อเลยจากด่านเจดีย์เข้ามาถึงทางใต้ของ กทม.คือ บริเวณ จ.สมุทรปราการ ห่างจาก กทม.ประมาณ 25 กิโลเมตร และอีกแขนงไปยัง อ.องครักษ์ จ.นครนายก อีกแขนงไปยังบริเวณแม่น้ำท่าจีน จ.นครปฐม ในช่วง 1-2 เดือนนี้ยังเกิดแผ่นดินไหวจากแถบประเทศพม่า ลาว มีการตั้งข้อสังเกตว่าเป็นถี่ปกติหรือเป็นรอบของมันหรือเปล่า ดังนั้น คนไทยควรต้องรู้ถึงสภาวะ และความเสี่ยงที่อาจเกิดจากภัยแผ่นดินไหว โดย ทธ.ก็ต้องให้ความสำคัญการทำแผนที่พิบัติภัยแผ่นดินไหวในประเทศไทย หลังจากทำแผนที่รอยเลื่อนมีพลังของไทยออกมาแล้ว" รศ.ดร.ปัญญากล่าว

    (คอลัมน์:ชีวิตคุณภาพ)
    </TD><TD width=18 rowSpan=3> </TD></TR><TR><TD align=right>มติชน [​IMG] </TD></TR><TR><TD align=right>3 ก.ค. 2550 <!--61.91.248.51--> </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวภัยใกล้ตัว

    กรมทรัพยากรธรณี จัดประชุมสัมมนา เรื่อง “แผ่นดินไหว: ธรณีพิบัติภัยใกล้ตัว” ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2550 รวมนักวิชาการเปิดโต๊ะอภิปราย โดยมีนายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี เป็นประธานและปาฐกถา เรื่อง การศึกษาธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหวในไทย
    นายอภิชัย เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด 5 ริกเตอร์ ที่ จ.ประจวบคีรีขันธ์ แผ่นดินไหวขนาด 5.1 ริกเตอร์ ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ และแผ่นดินไหวขนาด 6.3 ริกเตอร์ เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม มีศูนย์กลางในประเทศลาว และส่งผลกระทบในหลายพื้นที่ในประเทศไทย เหล่านี้ล้วนมีสาเหตุมาจากการขยับตัวของ “รอยเลื่อน” นั่นเอง
    “ภายหลังเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิ ขนาด 9.3 ริกเตอร์ กรมทรัพยากรธรณีได้มีการติดตั้งเครื่องมือวัดแผ่นดินไหวชนิด Short period ติดตั้งในจังหวัดพังงา กระบี่ และภูเก็ต ซึ่งอยู่ใกล้แนวรอยเลื่อนคลองมะรุ่ย และในปีนี้ ได้จัดซื้อเครื่องมือเพิ่มอีก 9 เครื่องเพื่อติดตั้งรวบรวมสถิติการเกิดแผ่นดินไหวซึ่งจะต้องสัมพันธ์กบรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย” นายอภิชัย กล่าว
    จากนั้นมีการอภิปราย ในหัวข้อ “การศึกษารอยเลื่อนมีพลัง: ขุมพลังแผ่นดินไหว” ประกอบด้วยนักวิชาการ ได้แก่ ศ.ดร.ปริญญา นุตาลัย นักวิชาการอิสระ นายวรวุฒิ ตันติวนิช ทธ. ดร.ปริญญา พุทธาภิบาล ม.มหิดล และ รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    ในภาคบ่ายเป็นการอภิปรายเรื่อง “ศึกษาแผ่นดินไหวควรได้อะไร” โดยมี ศ.ดร.ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ ม.เกษตรศาสตร์ นายบุรินทร์ เวชบันเทิง กรมอุตินิยมวิทยา และดร.เสถียร เจริญเหรียญ กรมโยธาธิการและผังเมือง
    ผลจากการประชุมระดมความคิดเห็นในครั้งนี้ ทำให้ผู้ร่วมเข้ารับการสัมมนาได้รับข้อมูลที่เป็นมาตรฐานในเรื่องของแผ่นดินไหว ตลอดจนสามารถนำข้อมูลเหล่านั้นไปประยุกต์ใช้ต่อในการศึกษาขั้นต่อไป
     
  12. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เหมือนมีระเบิดเวลาอยู่ข้างใต้เมืองหลวงเราครับ

    ทางที่ดี พวกเราเองก็อย่าได้ประมาทอย่างที่เตือนกันเอาไว้อยู่เสมอ

    หากพบสิ่งผิดปกติกับโครงสร้างอาคาร ที่บ้านที่ทำงานก็ดี รีบแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยด่วนครับ

    เพื่อนๆเราท่านหนึ่งก็ได้ประสพเหตุการณ์นี้ด้วยตัวเองแล้ว ทางแถบพระโขนง ต้องทุบบ้านตนเองทิ้งเพราะอาจพังถล่มลงมาได้ แถมต้องจ่ายเงินเป็นแสนให้โยธาเป็นค่ารื้อถอนอีก
     
  13. ZZ

    ZZ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 เมษายน 2005
    โพสต์:
    5,374
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +34,649
    รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า

    ขณะนี้นักธรณีวิทยาหลายคนกังวลว่านอกจากกลุ่มรอยเลื่อน 6 กลุ่มที่ต้องเร่งศึกษาความเสี่ยงแล้ว ยังพบว่าพื้นที่กรุงเทพมหานคร (กทม.) เองก็มีความเสี่ยง เนื่องจากผลการศึกษาระยะที่ 1 โดยใช้ข้อมูลธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ พบว่า

    มีรอยแขนงที่แตกออกจากรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ พาดผ่านเข้ามาทางพื้นที่ตอนใต้ของ กทม. คือบริเวณ จ.สมุทรปราการ และวกเข้าไปใน จ.ชลบุรี

    น่าเป็นห่วงว่าหากเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่หรือแม้แต่ระดับปานกลางจะกระทบกับพื้นที่ กทม. อย่างมากเพราะเป็นดินอ่อนที่สามารถขยายคลื่นความสั่นสะเทือนให้แรงเหมือนกับการหมุนวิทยุให้เสียงดังขึ้น ทำให้เพิ่มความแรงได้มหาศาล
     
  14. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    แผ่นดินไหวที่ บริเวณทะเลสาบไบคาล ประเทศรัสเซีย ความแรง 5.2


    Map Centered at 55°N, 110°E

    <!-- insert start --> [​IMG]
    [​IMG]
    <map name="regionmap"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/localtimes.php" coords=",0,0,240,30" alt="Event localtimes"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Quakes/us2007ejaj.php" coords="297,237,309,249," alt="Event us2007ejaj"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/110_60.php" coords="229,1,369,70" alt="Map Centered at 60°N, 110°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/120_55.php" coords="528,190,598,330" alt="Map Centered at 55°N, 120°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/110_50.php" coords="229,438,369,508" alt="Map Centered at 50°N, 110°E"><area shape="rectangle" href="http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/recenteqsww/Maps/10/100_55.php" coords="1,190,70,330" alt="Map Centered at 55°N, 100°E"></map>
    Earthquake List for Map Centered at 55°N, 110°E

    Update time = Wed Jul 4 5:00:01 UTC 2007
    Here is a list of the earthquakes located by the USGS and contributing networks in the Map Centered at 55°N, 110°E area. Most recent events are at the top. (Some early events may be obscured by later ones on the map.)
    Click on the underlined portion of an earthquake record in the list below for more information.

    <table border="0" cellpadding="1" cellspacing="1"><tbody><tr> <th> </th> <th align="center">MAG </th> <th align="center">UTC DATE-TIME
    y/m/d h:m:s
    </th> <th align="center">LAT
    deg
    </th> <th align="center">LON
    deg
    </th> <th align="center">DEPTH
    km
    </th> <th>Region</th> </tr> <tr><td align="center" nowrap="nowrap">MAP</td><td align="center" nowrap="nowrap">5.2 </td><td align="center" nowrap="nowrap">2007/07/04 01:23:25</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 55.499</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 110.216</td><td align="right" nowrap="nowrap"> 10.0</td><td>LAKE BAYKAL REGION, RUSSIA</td></tr></tbody></table>

     
  15. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    เตือนอย่าตื่นรอยเลื่อนผ่ากรุง

    จากกรณีที่นายปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหว และธรณีแปรสัณฐาน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ระบุว่าพื้นที่กรุงเทพมหานครเสี่ยงการเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากตรวจพบแขนงรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์พาดผ่านทางตอนใต้ของกทม. บริเวณจ.สมุทรปราการ ห่างจากกทม.ประมาณ 25 กิโลเมตร และอีกแขนงไปยังอ.องครักษ์ จ.นครนายก อีกแขนงไปยังบริเวณแม่น้ำท่าจีน จ.นครปฐม นั้น

    ความคืบหน้าเรื่องนี้ เมื่อวันที่ 3 ก.ค. นายปริญญา นุตาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว กล่าวว่า ข้อมูลแขนงรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ใกล้กทม.นี้ คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติเคยทำเรื่องเสนอเข้าครม.ไปตั้งแต่ปี 2547 เพราะเห็นว่ายิ่งอยู่ใกล้กับกทม.ก็ควรต้องเร่งทำให้ชัดเจนเท่านั้น เพื่อจะรู้สถานะว่าต้องเฝ้าระวังอย่างไร เพราะถ้าต้องรอให้มีอะไรมาบ่งชี้ก่อนแล้วค่อยมาศึกษา ทำอย่างนั้นไม่ได้ เพราะแผ่นดินไหวไม่ได้บอกใครล่วงหน้า

    "จริงๆ แล้วครม.ตอนนั้นอนุมัติงบประมาณดำเนินการแล้ว เป็นโครงการต่อเนื่อง 5 ปี เรื่องแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาแผ่นดินไหว โดยมีกรมทรัพยากรธรณีเป็นเจ้าภาพ แต่อยู่ที่ว่าคนในกรมจะสนใจตั้งงบประมาณมาทำงานเรื่องนี้หรือเปล่าเท่านั้นเอง" นายปริญญากล่าว

    นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี กล่าวว่า ไม่อยากให้ใครตื่นตกใจกับเรื่องนี้มากเกินไป เพราะขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลอะไรที่บ่งชี้ว่าบริเวณรอยเลื่อนแขนงดังกล่าวเคยเกิดการสั่นไหว หรือมีการขยับตัวอย่างมีนัยยะหรือไม่ เนื่องจากยังเป็นข้อมูลที่ได้ตรวจพบจากธรณีฟิสิกส์ทางดาวเทียม แต่ยังไม่ได้สำรวจและศึกษารายละเอียดเชิงลึก

    "เรายอมรับถึงความห่วงใยของนักวิชาการ แต่ขณะนี้ทธ.ให้ความสำคัญกับรอยเลื่อนมีพลังทั้ง 13 รอย และกลุ่มรอยเลื่อน 6 พื้นที่ ซึ่งมีแนวโน้มความเสี่ยงหลังจากเกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.3 ริกเตอร์ เมื่อคราวที่เคยเกิดเหตุการสึนามิเมื่อ 26 ธ.ค. 2547 มากเป็นอันดับต้นๆ ส่วนรอยเลื่อนใกล้พื้นที่กทม.นั้นเราเห็นมานานแล้ว แต่ขณะนี้นักธรณีวิทยาเองก็ยังไม่ฟันธงว่าเป็นรอยแยกแขนงจากรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ หรือเป็นรอยเลื่อนใหม่ หรืออาจเป็นเพียงรอยแตกทางธรณีวิทยาธรรมดาๆ ก็ได้ เนื่องจากยังเป็นข้อมูลจากภาพถ่ายเท่านั้น ยอมรับว่าที่ผ่านมาไม่ได้ตั้งงบประมาณสำหรับศึกษาเรื่องนี้ แต่เมื่อเกิดข้อกังวลกันขึ้น ก็จะนำงบเหลือจ่ายในปี 2551 มาสำรวจวิจัยเพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย" นายอภิชัยกล่าว

    (คอลัมน์:ข่าวหน้า 1)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">ข่าวสด [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">4 ก.ค. 2550</td></tr></tbody></table>
     
  16. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    กรมทรัพยากรธรณีเร่งศึกษา รอยเลื่อนต้นเหตุแผ่นดินไหว ชงออกกฎคุมก่อสร้างอาคาร

    นายอภิชัย ชวเจริญพันธุ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี เผยว่า ภายหลังเกิดเหตุคลื่นยักษ์สึนามิปลายปี พ.ศ.2547 ได้มีการคาดการณ์ว่าสึนามิน่าจะมีผลกระทบต่อรอยเลื่อนต่างๆ ที่มีอยู่ในฝั่งภาคเหนือ ตะวันตก ภาคใต้ของประเทศไทย ดังนั้น ในปี พ.ศ.2548 กรมฯจึงได้ดำเนินการจัดสรรงบประมาณการศึกษากลุ่มรอยเลื่อนต่างๆ อย่างจริงจังมากขึ้น โดยได้กำหนดแผนการดำเนินงาน 5 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548 -2553 เพื่อให้รู้และสามารถวิเคราะห์ถึงขนาด ทิศทาง การเคลื่อนตัว และสภาพการมีพลังของรอยเลื่อน รวมไปถึงโอกาสที่จะเกิดอุบัติซ้ำ
    "จากการสำรวจข้อมูลพบว่า กลุ่มรอยเลื่อนที่มีพลัง ทั้งในภาคเหนือ ภาคใต้ และตะวันตกของประเทศไทย มีอยู่ด้วยกัน 13 กลุ่มด้วยกัน โดยข้อมูลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ในพื้นที่ที่มีรอยเลื่อนพาดผ่าน ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ จะได้นำเสนอต่อคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ เพื่อนำไปสู่การออกเป็นกฎระเบียบในการควบคุมการก่อสร้างให้ปลอดภัยในการรับมือกับแผ่นดินไหว และยังเป็นการให้ข้อมูลแก่ประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณกลุ่มรอยเลื่อนดังกล่าวว่าจะมีความเสี่ยงหรือไม่อย่างไร" นายอภิชัยกล่าว
    ด้าน นายวรวุฒิ ตันติวนิช ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่ปรึกษาทางการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี กล่าวว่า การศึกษาแผ่นดินไหวโดยอาศัยเครื่องมือวัดระดับแผ่นดินไหวซึ่งหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องต่างมีเครื่องดังกล่าวรวมแล้วทั่วประเทศกว่า 91 เครื่อง แต่ปัญหา คือ ตำแหน่งในการติดตั้งเครื่องมือ ไม่ได้คำนึงถึงปัจจัยทางธรณีวิทยา ทำให้เครื่องมือดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร นอกจากนี้ การติดตั้งเครื่องมือยังดูเฉพาะโครงสร้างของเครื่องเท่านั้น ทำให้ไม่สามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์ในเรื่องอื่นๆ ได้ยาก ดังนั้น แต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงควรนำข้อมูลมาแชร์กันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
    (คอลัมน์:เกษตร-สิ่งแวดล้อม)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">แนวหน้า [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">4 ก.ค. 2550 <!--61.91.248.51--> </td></tr><tr align="right" bgcolor="#7d393a"><td colspan="3">
    </td></tr></tbody></table>
     
  17. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    กรมธรณีเตรียมเจียดงบศึกษา 3 รอยเลื่อนใกล้ กทม.

    3 กรกฎาคม 2550 23:10 น.
    กรมทรัพยากรธรณีเจียดงบปี 51 วิจัยรอยเลื่อน 3 รอยใกล้เมืองกรุง พร้อมจับมือไจก้าลุยสำรวจความเสี่ยงแผ่นดินไหวและภาวะดินเหลวกับภัยแผ่นดินไหวในกรุงเทพฯ ยันตั้งแต่ปี 2455 ไม่เคยมีเหตุแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนดังกล่าว
    จากกรณีที่ รศ.ดร.ปัญญา จารุศิริ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยธรณีวิทยาแผ่นดินไหวและธรณีแปรสัณฐาน คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระบุว่า พื้นที่กรุงเทพฯ มีความเสี่ยงจากเหตุการณ์แผ่นดินไหว เนื่องจากตรวจพบรอยเลื่อนแขนงพาดผ่านทางตอนใต้ของกรุงเทพฯ และบริเวณพื้นที่องครักษ์และท่าจีน โดยแนะนำให้กรมทรัพยากรธรณีเร่งสำรวจติดตามความเสี่ยง
    นายอภิชัย ชวเจริญพันธ์ อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) กล่าวว่า ไม่อยากให้คนกรุงเทพฯ และพื้นที่ปริมณฑล แตกตื่นมากเกินไป เพราะขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลอะไรที่บ่งชี้ว่า บริเวณรอยเลื่อนแขนงดังกล่าวเคยเกิดการสั่นไหว เนื่องจากยังเป็นข้อมูลที่ได้ตรวจพบจากธรณีฟิสิกส์ทางดาวเทียม แต่ยังไม่ได้สำรวจและศึกษารายละเอียดเชิงลึก
    “กรมทรัพยากรธรณียอมรับถึงความห่วงใยของนักวิชาการ แต่ขณะนี้กรมทรัพยากรฯ ให้ความสำคัญกับแนวรอยเลื่อนมีพลังที่ชัดเจนทั้ง 13 รอย และกลุ่มรอยเลื่อน 6 พื้นที่ ซึ่งมีแนวโน้มความเสี่ยงหลังจากเกิดแผ่นดินไหวขนาด 9.3 ริคเตอร์ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 มากเป็นอันดับต้นๆ ส่วนรอยเลื่อนใกล้พื้นที่กรุงเทพฯ นั้นเห็นมานานแล้ว แต่ขณะนี้นักธรณีวิทยาเองก็ยังไม่ฟันธงว่าเป็นรอยแยกแขนงจากรอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ หรือเป็นรอยเลื่อนใหม่หรือไม่ หรืออาจเป็นเพียงรอยแตกทางธรณีวิทยาธรรมดาๆ ก็ได้
    นายอภิชัย กล่าวอีกว่า เพื่อไม่ให้เกิดข้อกังวล ทางกรมทรัพยากรธรณีจะนำงบเหลือจ่ายในปี 2551 มาสำรวจวิจัยเพื่อความสบายใจของทุกฝ่าย นอกจากนี้ ยังเตรียมร่วมมือกับองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (ไจก้า) ศึกษาวิจัยภาวะดินเหลวเนื่องจากแผ่นดินไหวในกรุงเทพฯ และประเมินวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในกรุงเทพฯ อีกด้วย
    ดร.ปณิธาน ลักคุนประสิทธิ์ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมแผ่นดินไหว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงการตรวจพบแขนงของรอยเลื่อนที่พาดผ่านมายังกรุงเทพฯ จ.สมุทรปราการ ถึง จ.ชลบุรี ว่า จนถึงขณะนี้ยังไม่ได้มีการสำรวจกันอย่างจริงจังว่า จะมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงหรือไม่ แต่ผ่านมาที่รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์เคยเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงถึง 7-7.5 ริคเตอร์ แขนงที่ตรวจพบว่า พาดผ่านกรุงเทพฯ จ.สมุทรปราการ ไปถึง จ.ชลบุรี เป็นส่วนที่เชื่อมต่อจากรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ จึงมีความเป็นไปได้ที่จะเกิดแผ่นดินไหวที่รุนแรง
    ผศ.วรวุฒิ ตันติวนิช ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี กล่าวว่า กรมทรัพยากรธรณีมีแผนที่จะสำรวจรอยเลื่อนที่พาดผ่านกรุงเทพฯ จ.สมุทรปราการ ไปจนถึง จ.ชลบุรี ตั้งแต่ปี 2551-2553 เป็นเวลารวม 3 ปี เพื่อศึกษารายละเอียดทั้งหมด แต่ที่ผ่านมาจากสถิติการเกิดแผ่นดินไหวตั้งแต่ปี 2455 เป็นต้นมา บริเวณดังกล่าวไม่เคยเป็นศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหวแม้แต่ครั้งเดียว ต่างจากรอยเลื่อนในภาคเหนือและภาคตะวันตกที่เกิดแผ่นดินไหวอยู่บ่อยครั้ง
    (คอลัมน์:ภูมิภาค)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">คม-ชัด-ลึก [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">4 ก.ค. 2550</td></tr></tbody></table>
     
  18. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,892
    <table class="mxtable" align="center" bgcolor="#ffffff" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr><td height="120" valign="top">
    แผ่นดินไหว

    ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นในขณะนี้นับวันจะรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินและเป็นไปอย่างไม่สิ้นสุด ในความเป็นจริงของธรรมชาตินั้นเราต้องเข้าใจหลักของ “ธรรมะ” หรือธรรมชาติอย่างหนึ่งว่าทุกอย่างไม่มีอะไรจีรังยั่งยืน มีการเปลี่ยนแปลงเป็นนิรันดร์

    การเกิดแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2550 เวลา 15.57 น. ที่ผ่านมา จังหวัดเชียงรายจะได้รับผลกระทบและมีทรัพย์สินเสียหายมากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบจังหวัดอื่น ๆ ในเขตภาคเหนือ นี่ก็เป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอีกอย่างที่เราไม่สามารถจะรู้ล่วง หน้าหรือพยากรณ์ได้ว่าจะเกิดเมื่อใด ดังนั้นทุกคนต้องพร้อมและไม่ประมาท ความรุนแรงที่เกิดขึ้นครั้งนี้รุนแรงกว่าทุกครั้งที่ผ่านมาซึ่งมีสูงถึง 6.3 ริคเตอร์ ก่อนนี้อย่างมากก็ 5.8 ริคเตอร์ และเชียงรายก็อยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางในประเทศลาวแขวงหลวงน้ำทา ซึ่งมีรอยเลื่อนของแผ่นดินอยู่อีกแห่ง ประมาณ 97 กิโลเมตรเท่านั้น และมีความลึกจากผิวดินเพียง 33 กิโลเมตร

    กอปรกับเชียงรายเองก็อยู่ในเขตรอยเลื่อนของแผ่นดิน 2 แห่ง คือรอยเลื่อนแม่จันกับรอยเลื่อนเชียงแสน ซึ่งเป็นรอยเลื่อนที่มีพลังหรือจะมีการเคลื่อนไหวอยู่เรื่อย ๆ ดังนั้นจึงสร้างความเสียหายถึง 5 อำเภอ ได้แก่ เขตอำเภอเมือง แม่จัน เชียงแสน เชียงของ และเทิง ส่วนมากจะเป็นบ้านเรือน โรงเรียน ที่ทำการสถานที่ราชการ สระว่ายน้ำบางแห่งแตกร้าวจนใช้การไม่ได้ก็มีบางแห่งก็ถึงขั้นฝ้าเพดานและหลังคาหลุดร่วง แต่ที่เป็นข่าวใหญ่ก็คือ ยอดฉัตรพระธาตุจอมกิติ และทับทิมบนยอดฉัตร ที่ อ.เชียงแสน ซึ่งเป็นพระธาตุประวัติศาสตร์เก่าแก่ คู่เชียงแสนอายุร่วม 1,000 ปี หลุดร่วงลงมาพร้อมเจดีย์บางส่วนมีรอยร้าวแต่ก็ยังดีไม่มีอันตรายถึงชีวิต อย่างไรก็ตามการเกิดแผ่นดินไหวในเชียงรายก็มีเกิดขึ้นอยู่ประจำ แต่ครั้งที่ผ่านมา พบว่าเป็นครั้งรุนแรงที่สุดและก็จะยังคงมีอีกต่อไป

    นี่คือความรุนแรงแห่งธรรมชาติ มันเป็นของมันอย่างนี้ มนุษย์ต่างหากที่จะต้องปรับตัวให้เข้ากับธรรม ชาติว่าจะอยู่อย่างไรให้ปลอดภัยเพราะปัญหาทุกอย่างจะ “สร้างปัญญา” ของมนุษย์ให้เกิดใหม่เสมอ ดังนั้นแนวทางการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นนั้น จังหวัดต่าง ๆ ที่ถูกประกาศเป็นเขตภัยพิบัติจากแผ่นดินไหวจะต้องมีการซักซ้อมแผนการรับมือกับแผ่นดินไหวที่จะเกิดขึ้นอยู่บ่อย ๆ พร้อมประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อให้ประชาชนได้เกิดความตระหนัก รู้จักเตรียมตัว เตรียมใจว่าจะทำอะไรก่อนและหลังขณะเกิดแผ่นดินไหว

    นอกจากนี้ควรจะควบคุมการก่อสร้างตึกและสิ่งสาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น สะพานลอย สะพานข้ามแม่น้ำ รวมทั้งการสร้างบ้านเรือน สถานที่ทำงานให้มีความมั่นคงปลอดภัยมีการออกแบบที่สามารถจะรับมือกับแผ่นดินไหวในอนาคตได้ โดยเฉพาะการก่อสร้างตามกฎกระทรวงที่ออกมาหลังปี 2540 ที่ควบคุมการก่อสร้างอาคารสูงเกิน 15 เมตร ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือและ จ.กาญจนบุรี รวมทั้งภาคกลางและภาคใต้หลายจังหวัด ที่สามารถจะรองรับแรงสั่นสะเทือนขนาด 6.0 ริคเตอร์ได้ ต้องมีมาตรการที่ชัดเจน รวมทั้งร้านค้า หรือบ้านเรือนที่อยู่ใกล้ ๆ กับสะพานลอย ต้องมั่นใจว่าสามารถรับแรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหวได้เป็นอย่างดีอย่าได้ประมาท เพราะภัยที่อยู่ใต้ที่อาศัยของมนุษย์นั้นมักจะรุนแรงเสมอ เนื่องจากเราขาดความระมัดระวัง

    นี่คือความจริงของธรรมชาติที่มนุษย์ทุกคนต้องเผชิญในอนาคต และทุกวันนี้ก็เปลี่ยนแปลงอยู่ เนือง ๆ “เพราะมันเป็นของมันอย่างนี้” อย่าลืมตรวจสอบความแข็งแรงของบ้านและที่อาศัยใต้ชายคาอีกครั้ง ก่อนแผ่นดินไหวจะตามมาในอนาคต เพราะเชียงราย พะเยา เชียงใหม่ อยู่ในรอยเลื่อนแผ่นดินที่มีพลังอยู่หลายแห่ง บางแห่งอาจซ่อนอยู่ใต้ดินของหมู่บ้าน.

    (คอลัมน์:หมายเหตุวันนี้)
    </td><td rowspan="3" width="18"> </td></tr><tr><td align="right">เดลินิวส์ [​IMG] </td></tr><tr><td align="right">4 ก.ค. 2550 <!--61.91.248.51--></td></tr></tbody></table>
     
  19. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เริ่มเป็นภัยพิบัติที่ใกล้ตัวมากยิ่งขึ้นครับ ข้อมูลที่พวกเราประชาชนทั่วไปได้รับนั้น เป็นเพียงส่วนหนึ่ง ยังมีข้อมูลอีกมากที่ยังไม่มีการเปิดเผยเนื่องจากกลัวผลกระทบทางเศรษฐกิจและ กลัวความแตกตื่นในหมู่ประชาชน

    หากพวกเราเองมีข้อมูลในการสังเกตุและเฝ้าระวังการเกิดแผ่นดินไหว ตลอดจนรู้วิธีรับมือกับภัยพิบัติเหล่านี้ตั้งแต่ต้น ก็จะช่วยลดความสูญเสีย ชีวิตและทรัพย์สินลงไปได้มากครับ
     
  20. mead

    mead เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 เมษายน 2005
    โพสต์:
    8,134
    ค่าพลัง:
    +62,441
    บนแผ่นดินเห็นดีๆแบบนี้ ข้างใต้เราไม่เห็น
    นอกจากรอบเลื่อนแล้ว อาจต้องเสี่ยงภัยจากหลุมยุบด้วย..
    คล้ายๆกับโพรงถ้ำใต้ดินเป็นหินปูนกระจายอยู่หลายแห่ง..โดยเฉพาะทางใต้
    มีเวปไซท์อันหนึ่งเกี่ยวกับพื้นที่เสี่ยงหลุมยุบแต่ละจังหวัด ไว้จะค้นมาให้ดูครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 กรกฎาคม 2007

แชร์หน้านี้

Loading...