เสียงธรรม พระธรรมตามพระไตรปิฎก / พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก

ในห้อง 'ธรรมเพื่อความหลุดพ้น' ตั้งกระทู้โดย supatorn, 14 สิงหาคม 2020.

  1. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    พิจารณากายโดยความเป็น ธาตุ กสิน อาการ32 อายตนะ อินทรีย์ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กรกฎาคม 2023
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ผัสสะ เป็นบ่อเกิดของการเดินทางในสังสารวัฏ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 กรกฎาคม 2023
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    เตือนจิต สะกิดใจ ผู้ศึกษาธรรม (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    กว่าจะเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    โทษของมานะและลักษณะของนิวรณ์ที่มีต่อการปฏิบัติ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)


     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กันยายน 2020
  4. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    อาตาปี สัมปชาโน สติมา (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    อะไรชื่อว่าปัญญา ๑ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)


    การพิจารณาปฏิบัติในธรรมะ ๒๐๑ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ภพนี้เป็นสิ่งที่ควรน่าเบื่อหน่าย (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)
    ดูกร วาเสฏฐะและภารทวาชะ กษัตริย์ก็ดี พราหมณ์ก็ดี แพศย์ก็ดี ศูทรก็ดี สมณะก็ดี ประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เป็นมิจฉาทิฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฐิ เพราะยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฐิเป็นเหตุ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ทั้งสิ้น ฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 กันยายน 2020
  5. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ญาณเพื่อในอรหัตตมรรค (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ปัญญาพิจารณาธัมมะทั้งอดีตอนาคตและปัจจุบัน/สมมสนญาณ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    อาหาเร ปฏิกูลสัญญาตอน1/2 (กำหนดหมายความปฏิกูลในอาหาร) พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก

    อาหาเร ปฏิกูลสัญญา ตอน2/2 (กำหนดหมายความปฏิกูลในอาหาร) พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก

    รัตนะนาถะ (R T)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 28 กันยายน 2020
  6. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    อุปมาทุกข์ในนรกและที่ไปของผู้เพลินในรสอาหาร (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)


    อุปมา๑๒ข้อ และการกำหนดออกจากสังขารของผู้เตรียมบรรลุอริยสัจจ์ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ผู้ชอบง่วงเหงาและกินมากย่อมจากครรภ์สู่ครรภ์อยู่เนืองๆ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
  7. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    อภิญเญยธรรม ธรรมที่ควรรู้ยิ่ง (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    พระพุทธเจ้าโปรดผกาพรหม (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)
     
  8. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    วันคืนล่วงไปๆ ผู้ยังประมาทก็ย่อมยัดเยียดกันอยู่ในอบาย (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ธรรมที่อิงอาศัยกัน (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    พญาวานร (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 23 กันยายน 2024
  9. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    พิจารณากายให้มีสัมปชัญญะขณะกำลังนอน (อสัมโมหสัมปชัญญะ) พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก

    ตัดฉันทราคะ ละอาลัยในขันธ์ห้าย่อมนำออกจากวัฏฏะอันเป็นทุกข์ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 5 มกราคม 2024
  10. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ปัญญาเป็นสิ่งประเสริฐสุดในโลก , ศึกษาพระธัมมต้องเป็นไปเพื่อเพิ่มพูนอินทรีย์ (พอ .สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
  11. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    สติปัฏฐานสี่ ธัมมที่ควรเจริญ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ควรรอบรู้ในเหตุแห่งการขยายและออกจากวัฏฏะ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    นานาสาระธรรม EP. 1 (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 27 ตุลาคม 2020
  12. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    ความวิจิตรของจิต (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    กรรมชรูป (รูปที่เกิดแต่กรรม) พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก

    รัตนะนาถะ (R T)

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 3 พฤศจิกายน 2020
  13. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    เหตุให้เกิดปัญญา (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รูปนามขันธ์ห้า (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 พฤศจิกายน 2020
  14. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    กาย-ใจ นี้ควรนำมาพิจารณาอยู่เนืองๆ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    สังฆทาน (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    นานาข้อคิดสาระธรรม EP 2 (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

    พระพุทธเจ้าตรัสสรรเสริญสังฆทานว่าเป็นเลิศ มีผลมากที่สุด ดังพุทธพจน์ว่า “เราไม่กล่าวว่า ปาฏิบุคลิกทานมีผลมากกว่าของที่ให้แก่สงฆ์ไม่ว่าโดยปริยายใดๆ” และได้ตรัสชักชวนให้ให้สังฆทาน
     
  15. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    กัมมปัจจัย (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ความลึกซึ้งของ อโลภ, อโทส, อโมห, (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 ธันวาคม 2020
  16. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    จิต--จิตฺตชวาโยธาตุ--รูปอิริยาบท (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    เหตุและที่มาที่ทรงแสดงพระเวสสันดรชาดก (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    บทบาทของอาวัชชนะ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    การเจริญอาการ ๓๒ ผมขนเล็บฟันหนังฯลฯ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)

     
  17. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    พิจารณา มหากุศลจิต (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    การให้ผลของกรรม (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    กรรมที่สัตว์ตั้งใจกระทำสั่งสมขึ้น ก็วิบากนั้นแล อันสัตว์ผู้ทำพึงได้เสวย ในปัจจุบัน (ทิฏฐธรรมเวทนียะ) ในอัตภาพถัดไป (อุปปัชชเวทนียะ) หรือในอัตภาพต่อๆ ไป (อปราปรเวทนียะ)

    ( แชร์ คือธรรมทาน )
    รัตนะนาถะ (R T)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 10 ธันวาคม 2020
  18. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    การปฏิบัติผิดไปจากคำสอน เสมือนดั่งการตกจากพระรัตนตรัย (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    ฐานะ ๕ ประการที่ควรพิจารณาอยู่เนืองๆ (พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก)

    รัตนะนาถะ (R T)
     
  19. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    [คัมภีร์พุทธวงศ์-01] ธรรมจากพระไตรปิฎกโดย.. พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก 10 Hrs.

    โจโฉ เสียงธรรม Official
    Dec 26, 2020

    เรียนธรรมะจากพระไตรปิฎก พร้อมอรรถกถาโดยละเอียด ฟังให้รอบด้านแล้วกรองมาประมวลผล นำมาใช้ จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมพิจารณาและเห็นใจความแท้ได้จริง ไม่ใช่แค่เพียงท่องจำ หรือตัดทอนบางส่วนมาศึกษา อันจะทำให้เกิดการเข้าใจคลาดเคลื่อนได้ ต้องยอมรับว่า พระไตรปิฎก แม้พุทธวจนทั้งหมด ก็ล้วนแปลมาจากอรรถกถาทั้งสิ้น คำแปลไทยทั้งหมดก็ได้มาจากอรรถกถา เพราะเป็นภาษามคธโบราณ มีนัยย์ สำนวน ความหมายแฝงหลากหลายมาก การเปิดใจศึกษาโบราณจารย์ที่เป็นที่ยอมรรับในระดับโลก ย่อมมีผลดีกว่าการที่เลือกจะตัดทอนแค่บางส่วนมาสอน มาศึกษา และมาเชื่อาจารย์รุ่นหลัง ที่แม้ความรู้ในบาลียังแปลผิด ยังเข้าใจคลาดเคลื่อนอยู่หลายแห่ง หากถือว่าเป็นพุทธแท้ ควรเปิดใจให้รอบด้าน ศึกษาให้รอบด้านครบถ้วนก่อน ค่อยเชื่อก็ยังไม่สาย กรณีการตัดตอนพุทธวนจมาสอนนั้น ลองอ่านหนังสือที่สมเด็จฯ ประยุทธ์ ท่านรจนาไว้เรื่อง รู้จักพระไตรปิฎกให้ชัดให้ตรง แล้วจะเข้าใจว่า การศึกษาธรรมไม่ได้ง่ายขนาดนั้น โดยเฉพาะการตัดแค่บางคำมาสอนกัน มีโอกาสผิดพลาดได้ง่าย ยกเว้นคนสอนปฏิบัติถึงและแตกฉานบาลีรอบด้านดีพอ พระอ.สมบัติ ท่านแตกฉานในพระไตรปิฎกทุกฉบับ และแม้แต่ฉบับภาษาอื่น ลองฟังแล้วท่านจะรู้ว่า การศึกษาพุทธวจนของแท้ ควรเป็นอย่างไร และคำที่อ้างว่าพุทธวจน จำนวนมาก ก็คือคำสืบต่อของสาวก ที่บางส่วนผ่านการประพันธ์หรือเรียบเรียงใหม่มาแล้วด้วยซ้ำ แต่เนื้อหายังคงเดิม อย่าลืมว่าอดีตพระสาวกท่านเป็นอรหันต์ เป็นอริยะแท้ ไม่เชื่อพระอัครสาวก แต่พากันเชื่อพระรุ่นหลัง ที่แม้วินัยเบื้องต้นก็ยังไม่ผ่านเหรอ? ยกตัวอย่างเช่น การกล่าวหาว่าสมเด็จประยุทธ์ใส่ร้ายท่าน ในกลางวงเทศน์หมู่ศิษย์ของตน นี่เป็นอาบัติ ที่พระไม่ควรทำ ไม่มีพระที่ไหนกล่าวหาพระด้วยกันต่อหน้าโยม แต่หัวเราะใส่ ทั้งที่ไม่เป็นความจริง
    การท่องพุทธวจนได้ ก็ไม่ใช่ว่าจะเข้าใจ และไม่ใช่ว่าจะนำไปปฏิบัติได้จริง เพราะศีลห้าและวินัยพื้นฐาน ท่านยังมองข้ามไปแบบไม่น่าเชื่อเช่นนี้ได้เลย ถ้าศึกษาพระไตรปิฎก 91 เล่มจบแล้ว สักรอบ แล้วค่อยมาตัดสินว่าอะไรถูกอะไรตรงก็ยังไม่สาย แต่ทางที่ดีควรเจริญสติจนจิตผู้รู้ตื่นให้ได้ด้วย ไม่งั้นก็รู้แค่ตัวหนังสือนะครับ
     
  20. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    47,273
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,046
    1/10 คัมภีร์เนตติปกรณ์-แนวทางเข้าใจพุทธวจนที่ถูกต้อง :[พระอาจารย์สมบัติ นันทิโก

    โจโฉ เสียงธรรม Official
    Jan 8, 2021
    หากสนใจพุทธวจนจริง ควรศึกษาให้ลึกซึ้งเข้าใจจริง ทั้งรากศัพท์ และนัยย์แฝง กาล บุคคลที่ทรงแสดง ไม่ใช่สักแต่ว่าตัดตอนเป็นท่อนสั้น ๆ มาสอนกัน เพราะปุถุชนไม่มีทางเช้าใจพุทธวจนในความหมายเชิงลึกได้จริง เหมือนคนไม่เคยกินของเปรี้ยว ไม่มีทางเข้าใจได้จริงว่า รสเปรี้ยวเป็นอย่างไร ดังนั้นการฟังจากพระอรหันต์อสีติสาวก ผู้ที่พระพุทธเจ้ายอมรับว่าเป็นเลิศในด้านนั้น ๆ โดยตรง จึงเป็นสิ่งที่ควรศึกษามากกว่าไปเชื่อคนที่บอกให้ตัดคำสอนสาวกแม้จะเป็นอรหันต์ให้หมด ด้วยอ้างพุทธวจนที่แม้ตนเองก็คิดว่าแตกฉานกว่าพระอสีติอรหันตสาวกหรือ ? อย่างน้อยพระมหากัจจายนะ ท่านก็ได้การรับรองจากพระพุทธเจ้าว่าถูกต้องตรงทาง และเป็นผู้เลิศในด้านการอธิบายความย่อให้พิศดาร ซึ่งพุทธวจนหลายแห่งนั้น เป็นเพียงคำย่อเท่านั้น ตรัสกับคนปัญญามาก ไม่ต้องอธิบายอะไรมาก น่าแปลกใจที่พากันเชื่อพระรุ่นหลังที่ยังแปลบาลีผิด ยังเข้าใจที่มาพระไตรปิฎกผิด แม้กระทั่งที่มาของแต่ละคัมภีร์ก็ยังเข้าใจผิด แต่กลับละเลยแม้คำอธิบายของพระอรหันตสาวกที่ได้รับการประทานบวชด้วยพระพุทธเจ้าเอง ไม่อยากหลงทาง ก็ต้องศึกษาให้มาก กับแหล่งที่น่าเชื่อถือด้วยนะครับ ไม่อย่างนั้นจะอ้างพุทธวจนผิดๆ เป็นกล่าวตู่พระพุทธเจ้า ทำบาปกรรมร้ายแรงโดยไม่รู้ตัว ยกตัวอย่างที่คนทั่วไปเข้าใจ การไม่มีโรคเป็นลาภฯ ความหมายจริงคือการไม่เกิดอีก จึงไม่มีโรค นี่คือลาภอันประเสริฐ นี่คือความหมายแท้ที่มีเฉพาะพระพุทธศาสนาเท่านั้น (แค่ยกตัวอย่างนะ ว่าตัดประโยคมาท่องจำมันไม่ได้ถูกต้องเสมอไป) ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกจะได้พบคำจำนวนมาก ที่พระพุทธองค์ตรัสถึงพระสาวกแต่ละรูปว่ารู้ถูกต้อง พูดถูกต้อง และควรนำไปท่องจำปฏิบัติ และอีกหลายคำที่ชัดเจนมากว่า สาวกแม้แต่เป็นฆราวาส อย่างเช่นจิตตคฤหบดี ก็ถึงธรรม นำคำนั้นไปใช้ได้ มีมากมาย ที่มีแค่คำเดียวที่ตรัสถึง พาหิรกสาวก ที่แปลว่า สาวกนอกศาสนา ที่ท่านไม่ให้ฟังคำสอนของคนพวกนั้น ก็เวรกรรมของแต่ละคน คงช่วยได้แค่นี้ อยากพ้นทุกข์ แต่ไม่ยอมศึกษาตำราที่ถูกต้องครบด้าน ก็พากันลงเหวอย่างน่าสงสาร
    คัมภีร์เนตติปกรณ์ คัมภีร์แนะแนว คือแนวทางนำไปสู่ความเข้าใจพระพุทธพจน์ จึงเป็นตำราอธิบายพระพุทธพจน์ แต่งในสมัยพุทธกาล โดยพระมหากัจจายนะ ผู้เลิศในการอธิบายความย่อให้พิศดาร และได้รับการสังคายนาร่วมกับพระไตรปิฎกในปฐมสังคายนาคัมภีร์นี้มี ลีลาประพันธ์คล้ายคลึงกับคัมภีร์ไวยากรณ์ คือ มีกฎเกณฑ์ในการอธิบายธรรมที่เรียกว่า สูตร และอุทาหรณ์ที่นำมาแสดงเป็นตัวอย่างของเรื่องนั้นๆ คัมภีร์นี้จึงมีลักษณะในการอธิบายอรรถที่ละเอียดลึกซึ้งในพระไตรปิฎก เปรียบดั่งเข็มทิศที่ชี้แนะทิศทางแก่คนเดินทาง ทำให้ชาวพุทธไม่ตีความพระพุทธพจน์ตามอัตโนมัติของตน เนตติปกรณ์นี้ แสดงหลักการอธิบายขยายความพระพุทธพจน์ไว้ ๓ ประการ คือ
    ๑. หาระ หลักการอธิบายศัพท์พยัญชนะ ให้เข้าใจอย่างละเอียดชัดเจน มี ๑๖ หาระ
    ๒. นัย หลักการในการเข้าถึงอรรถะ มี ๕ นัย
    ๓. สาสนปัฏฐาน หลักการจำแนกพระสูตรโดยพระเภทต่าง ๆ เพื่อให้ทราบพุทธประสงค์ (เกี่ยวกับคัมร์โดยย่อ อ่านที่นี่ https://www.facebook.com/457128924484... )
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 25 มกราคม 2021

แชร์หน้านี้

Loading...