พระเครื่องวัตถุมงคลทั้งเก่า-ใหม่หลากหลายรายการให้เลือกสรรไว้บูชาติดตัวครับ

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย เยาวราช, 13 พฤษภาคม 2010.

  1. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 561.JPG
      561.JPG
      ขนาดไฟล์:
      64.2 KB
      เปิดดู:
      41
    • 562.JPG
      562.JPG
      ขนาดไฟล์:
      57.9 KB
      เปิดดู:
      35
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      50
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  2. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    อุติ่ง(เครื่องรางมหาเสน่ห์แห่งล้านนา) 100 ปี รุ่นแรก ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ วัดพระธาตุจอมแวะ เนื้อทองทิพย์ ตอกโค้ดพร้อมหมายเลข สภาพสวยครับ

    เครื่องรางยอดนิยมแห่งแดนล้านนา ที่จะจารึกเป็นประวัติศาสตร์ต่อไป อุติ่ง รุ่นแรก (๑๐๐ ปี) หลวงปู่ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ "อุติ่ง" เป็นเครื่องรางของชาวล้านนาและไทยใหญ่ ถือเป็นเครื่องรางอาถรรพ์ตามโบราณสร้างจากเนื้อมวลสารต่างๆ และ เนื้อโลหะประเภทต่างๆ เครื่องรางมรดกตำนานแห่งแดนล้านนา-ไทใหญ่ ที่ชนชาวล้านนาและไทใหญ่หวงแหนมากที่สุด อิ่นนั่งบนหลังช้างก็ใช้ไปในทางเรื่องมหาเสน่ห์มหานิยม สำหรับคนนั่งคู่ซ้อนตามกันบนหลังช้างนี้ เป็นเครื่องรางเหมาะสำหรับการค้าขาย ใช้ในการติดต่อค้าขายสินค้า จึงมีให้พบเห็นกันน้อย มีรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญหนึ่งเดียวคือจะแกะเป็นรูปคนนั่งบนหลังช้างและ จำแนกออกเป็นรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันตามจุดประสงค์เจตนารมย์ของปู่ครูผู้สร้าง เช่น คนนั่งซ้อนท้ายกัน หมายถึง ไปหนึ่งได้กลับมาสอง ดีทางค้าขาย มหานิยม , หรือแกะเป็นคนหันหน้าเข้าขากัน(อิ่น) นั่งบนหลังช้างหมายถึง เรื่องของปิยะหรือมหาเสน่ห์ เป็นต้น อานุภาพและอิทธิคุณของ อุติ่ง ท่านรองเจ้าอาวาสวัดล้านตอง เชียงใหม่ ท่านได้เมตตาแปลจากตำราโบราณไว้ดังนี้ 1. มีไว้กับตัว จักเป็นที่รักใคร่เมตตาเอ็นดูแก่มนุษย์ทั้งหลาย และ เทพเทวดาจะคอยช่วยเหลือเรา 2. ผู้ใดมีไว้กับตัวจักทำการใดก็ไม่มีอุปสรรคในกิจการงานที่ทำอยู่แล 3. ผู้ใดมีไว้กับตัวแม้นเดินทางใกล้ไกลจักคุ้มครองปลอดภัยให้ไปดีมีลาภแล 4. แม้นทำการค้าขาย ให้แช่น้ำประพรมของขาย จักทำให้ขายคล่องขายดีแล 5. แม้นจักไปติดต่อพบประการงานธุรกิจผู้ใหญ่ เจ้านายให้เมตตาเอ็นดู ขอความช่วยเหลือต่างๆ ให้แช่น้ำส้มป่อย 7 ฝัก แล้วอาบน้ำนั้นก่อนไปแล้วพกติดตัวไปจักสมความปรารถนาแห่งเราแล 6. ผู้ใดมีไว้กับตัวกับบ้านเรือน หมั่นสวดบูชาด้วยคาถาจะเป็นโภคทรัพย์ ลาภะทรัพย์ ธะนะทรัพย์ เจริญงอกงามด้วยทรัพย์สมบัติ ไม่มีอดอยาก เสาะแสวงหาทรัพย์สินเงินทองได้โดยงาน ทำมาค้าขึ้น อยู่เย็นเป็นสุข ‎ที่สุดของชนวนมวลสารศักดิ์สิทธิ์‬ ที่สุดของการนำแผ่นจารย์ยันต์จากพระเกจิอาจารย์ดังทั่วประเทศ และ ประเทศเพื่อนบ้าน มาหลอมรวมทำชนวนมวลสาร เข้มขลังด้วยพิธีปลุกเสกหลายวาระ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 533.JPG
      533.JPG
      ขนาดไฟล์:
      71.1 KB
      เปิดดู:
      43
    • 534.JPG
      534.JPG
      ขนาดไฟล์:
      54.9 KB
      เปิดดู:
      42
    • 500.jpg
      500.jpg
      ขนาดไฟล์:
      177.6 KB
      เปิดดู:
      40
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  3. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)


     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 591.JPG
      591.JPG
      ขนาดไฟล์:
      63.3 KB
      เปิดดู:
      48
    • 592.JPG
      592.JPG
      ขนาดไฟล์:
      58.2 KB
      เปิดดู:
      48
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      42
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  4. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 583.JPG
      583.JPG
      ขนาดไฟล์:
      60.9 KB
      เปิดดู:
      45
    • 584.JPG
      584.JPG
      ขนาดไฟล์:
      54.2 KB
      เปิดดู:
      41
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      43
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  5. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    เหรียญพระบูชา 3 สมัย ปี 2512 เข้าพิธีใหญ่พระกริ่งมหาราช ปลุกเสกโดย 140กว่าพระคณาจารย์ ล้วนสุดยอดพระเกจิในยุคสมัยนั้น เหรียญนี้เป็นหนึ่งในวัตถุมงคลพิธีเดียวกับ พระกริ่งมหาราช ประกอบพิธีพุทธาภิเษกเมื่อวันที่ 3-4 ธันวาคม พ.ศ.2512 ณ พระอุโบสถ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม โดย สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก(ปุ่น ปุณณสิริมหาเถร) เมื่อครั้งยังทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ "สมเด็จพระวันรัต" ทรงจุดเทียนชัยและประทับนั่งปรกเป็นประธานในพิธี ร่วมกับพระเกจิอาจารย์ 107 รูป ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสุดยอดเกจิอาจารย์แห่งยุคเช่น

    1.พระครูพิศิษฐอรรถการ (พ่อท่านคล้าย) วัดสวนขัน จ.นครศรีธรรมราช
    2.หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา จ.นครปฐม
    3.พระอาจารย์ฝั้น วัดป่าอุดมสมพร จ.สกลนคร
    4.พระญาณวิลาส (แดง) วัดเขาบันไดอิฐ จ.เพชรบุรี
    5.พระอาจารย์นำ แก้วจันทร์ วัดดอนศาลา จ.พัทลุง
    6.หลวงพ่อแต้ม วัดพระลอย จ.สุพรรณบุรี
    7.พระครูครุกิจจานุการ (เกลื้อม) วัดไชยธาราราม (วัดฉลอง) จ.ภูเก็ต
    8.หลวงพ่อเกษม เขมโก สุสานไตรลักษณ์ จ.ลำปาง
    9.หลวงพ่อกก วัดดอนขมิ้น จ.กาญจนบุรี
    10.หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี
    11.หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม จ.นครปฐม
    12.พระราชธรรมาภรณ์ (เงิน) วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
    13.พระเทพสาครบุรี (แก้ว) วัดช่องลม สมุทรสาคร
    14.พระครูสังวรสุตาภิวัฒน์ (สาย) วัดหนองสองห้อง สมุทรสาคร
    15.พระครูสุตาธิการี (ทองอยู่) วัดใหม่หนองพะอง สมุทรสาคร
    16.พระ อาจารย์ผล วัดบางน้ำจืด สมุทรสาคร
    17.พระครูประภัศรวุฒิกร (สงัด) วัดกลางวรวิหาร สมุทรปราการ
    18.พระครูภาวนานุโยค (หอม) วัดชานหมาก ระยอง
    19.หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี
    20.หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว สุพรรณบุรี
    21.พระครูโกวิทสมุทรคุณ (เนื่อง) วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    22.หลวงพ่อเพ็ชร ธัมมโชโต วัดสุขวัฒนาราม
    23.พระอาจารย์ริม รัตนมณี วัดอุทุมพร สุรินทร์
    24.หลวงพ่อเปลี่ยน วัดบึง นครราชสีมา
    25.พระศีลวิสุทโธ (พระอาจารย์โล) วัดหัวสะพาน นครราชสีมา
    26.พระ อาจารย์เทียม วัดหนองจิก พระนครศรีอยุธยา
    27.พระครูปลัดพรหม (พรหม) วัดขนอนเหนือ พระนครศรีอยุธยา
    28.พระครูประสาธน์ขันธคุณ (มุม) วัดปราสาทเยอร์ ศรีสะเกษ
    29.พระราชสุธี วัดเชียงราย ลำปาง
    30.พระอินทวิชยานนท์ วัดคตึกเชียงมั่น ลำปาง
    31.พระครูมงคลคุณาธร วัดหม้อคำตวง เชียงใหม่
    32.พระอธิการเสนอ วัดเกตุ เชียงใหม่
    33.พระอธิการสิงห์คำ วัดล่ามช้าง เชียงใหม่
    34.พระครูพิพิธพัชรศาสน์ (จวน) วัดเขาลูกช้าง เพชรบุรี
    35.พระครูปัญญาโชติวัฒน์ (เจริญ) วัดทองนพคุณ เพชรบุรี
    36.พระอาจารย์ผ่อง จินดา วัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพฯ
    37.พระปลัดลำไย ปิยวัณโณ วัดลาดหญ้า กาญจนบุรี
    38.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
    39.หลวงพ่อทบ วัดชนแดน
    40.หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม
    41.หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว
    42.หลวงพ่อเอีย วัดบ้านด่าน
    43.หลวงพ่อโด่ วัดนามะตูม

    หลังเสร็จพิธีพุทธาภิเษก ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามแล้ว คณะกรรมการจัดสร้างได้อัญเชิญวัตถุมงคลทั้งหมด ไปถวายท่านเจ้าคุณนรรัตนราชมานิต วัดเทพศิรินทราวาส อธิษฐานจิตปลุกเสกเดี่ยวเป็นกรณีพิเศษที่พระอุโบสถวัดเทพศิรินทร์

    เหรียญนี้เหรียญพระบูชาสามสมัย
    - ด้านหน้า พระบูชา 3 สมัย อู่ทอง ,เชียงแสน ,สุโขทัย (อู่-แสน-สุข) เสริมสิริมงคล
    - ด้านหลังขวัญถุงเงินล้านมั่งมีศรีสุข เน้นด้านโชคลาภการเงิน

    ครบถ้วนพุทธคุณ มีโค้ดตอก พระเก็บอยู่ในซองเดิม ๆ กะหลั่ยทองเดิม สภาพสวย หากใครเน้นด้านพุทธคุณสูง ราคาไม่แพงต้ององค์นี้เลย พระดี พุทธคุณสูง เกจิแต่ละท่าน วัตถุมงคลของท่านล้วนแต่ราคาแพง ๆ ทั้งสิ้น ส่วนเหรียญนี้ ราคาเบาๆครับ สอบถามได้ครับ

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 17.JPG
      17.JPG
      ขนาดไฟล์:
      42.4 KB
      เปิดดู:
      61
    • 18.JPG
      18.JPG
      ขนาดไฟล์:
      42.6 KB
      เปิดดู:
      54
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  6. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    เหรียญหล่อเจ้าสัวดวงดี มงคลทั้งชื่อเหรียญและนามผู้ปลุกเสก อธิฐานจิตโดยพระสงฆ์ผู้ที่มีอายุพรรษามากสุดทางเหนือ นาม หลวงปู่ครูบาดวงดี ยติโก วัดบ้านฟ่อน จ.เชียงใหม่ สวยไม่แพง สอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 91.JPG
      91.JPG
      ขนาดไฟล์:
      76 KB
      เปิดดู:
      46
    • 92.JPG
      92.JPG
      ขนาดไฟล์:
      64 KB
      เปิดดู:
      44
    • 0dd001.jpg
      0dd001.jpg
      ขนาดไฟล์:
      335.1 KB
      เปิดดู:
      87
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  7. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    อุติ่ง(เครื่องรางมหาเสน่ห์แห่งล้านนา) 100 ปี รุ่นแรก ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ วัดพระธาตุจอมแวะ เนื้อทองทิพย์ ตอกโค้ดพร้อมหมายเลข สภาพสวยครับ

    เครื่องรางยอดนิยมแห่งแดนล้านนา ที่จะจารึกเป็นประวัติศาสตร์ต่อไป อุติ่ง รุ่นแรก (๑๐๐ ปี) หลวงปู่ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ "อุติ่ง" เป็นเครื่องรางของชาวล้านนาและไทยใหญ่ ถือเป็นเครื่องรางอาถรรพ์ตามโบราณสร้างจากเนื้อมวลสารต่างๆ และ เนื้อโลหะประเภทต่างๆ เครื่องรางมรดกตำนานแห่งแดนล้านนา-ไทใหญ่ ที่ชนชาวล้านนาและไทใหญ่หวงแหนมากที่สุด อิ่นนั่งบนหลังช้างก็ใช้ไปในทางเรื่องมหาเสน่ห์มหานิยม สำหรับคนนั่งคู่ซ้อนตามกันบนหลังช้างนี้ เป็นเครื่องรางเหมาะสำหรับการค้าขาย ใช้ในการติดต่อค้าขายสินค้า จึงมีให้พบเห็นกันน้อย มีรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญหนึ่งเดียวคือจะแกะเป็นรูปคนนั่งบนหลังช้างและ จำแนกออกเป็นรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันตามจุดประสงค์เจตนารมย์ของปู่ครูผู้สร้าง เช่น คนนั่งซ้อนท้ายกัน หมายถึง ไปหนึ่งได้กลับมาสอง ดีทางค้าขาย มหานิยม , หรือแกะเป็นคนหันหน้าเข้าขากัน(อิ่น) นั่งบนหลังช้างหมายถึง เรื่องของปิยะหรือมหาเสน่ห์ เป็นต้น อานุภาพและอิทธิคุณของ อุติ่ง ท่านรองเจ้าอาวาสวัดล้านตอง เชียงใหม่ ท่านได้เมตตาแปลจากตำราโบราณไว้ดังนี้ 1. มีไว้กับตัว จักเป็นที่รักใคร่เมตตาเอ็นดูแก่มนุษย์ทั้งหลาย และ เทพเทวดาจะคอยช่วยเหลือเรา 2. ผู้ใดมีไว้กับตัวจักทำการใดก็ไม่มีอุปสรรคในกิจการงานที่ทำอยู่แล 3. ผู้ใดมีไว้กับตัวแม้นเดินทางใกล้ไกลจักคุ้มครองปลอดภัยให้ไปดีมีลาภแล 4. แม้นทำการค้าขาย ให้แช่น้ำประพรมของขาย จักทำให้ขายคล่องขายดีแล 5. แม้นจักไปติดต่อพบประการงานธุรกิจผู้ใหญ่ เจ้านายให้เมตตาเอ็นดู ขอความช่วยเหลือต่างๆ ให้แช่น้ำส้มป่อย 7 ฝัก แล้วอาบน้ำนั้นก่อนไปแล้วพกติดตัวไปจักสมความปรารถนาแห่งเราแล 6. ผู้ใดมีไว้กับตัวกับบ้านเรือน หมั่นสวดบูชาด้วยคาถาจะเป็นโภคทรัพย์ ลาภะทรัพย์ ธะนะทรัพย์ เจริญงอกงามด้วยทรัพย์สมบัติ ไม่มีอดอยาก เสาะแสวงหาทรัพย์สินเงินทองได้โดยงาน ทำมาค้าขึ้น อยู่เย็นเป็นสุข ‎ที่สุดของชนวนมวลสารศักดิ์สิทธิ์‬ ที่สุดของการนำแผ่นจารย์ยันต์จากพระเกจิอาจารย์ดังทั่วประเทศ และ ประเทศเพื่อนบ้าน มาหลอมรวมทำชนวนมวลสาร เข้มขลังด้วยพิธีปลุกเสกหลายวาระ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0001.JPG
      IMG_0001.JPG
      ขนาดไฟล์:
      97.4 KB
      เปิดดู:
      34
    • IMG_0005.JPG
      IMG_0005.JPG
      ขนาดไฟล์:
      103.8 KB
      เปิดดู:
      36
    • 500.jpg
      500.jpg
      ขนาดไฟล์:
      177.6 KB
      เปิดดู:
      36
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  8. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา พิมพ์ใหญ่ ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 596.JPG
      596.JPG
      ขนาดไฟล์:
      45.9 KB
      เปิดดู:
      39
    • 597.JPG
      597.JPG
      ขนาดไฟล์:
      48.8 KB
      เปิดดู:
      39
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      41
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  9. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา พิมพ์ใหญ่ ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 615.JPG
      615.JPG
      ขนาดไฟล์:
      32.8 KB
      เปิดดู:
      42
    • 616.JPG
      616.JPG
      ขนาดไฟล์:
      38.9 KB
      เปิดดู:
      37
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      43
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  10. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    อุติ่ง(เครื่องรางมหาเสน่ห์แห่งล้านนา) 100 ปี รุ่นแรก ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ วัดพระธาตุจอมแวะ เนื้อทองทิพย์ ตอกโค้ดพร้อมหมายเลข สภาพสวยครับ

    เครื่องรางยอดนิยมแห่งแดนล้านนา ที่จะจารึกเป็นประวัติศาสตร์ต่อไป อุติ่ง รุ่นแรก (๑๐๐ ปี) หลวงปู่ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ "อุติ่ง" เป็นเครื่องรางของชาวล้านนาและไทยใหญ่ ถือเป็นเครื่องรางอาถรรพ์ตามโบราณสร้างจากเนื้อมวลสารต่างๆ และ เนื้อโลหะประเภทต่างๆ เครื่องรางมรดกตำนานแห่งแดนล้านนา-ไทใหญ่ ที่ชนชาวล้านนาและไทใหญ่หวงแหนมากที่สุด อิ่นนั่งบนหลังช้างก็ใช้ไปในทางเรื่องมหาเสน่ห์มหานิยม สำหรับคนนั่งคู่ซ้อนตามกันบนหลังช้างนี้ เป็นเครื่องรางเหมาะสำหรับการค้าขาย ใช้ในการติดต่อค้าขายสินค้า จึงมีให้พบเห็นกันน้อย มีรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญหนึ่งเดียวคือจะแกะเป็นรูปคนนั่งบนหลังช้างและ จำแนกออกเป็นรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันตามจุดประสงค์เจตนารมย์ของปู่ครูผู้สร้าง เช่น คนนั่งซ้อนท้ายกัน หมายถึง ไปหนึ่งได้กลับมาสอง ดีทางค้าขาย มหานิยม , หรือแกะเป็นคนหันหน้าเข้าขากัน(อิ่น) นั่งบนหลังช้างหมายถึง เรื่องของปิยะหรือมหาเสน่ห์ เป็นต้น อานุภาพและอิทธิคุณของ อุติ่ง ท่านรองเจ้าอาวาสวัดล้านตอง เชียงใหม่ ท่านได้เมตตาแปลจากตำราโบราณไว้ดังนี้ 1. มีไว้กับตัว จักเป็นที่รักใคร่เมตตาเอ็นดูแก่มนุษย์ทั้งหลาย และ เทพเทวดาจะคอยช่วยเหลือเรา 2. ผู้ใดมีไว้กับตัวจักทำการใดก็ไม่มีอุปสรรคในกิจการงานที่ทำอยู่แล 3. ผู้ใดมีไว้กับตัวแม้นเดินทางใกล้ไกลจักคุ้มครองปลอดภัยให้ไปดีมีลาภแล 4. แม้นทำการค้าขาย ให้แช่น้ำประพรมของขาย จักทำให้ขายคล่องขายดีแล 5. แม้นจักไปติดต่อพบประการงานธุรกิจผู้ใหญ่ เจ้านายให้เมตตาเอ็นดู ขอความช่วยเหลือต่างๆ ให้แช่น้ำส้มป่อย 7 ฝัก แล้วอาบน้ำนั้นก่อนไปแล้วพกติดตัวไปจักสมความปรารถนาแห่งเราแล 6. ผู้ใดมีไว้กับตัวกับบ้านเรือน หมั่นสวดบูชาด้วยคาถาจะเป็นโภคทรัพย์ ลาภะทรัพย์ ธะนะทรัพย์ เจริญงอกงามด้วยทรัพย์สมบัติ ไม่มีอดอยาก เสาะแสวงหาทรัพย์สินเงินทองได้โดยงาน ทำมาค้าขึ้น อยู่เย็นเป็นสุข ‎ที่สุดของชนวนมวลสารศักดิ์สิทธิ์‬ ที่สุดของการนำแผ่นจารย์ยันต์จากพระเกจิอาจารย์ดังทั่วประเทศ และ ประเทศเพื่อนบ้าน มาหลอมรวมทำชนวนมวลสาร เข้มขลังด้วยพิธีปลุกเสกหลายวาระ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 611.JPG
      611.JPG
      ขนาดไฟล์:
      96.5 KB
      เปิดดู:
      40
    • 612.JPG
      612.JPG
      ขนาดไฟล์:
      96.6 KB
      เปิดดู:
      34
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      43
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  11. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    เหรียญในหลวงร. 9 ครบ 3 รอบ ปี 2506 มีตุ้งติ้ง ตอกโค๊ด"สว" และ "ROYAL MINT เหรียญนี้เป็นเหรียญที่ระลึก ในหลวงมีพระชนมายุครบ 3 รอบเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2506 เป็นเหรียญที่ได้ผ่านพิธีการปลุกเสกอย่างยิ่งใหญ่ ณ อุโบสถวัดราชบพิธ โดยมีพระเกจิชือดังยุคเก่าอธิฐานจิตเสกมากมายเช่น พระอ.ทิม วัดช้างไห้,ลพ.เงิน วัดดอนยายหอม,ลพ.เต๋ วัดสามง่าม,ลพ.คล้าย วัดสวนขัน,ลพ.จง วัดหน้าจ่างนอก ลพ.เมือง วัดท่าแหน,ลพ.ทบ,ครูบาวัง เป็นต้นนอกจากนี้ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี(สมเด็จย่า) ยังได้นำเหรียญมหาราชนี้ส่วนหนึ่งพระราชทานแก่ ตำรวจตระเวนชายแดนและคณะแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ใน พอ.สว โดยด้านหลังเหรียญจะตอกอักษรพระปรมาภิไธยย่อว่า "สว"ไว้ด้วย ส่วนใหญ่จะอยู่ทางขวามือด้านหลัง เหรียญที่สมเด็จย่า นำไปพระราชทานนี้ ได้ผ่านการอธิษฐานจิตจากพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร วัดอุดมสมพร อีกครั้งหนึ่ง สุดยอดพิธีพระคณาจารย์ยุคเก่าเสกเพียบเป็นอีกเหรียญที่น่าสนใจครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0117.JPG
      IMG_0117.JPG
      ขนาดไฟล์:
      78.6 KB
      เปิดดู:
      73
    • IMG_0115.JPG
      IMG_0115.JPG
      ขนาดไฟล์:
      79.3 KB
      เปิดดู:
      45
    • IMG_0112.JPG
      IMG_0112.JPG
      ขนาดไฟล์:
      78.3 KB
      เปิดดู:
      45
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  12. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์แขนกว้าง ปี 2506 พระดียุคเก่า รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ องค์นี้เนื้อขาวมันส์สวย รับประแท้ตลอดชีพครับ สนใจสอบถามได้ครับ

    ระสมเด็จ วัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์แขนกว้าง จัดสร้างปี พ.ศ. 2506 พระวัดประสาทเป็นพระที่มีมวลสารในการสร้างและพิธีพุทธาภิเษกที่ยอดเยี่ยมมากๆ เนื้อจัดแก่มวลสาร มีมวลสารของพระสมเด็จบางขุนพรหมเป็นส่วนผสม จัดสร้างโดยพระสมุห์อำพล เจ้าอาวาสวัดใหม่อมตรส และอาจารย์ทิม วัดช้างไห้ ปลุกเสกโดยพระคณาจารย์ร้อยกว่าองค์ ส่วนผสมสำคัญของพระได้แก่ ผงพระสมเด็จบางขุนพรหมที่แตกหักชำรุด ผงพระหลวงปู่ทวดที่แตกหักและมีผงวิเศษ ว่าน แร่ ของคณาจารย์ต่างๆ ปูนขาว กล้วย แร่ทรายทอง น้ำพระพุทธมนต์ สนิมของพระพุทธรูปโบราณ และเศษผงตะไบพระกริ่ง พระเกจิอาจารย์ชื่อดังที่มาร่วมพิธีปลุกเสกอาทิ เช่น พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้ ,หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา ,หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี ,หลวงปู่นาค วัดระฆัง ,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม , หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม , หลวงปู่ดู่ วัดสะแก ,หลวงพ่อพรหม วัดช่องแค ,หลวงพ่อทบ วัดชนแดน ,หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ,หลวงพ่อสุด วัดกาหลง ,หลวงพ่อคง วัดวังสรรพรส ,หลวงปู่ทิม วัดระหารไร่ , หลวงปู่เขียว วัดหรงบน , อาจารย์นำ วัดดอนศาลา ,หลวงพ่อแทน วัดธรรมเสน , หลวงพ่อสอน วัดเสิงสาง ,หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาณมิตร และคณาจารย์ชื่อดังอีกมาก
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 623.JPG
      623.JPG
      ขนาดไฟล์:
      72.3 KB
      เปิดดู:
      56
    • 624.JPG
      624.JPG
      ขนาดไฟล์:
      64.2 KB
      เปิดดู:
      42
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  13. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระวัดประสาทบุญญาวาส พิมพ์พระสิวลี เนื้อดำ นิยม หายาก ปี 2506 เนื้อดำส่องมันส์ มวลสารที่มากดพระชุดวัดประสาทนั้นไม่ต้องพูดถึงสุดยอด รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวยครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0010.JPG
      IMG_0010.JPG
      ขนาดไฟล์:
      62.8 KB
      เปิดดู:
      106
    • IMG_0011.JPG
      IMG_0011.JPG
      ขนาดไฟล์:
      70.3 KB
      เปิดดู:
      78
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  14. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จ พิมพ์ปรกโพธิ์ (เนื้อดำ) วัดประสาทบุญญาวาส ปี 2506 พระดียุคเก่า รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวย สอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0005.JPG
      IMG_0005.JPG
      ขนาดไฟล์:
      96.4 KB
      เปิดดู:
      83
    • IMG_0008.JPG
      IMG_0008.JPG
      ขนาดไฟล์:
      118 KB
      เปิดดู:
      79
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  15. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    อุติ่ง(เครื่องรางมหาเสน่ห์แห่งล้านนา) 100 ปี รุ่นแรก ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ วัดพระธาตุจอมแวะ เนื้อทองทิพย์ ตอกโค้ดพร้อมหมายเลข สภาพสวยครับ

    เครื่องรางยอดนิยมแห่งแดนล้านนา ที่จะจารึกเป็นประวัติศาสตร์ต่อไป อุติ่ง รุ่นแรก (๑๐๐ ปี) หลวงปู่ครูบาออ ปัณฑิต๊ะ "อุติ่ง" เป็นเครื่องรางของชาวล้านนาและไทยใหญ่ ถือเป็นเครื่องรางอาถรรพ์ตามโบราณสร้างจากเนื้อมวลสารต่างๆ และ เนื้อโลหะประเภทต่างๆ เครื่องรางมรดกตำนานแห่งแดนล้านนา-ไทใหญ่ ที่ชนชาวล้านนาและไทใหญ่หวงแหนมากที่สุด อิ่นนั่งบนหลังช้างก็ใช้ไปในทางเรื่องมหาเสน่ห์มหานิยม สำหรับคนนั่งคู่ซ้อนตามกันบนหลังช้างนี้ เป็นเครื่องรางเหมาะสำหรับการค้าขาย ใช้ในการติดต่อค้าขายสินค้า จึงมีให้พบเห็นกันน้อย มีรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญหนึ่งเดียวคือจะแกะเป็นรูปคนนั่งบนหลังช้างและ จำแนกออกเป็นรูปลักษณ์ที่แตกต่างกันตามจุดประสงค์เจตนารมย์ของปู่ครูผู้สร้าง เช่น คนนั่งซ้อนท้ายกัน หมายถึง ไปหนึ่งได้กลับมาสอง ดีทางค้าขาย มหานิยม , หรือแกะเป็นคนหันหน้าเข้าขากัน(อิ่น) นั่งบนหลังช้างหมายถึง เรื่องของปิยะหรือมหาเสน่ห์ เป็นต้น อานุภาพและอิทธิคุณของ อุติ่ง ท่านรองเจ้าอาวาสวัดล้านตอง เชียงใหม่ ท่านได้เมตตาแปลจากตำราโบราณไว้ดังนี้ 1. มีไว้กับตัว จักเป็นที่รักใคร่เมตตาเอ็นดูแก่มนุษย์ทั้งหลาย และ เทพเทวดาจะคอยช่วยเหลือเรา 2. ผู้ใดมีไว้กับตัวจักทำการใดก็ไม่มีอุปสรรคในกิจการงานที่ทำอยู่แล 3. ผู้ใดมีไว้กับตัวแม้นเดินทางใกล้ไกลจักคุ้มครองปลอดภัยให้ไปดีมีลาภแล 4. แม้นทำการค้าขาย ให้แช่น้ำประพรมของขาย จักทำให้ขายคล่องขายดีแล 5. แม้นจักไปติดต่อพบประการงานธุรกิจผู้ใหญ่ เจ้านายให้เมตตาเอ็นดู ขอความช่วยเหลือต่างๆ ให้แช่น้ำส้มป่อย 7 ฝัก แล้วอาบน้ำนั้นก่อนไปแล้วพกติดตัวไปจักสมความปรารถนาแห่งเราแล 6. ผู้ใดมีไว้กับตัวกับบ้านเรือน หมั่นสวดบูชาด้วยคาถาจะเป็นโภคทรัพย์ ลาภะทรัพย์ ธะนะทรัพย์ เจริญงอกงามด้วยทรัพย์สมบัติ ไม่มีอดอยาก เสาะแสวงหาทรัพย์สินเงินทองได้โดยงาน ทำมาค้าขึ้น อยู่เย็นเป็นสุข ‎ที่สุดของชนวนมวลสารศักดิ์สิทธิ์‬ ที่สุดของการนำแผ่นจารย์ยันต์จากพระเกจิอาจารย์ดังทั่วประเทศ และ ประเทศเพื่อนบ้าน มาหลอมรวมทำชนวนมวลสาร เข้มขลังด้วยพิธีปลุกเสกหลายวาระ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • m1.JPG
      m1.JPG
      ขนาดไฟล์:
      41 KB
      เปิดดู:
      58
    • m2.JPG
      m2.JPG
      ขนาดไฟล์:
      40.7 KB
      เปิดดู:
      46
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      58
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  16. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จ พิมพ์ปรกโพธิ์ (เนื้อดำ) วัดประสาทบุญญาวาส ปี 2506 พระดียุคเก่า รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวย สอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)

     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 630.JPG
      630.JPG
      ขนาดไฟล์:
      78 KB
      เปิดดู:
      50
    • 631.JPG
      631.JPG
      ขนาดไฟล์:
      79.4 KB
      เปิดดู:
      51
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  17. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จ พิมพ์ปรกโพธิ์ (เนื้อขาว) วัดประสาทบุญญาวาส ปี 2506 พระดียุคเก่า รวมพระเกจิชั้นยอดเสกเพียบ สภาพสวย สอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 632.JPG
      632.JPG
      ขนาดไฟล์:
      49.1 KB
      เปิดดู:
      64
    • 632 (2).JPG
      632 (2).JPG
      ขนาดไฟล์:
      53.7 KB
      เปิดดู:
      62
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  18. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระสมเด็จอุณาโลมทรงจิตรลดา พิมพ์ใหญ่ ปี 2519 คือพระที่ในหลวงมีพระราชปรารถให้นำกระเบื้องวัดบวรนิเวศวิหารมาสร้างพระนี่คือปฐมเหตุ และเสด็จพระราชดำเนินประกอบพิธีและทรงพระสุหร่ายด้วยพระองค์เอง มีเอาไว้เป็นมงคลชีวิต พุทธคุณจากพระที่มาปลุกเสกล้วนสุดยอดทุกองค์ สภาพสวยครับ

    พระสมเด็จอุณาโลม ได้ถอดแบบมาจาก พระสมเด็จจิตรลดา

    ด้านหน้าเป็นพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิอยู่บนอาสนะบัวสองชั้นในทรงกรอบสามเหลี่ยมหน้าจั่วคล้ายพระสมเด็จจิตรลดาแต่เพิ่มรายละเอียดในองค์พระปฏิมากรให้ชัดเจนขึ้นและเพิ่มยันต์อุณาโลม

    ด้านหลังองค์พระ พร้อมกับมีอักขระจารึกว่า เอตังสะติง พะมะนะอะกะสะนะทะอะ สะ อะ เป็น 3 บรรทัด อักษรจมลงไปในเนื้อพระ ด้านหลัง
    ขนาดพระมีสองพิมพ์ คือ พิมพ์ใหญ่ สูง 3 ซม. กว้าง 2 ซม. หนา 0.5 ซม. ส่วนพิมพ์เล็กสูง 2.5 ซม. กว้าง 1.7 ซม. หนา 0.4 ซม. พระเครื่องพิมพ์นี้เป็นพระเครื่องเนื้อผงพุทธคุณ สีแบบอิฐเผา

    พิธีพุทธภิเษก - หลวงปู่โต๊ะ ปลุกเสกให้ถึง 7 วัน

    เมื่อสร้างเสร็จเป็นองค์พระแล้ว ได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษกขึ้นอีก 7 วัน ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหารฯ เมื่อวันที่ 5-11 ก.ค. 2519
    รายนามพระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสกและเจริญพุทธมนต์พระสมเด็จพระอุณาโลมทรงจิตลดา - นางพญา สก. 2519

    1. วันจันทร์ 5 ก.ค. 2519 เวลา 17.00 น.
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ(หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงปู่สิม พุทธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง เชียงใหม่
    4. หลวงพ่อเมตตาหลวง วัดเทพพิทักษ์ฯ นครราชสีมา
    5. พระเทพวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์) วัดศรีสุทธาวาส จ.เลย
    6. พระสุทธิสารโสภณ วัดศรีโพแท่น จ.เลย
    7. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี

    พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ เจริญพุทธมนต์ ๑๐รูป
    1. สมเด็จพระวันรัต วัดสังเวชวิศยาราม
    2. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา
    3. สมเด็จพระพุทธิวงศมุนี วัดเบญจมบพิธ
    4. พระพรหมคุณากรณ์ วัดสระเกศ
    5. พระธรรมวราลังการ วัดบุปผาราม
    6. พระธรรมวิสุทธาจารย์ วัดพิชัยญาติการาม
    7. พระธรรมธีรราชมหามุนี วัดปากน้ำ
    8. พระราชสารมุนี วัดเขมาภิรตาราม
    9. พระปริยัติเมธี วัดมกุฎกษัตริย์
    10. พระอุดมศีลคุณ วัดบุรณศิริมาตยาราม

    2. วันอังคาร 6 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ วัดป่านิโครธาราม จ.อุดรธานี
    3. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่อมา วัดวิเวกอาศรม ร้อยเอ็ด
    6. พระโพธิสังวรเถร (หลวงพ่อฑูรย์) วัดโพธินิมิต ธนบุรี
    7. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง

    3. วันพุธ 7 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พระอาจารย์วัน อุตตโม วัดอภัยดำรงธรรม สกลนคร
    3. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    4. หลวงพ่ออ่อนสี วัดพระงาม หนองคาย
    5. หลวงพ่ออ่อน วัดประชานิยม กาฬสินธุ์
    6. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    7. หลวงพ่อชา วัดศรีแก่งคร้อ ชัยภูมิ
    8. หลวงพ่อชม วัดป่าบ้านบัวค่อม อุดรธานี
    9. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    10. หลวงพ่อมา วัดวิเวกฯ ร้อยเอ็ด

    4. วันพฤหัสบดี 8 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงปู่สี มหาวีโร วัดประชาคมฯ ร้อยเอ็ด
    4. หลวงพ่อบุญมา วัดอุดมคงคาคีรีเขต
    5. พระอาจารย์สาม วัดป่าไตรวิเวก สุรินทร์
    6. หลวงพ่อจ้อย วัดสุวรรณประดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี
    7. หลวงพ่อบุญรักษ์ วัดคงคาวดี สิชล นครศรีธรรมราช
    8. หลวงพ่อเหรียญ วัดป่าอรัญญบรรพต หนองคาย
    9. พระอาจารย์บัวพา วัดป่าพระสถิต หนองคาย

    5. วันศุกร์ 9 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    2. พ่อหลวงเปลื้อง ปญญานโต วัดบางแก้วผดุงธรรม จ.พัทลุง
    3. หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาละวัน นครราชสีมา
    4. หลวงพ่อโชติ วัดภูเขาแก้ว อุบลฯ
    5. หลวงพ่อพั่ว วัดบ้านนาเจริญ อุบลฯ
    6. พระอาจารย์สมชาย วัดเขาสุกิม จันทบุรี
    7. หลวงพ่อจันทร์(อายุ ๑๐๒ปี) วัดนามะตูม ชลบุรี

    6. วันเสาร์ 10 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อเนื่อง วัดจุฬามณี สมุทรสงคราม
    4. หลวงพ่อถิร วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
    5. หลวงพ่อเก็บ วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
    6. หลวงพ่อสนิท วัดศีลขันธาราม อ่างทอง
    7. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา

    7. วันอาทิตย์ 11 ก.ค. 2519
    พระเกจิคณาจารย์ที่นั่งปรกปลุกเสก
    ตอนกลางวัน (เวลา 13.00 - 1600 น.) หลวงปู่ธูป วัดสุทรธรรมทาน(วัดแค) กทม. นั่งปรกบริกรรมภาวนาเดี่ยว 4 ชั่วโมงเต็ม
    ตอนค่ำ 1. สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรฯ
    2. พระสังวรวิมลเถระ (หลวงปู่โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี
    3. หลวงพ่อซ้วน วัดลาดใต้ อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
    4. พระอาจารย์ผ่อง วัดสามปลื้ม กทม.
    5. หลวงพ่อเส่ง วัดกัลยาฯ ธนบุรี
    6. หลวงพ่อสา วัดราชนัดดา กทม.
    7. พระครูสงัด วัดพระเชตุพนฯ กทม.

    ในวันที่ 12 ก.ค. 2519 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเจิมและสุหร่าย สมเด็จนางพญา ส.ก.และพระสมเด็จอุณาโลม ในเวลา 16.00 น. ณ พระอุโบสถคณะรังษี วัดบวรฯ
    รายนามพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์เจริญชัยมงคลคาถา ๑๐ รูป
    1. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผติการาม
    2. พระสาสนโสภณ วัดเทพศิรินทราวาส
    3. พระพุทธพจน์วราภรณ์ วัดราชบพิธ
    4. พระญาณวโรดม วัดบวรราชนิเวศ
    5. พระธรรมปาโมกข์ วัดราชประดิษฐ์
    6. พระธรรมเสนานี วัดพระเชตุพนฯ
    7. พระธรรมวราภรณ์ วัดนรนาทสุนทริการาม
    8. พระเทพวราภรณ์ วัดบุรณศิริมาตยาราม
    9. พระเทพปัญญากวี วัดราชาธิวาส
    10 พระเทพกวี วัดบวรฯ

    พระสมเด็จทรงจิตรลดา และ พระนางพญา ส.ก. นั้น เป็นพระที่มีเนื้อหามวลสารดีเยี่ยมที่สุดเท่าที่คณะบุคคลจะพึงทำได้ โดยมีมวลสารหลักคือกระเบื้องพระอุโบสถของทั้งสองหลังและยังแสวงหาผงพุทธคุณต่าง ๆ จากพระเถราจารย์ทั่วประเทศ ซึ่งมีทั้งพระสายกรรมฐานและพระสายวิชา ว่าน-ยา ที่รวมแล้วมีกว่าพันชนิดมิใช่ 108 ดังที่นิยมทั่วไป แร่ธาตุศักดิ์สิทธิ์ทั่วประเทศจากสถานที่ต่าง ๆ ทุกมุมเมืองเกือบสองร้อยรายการ เส้นเกศาของพระสุปฏิปันโนซึ่งเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของพุทธศาสนิกชน องค์หลักก็คือ เส้นพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ย้อนยุคขึ้นไปหลายพระองค์ เส้นเกศาของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่ฝั้น อาจาโร หลวงปู่ชอบ ฐานสโม สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน) หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ท่านพระอาจารย์จวน กุลเชฎโฐ เป็นต้น

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_0017.JPG
      IMG_0017.JPG
      ขนาดไฟล์:
      48.2 KB
      เปิดดู:
      70
    • IMG_0019.JPG
      IMG_0019.JPG
      ขนาดไฟล์:
      51.3 KB
      เปิดดู:
      81
    • 499.jpg
      499.jpg
      ขนาดไฟล์:
      76.9 KB
      เปิดดู:
      62
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  19. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระผงรูปเหมือนสมเด็จโต ออกวัดพลา ปี 2512 (หลวงปู่ทิมปลุกเสก)ผสมผงเก่าจากกรุบางขุนพรหม พระผงรุ่นนี้สร้างขึ้นเนื่องในโอกาสงานผูกพัทธสีมา วัดพลา อ.บ้านฉาง จ.ระยอง ในปี พ.ศ.2512 โดยใช้ผงจากกรุวัดบางขุนพรหมเป็นมวลสารหลัก ทางวัดพลาได้นิมนต์พระเกจิดังๆของระยองและจังหวัดใกล้เคียงร่วมพิธีปลุกเสกหลายรูปดังนี้

    1. ลป.ทิม วัดละหารไร่ ระยอง
    2. ลพ.อุตมะ วัดวังวิเวการาม กาญจนบุรี
    3. ลพ.หอม วัดซากหมาก ระยอง
    4. ลพ.ชื่น วัดมาบข่า ระยอง
    5. ลพ.สมพงษ์ วัดซากลูกหญ้า ระยอง
    6. ลพ.คง วัดวังสรรพรส จันทบุรี
    7. ลพ.ทองอยู่ วัดบางเสร่ ชลบุรี

    พระเกจิคณาจารย์ที่เสกแต่ละรูปนั้น สุดยอดทั้งนั้น ไม่แพงเหมาะกับสภาวะปัจจุบัน พระดีราคาย่อมเยาว์ถูกกว่าพระที่ออกใหม่ๆยุคนี้อีกครับ สนใจสอบถามได้ครับ รับประกันความแท้100%ครับ

    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018
  20. เยาวราช

    เยาวราช เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,314
    ค่าพลัง:
    +2,490
    พระผงรุ่นแรก หลวงพ่อเกษร วัดท่าพระ พระชุดนี้ผู้สร้างคือ ขรัวคลุมโปง ผู้สร้างพระปิดตาอันโด่งดังด้านคงกระพัน...พระผง ลพ.เกษร รุ่นแรกมีชื่อเสียงโดดเด่นด้านเมตตามหานิยมและโชคลาภมานานแล้ว สร้างรุ่นแรกราวๆปี2497 โดยทางวัดจัดงานพุทธาภิเษกใหญ่ในโบสถ์ โดยมีพระเกจิร่วมปลุกเสกดังนี้ เจ้าคุณวิเชียร วัดหนัง,เจ้าคุณผล วัดหนัง,หลวงปู่โต๊ะ,หลวงปู่เส่ง วัดกัลยาณมิตร,หลวงพ่อฑูรย์ วัดโพธินิมตร,หลวงพ่อทองอยู่ วัดใหม่หนองพะอง,หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม,หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่ามเป็ฯต้น ประสบการณ์พระผงหลวงพ่อเกษร โดดเด่นเรื่องค้าขายมาช้านาน นักสะสมพระยุคเก่าตามทราบกันดี รับประกันพระแท้แน่นอน ราคาเบาๆเทียบกับพระที่ออกใหม่ๆยังแพงกว่าเลย สนใจสอบถามได้ครับ
    (ปิดรายการองค์นี้มีผู้นิมนต์แล้วครับ)
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 52.JPG
      52.JPG
      ขนาดไฟล์:
      74.7 KB
      เปิดดู:
      90
    • 53.JPG
      53.JPG
      ขนาดไฟล์:
      74.8 KB
      เปิดดู:
      73
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 กันยายน 2018

แชร์หน้านี้

Loading...