ว่ากันเรื่อง วัดธรรมกาย

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย วิถีคนจร, 14 มกราคม 2011.

  1. กัปปะ

    กัปปะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    271
    ค่าพลัง:
    +118
    อย่างที่บอกไปก่อนหน้าอ่ะ ผมเหนื่อยที่จะต้องมาตามตอบพวกที่ไม่เป็นเรื่อง คุณรู้ไหม พอผมอ่านจบ ผมรู้เลยว่าจะต้องตอบว่าอะไร ทั้งๆที่กำลังจะสอบ Final แต่ผมก็จะขอตอบพวกนี้ให้ทันท่วงที



    ตั้งแต่คำว่า
    อย่าไปเกลือกกลั้ว กับคำสอนที่บิดเบือน ประเภทถวายปัจจัยที่เป็น เงิน ทอง ให้มากๆ จะได้สู่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หรือ ไม่ต้องมาเกิดอีก เพราะคำสอนเหล่านี้ ไม่สามารถมีหลักประกันว่า จะเป็นจริงตามที่พูด ทำตามแต่อัตภาพ และไม่จำเป็นต้องถวายปัจจัยกับพระเสมอไป สถานที่ๆเดือดร้อน มีอยู่เยอะ..



    คงหมายถึงวัดพระธรรมกาย

    "คำสอนที่บิดเบือน ประเภทถวายปัจจัยที่เป็นเงินทอง ให้มากๆ"

    เอาแค่นี้ก่อนน่ะ คุณน่ะ ผมพูดจริงๆน่ะครับ สุดโต่งอย่างไม่อาจแก้ไขได้เลย คุณว่าแต่คนอื่นว่าไม่ฟังใคร แต่หารู้ตัวไม่ว่าคุณนั่นเองที่ไม่ฟังใคร ผมโต้ปัญหาที่ว่าควรถวายปัจจัยพระหรือไม่ตั้งแต่
    คุณวงบุญพิเศษ ไม่จำเป็นต้องมาตามไล่ตอบนะครับ ผมไม่ได้ต้องการให้มาตอบแทนพุทธศาสนิกชน เพราะคุณไม่ได้เป็นตัวแทนของพุทธศาสนิกชนทั้งหมด เป็นแค่มนุษย์คนนึงเท่านั้น ไม่ได้วิเศษกว่าบุคคลอื่นใด เป็นเหมือนพวกที่ไม่เป็นเรื่องเหมือนกันนั่นแหละ ทุกสิ่งทุกอย่างนั้นผมเชื่อว่าทุกคนมีวิจารณญาณในไตร่ตรองทุกเรื่อง เพราะอย่างที่คุณบอก นี่ไม่ใช่ความเห็นในมุมมองของคุณ เป็นความจริง ส่วนตัวผมคิดว่าเป็นทั้งความเห็น และเป็นเรื่องจริงในอีกมุมหนึ่งที่ยากจะปฎิเสธ เช่นความหมายของผมนั้นหมายถึง การที่จะกำจัดเหลือบศาสนา และจรรโลงศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งๆขึ้นไป ผมถึงคิดว่าการ งดถวายปัจจัยกับพระภิกษุสงฆ์ น่าจะเป็นทางหนึ่งที่จะช่วยแก้ไขได้บ้าง (สำหรับคนที่ยังไม่ทราบรายละเอียด รบกวน เข้าไปหน้า อภิญญา หลวงพี่เล็ก หัวข้อ งดถวายปัจจัยกับพระสงฆ์ โดยคุณ tamsak เป็นผู้โพสเอาไว้ และขอความกรุณาแสดงความคิดเห็นแบบมีเหตุและผลสักนิด ไม่ใช่แบบข้างๆคูๆ แบบไม่เห็นด้วย เลย ตำหนิ หรือ ด่ากันในเว็บ ซึ่งโดยหลักของคนมีการศึกษา คงรู้ว่าที่นี่เอาไว้สำหรับ ถกปัญหา หรือ แสดงความคิดเห็น แม้ว่าความคิดเห็นอาจต่างกันไปบ้าง ก็ไม่ควรสร้างความโกรธเคืองให้กับผู้ที่เข้ามาร่วมตอบกระทู้)
    ขอย้ำว่า ...การเข้ามาบวชในพุทธศาสนานั้น เขาสอนให้ ละกิเลส ไม่ใช่หรือ แค่นี้คงน่าจะเข้าใจความหมายนะ
    ที่อ้างๆเรื่อง เอาปัจจัยไว้สำหรับเผยแผ่ศาสนานั้น ฟังไม่ขึ้นหรอกครับ ยกตัวอย่างบางวัด
    รับปัจจัย จนมีเงินเป็นหลายๆล้าน หลายสิบล้าน บางแห่งที่ใหญ่โต อาจเป็นร้อย เป็นพันล้าน ไม่รวมทรัพย์สินอื่นๆ เช่นที่ดิน อย่างบางแห่งที่เคยลงหนังสือพิมพ์เมื่อนานหลายปีมาแล้ว มีที่ดินนับหมื่นไร่ สถานที่สร้างเสียใหญ่โต จนแทบจัดโอลิมปิคได้เลย (อย่าอ้างว่ารองรับคนเรือนแสนคนที่จะเข้ามา)
    ผมขอตั้งคำถามกับพุทธศาสนิกชนทั้งหลายว่า..
    1. เหมาะสมแล้วหรือที่วัดจะต้องมีปัจจัยที่เป็นเงินทอง มากมาย หรือ เจ้าอาวาส พระลูกวัดอื่นๆจะต้องมีเงินทองติดตัวไว้มากมาย บางองค์มีเป็นล้าน
    2. เหมาะสมแล้วหรือที่วัดจะต้องมีที่ดินหลายร้อย หรือหลายพันหลายหมื่นไร่ เอาไว้ทำไมครับ ทำไมไม่ทำทานบริจาคให้กับผู้ที่เดือดร้อนไม่มีที่ทำกินดีกว่าไหม ผมคิดว่าผู้บริจาคให้วัดคงมีความสุขมากถ้าได้ทราบ
    3. เหมาะสมแล้วหรือที่พระแต่ละองค์ ต้องมีอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เหมือนกับปุถุชนทั่วไป (แบบนี้อยู่บ้านดีกว่าไหม ข้อนี้ตอบโจทย์ งดถวายปัจจัยกับพระสงฆ์ได้เป็นอย่างดี)
    ส่วนจะแก้ไขกันอย่างไรนั้น ต้องลองพิจารณากันเองนะครับ ทั้งหลายทั้งปวงเหล่านี้ บางครั้งทำให้คิดว่า บวชเป็นพระนี่สบายแท้น๊อ...ตื่นเช้าบิณฑบาตร ทำวัตรเช้า-เย็น มีงานอะไรเดี๋ยว ญาติโยมมารับ เสร็จงานมีปัจจัยกลับมา เก็บไม่นาน เดี๋ยวก้อมี tv , dvd , computer อื่นๆอีกมากมาย นี่คือเรื่องจริงที่ทุกคนก็รู้ แต่มองผ่านไปจนเหมือนเป็นเรื่องปกติ และนี่เป็นความเห็นที่เป็นเรื่องจริง แต่หลายคนยอมรับไม่ได้ เพราะบางคนอาจมีผลประโยชน์อยู่ หรือ บางคนหลงงมงายไปกับสิ่งที่บางวัดกล่อมไว้ และเป็นความเห็นสุดโต่ง อย่างที่หลายๆคนว่าผม แต่ความเห็นสุดโต่งเหล่านี้ มันไม่ใช่เรื่องจริงหรือไง
    อีกครั้ง ...เอาไปทำไมครับ ที่ดินมากมาย (ตายไป อย่างมากก็ลงไปอยู่ในหลุมขนาดตัวเอง เท่านั้น ) เอาไปทำไมครับเงินทอง ถ้าปฎิบัติชอบ คงไม่มีความจำเป็นอะไรเลย แต่ถ้าเป็นพวกหัวโล้น นุ่งผ้าเหลือง เหลือบศาสนา คงสามารถปรนเปรอความสุขได้เหมือนปุถุชนทั่วไป อย่างนี้จะบวชทำไมครับ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กุมภาพันธ์ 2011
  2. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    ท่านวงบุญครับ อยาก บอก กับท่านว่า โอ้ย อาจารย์
    ท่านกำลังอธิบายว่า ถ้าขันธ์5ของเรา
    ถ้าเป็นอัตตา รูป เวทนา สังขาร วิญญาณ สัญญา ต้องไม่เสื่อม ไปเปลี่ยนแปลง

    แต่ ขันธ์ 5 ของเรา ได้แก่ รูป เวทนา สังขาร วิญญาณ สัญญา มันเสื่อม ..........

    คุณต้องนึกถึงหลัก ไตรลักษณ์นะ ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา

    ลองคิดดูนะ สัญญา คือ ความจำ เป็นอัตตา ไหม มันจับต้องได้ไหม แล้วมันยึดถือว่าเป็นของจริงได้ไหม
    แล้วมันเป็น อัตตา หรือ อนัตตา
     
  3. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    ผมก็ขอยกตัวอย่างนะครับ

    อนัตตลักขณสูตร

    [๒๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาครับสั่งกะพระปัญจวัคคีย์ว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณเป็นอนัตตา

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ถ้ารูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ นี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ นี้ไม่พึงเป็นเพื่ออาพาธ
    และบุคคลพึงได้ในรูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ ว่า
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ ของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ ของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย
    ก็เพราะรูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ เป็นอนัตตา
    ฉะนั้น รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
    และบุคคลย่อมไม่ได้ในรูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ ว่า
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณของเรา จงเป็นอย่างนี้เถิด
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ ของเรา อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย

    ---ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์---

    [๒๑] พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอสำคัญความนั้นเป็นไฉน
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง?

    พระปัญจวัคคีย์ทูลว่า ไม่เที่ยง พระพุทธเจ้าข้า.

    ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
    ป. เป็นทุกข์ พระพุทธเจ้าข้า.

    ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
    ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตนของเรา?
    ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

    ---ตรัสให้พิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ---

    [๒๒] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า
    ดูกรภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้นแล
    รูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ อย่างใดอย่างหนึ่ง
    ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก
    หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้
    ทั้งหมดก็เป็นแต่สักว่ารูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ

    เธอทั้งหลายพึงเห็นรูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ นั้น
    ด้วยปัญญาอันชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า
    นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่เป็นเรา นั่นไม่ใช่ตนของเรา

    [๒๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวก ผู้ได้ฟังแล้ว เห็นอยู่ อย่างนี้
    ย่อมเบื่อหน่ายแม้ในรูป...เวทนา...สัญญา...สังขาร...วิญญาณ
    เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมสิ้นกำหนัด
    เพราะสิ้นกำหนัด จิตก็พ้น
    เมื่อจิตพ้นแล้ว ก็รู้ว่าพ้นแล้ว

    อริยสาวกนั้นทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว
    กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี

    [๒๔] พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระสูตรนี้แล้ว
    พระปัญจวัคคีย์มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของผู้มีพระภาค.

    ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่
    จิตของพระปัญจวัคคีย์ พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น

    ---อนัตตลักขณสูตร จบ---

    ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๖ องค์.

    จาก พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔
    มหาวรรค ภาค ๑ อนัตตลักขณสูตร

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กุมภาพันธ์ 2011
  4. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649


    1. เหมาะสมแล้วหรือที่วัดจะต้องมีปัจจัยที่เป็นเงินทอง มากมาย หรือ เจ้าอาวาส พระลูกวัดอื่นๆจะต้องมีเงินทองติดตัวไว้มากมาย บางองค์มีเป็นล้าน

    มันต้องดูเป็นงานไปครับ งานที่ต้องใช้เงินมากก็ต้องมีเงินมาก งานที่ต้องใช้เงินน้อย ก็ต้องมีเงินน้อย งานที่ไม่ต้องใช้เงินก็ไม่ควรมีเงิน

    2. เหมาะสมแล้วหรือที่วัดจะต้องมีที่ดินหลายร้อย หรือหลายพันหลายหมื่นไร่ เอาไว้ทำไมครับ ทำไมไม่ทำทานบริจาคให้กับผู้ที่เดือดร้อนไม่มีที่ทำกินดีกว่าไหม ผมคิดว่าผู้บริจาคให้วัดคงมีความสุขมากถ้าได้ทราบ

    ที่ดิน2,000ไร่ที่วัดตอนนี้เต็มไปด้วยวิหารทานแล้วครับ

    [​IMG]
    พื้นที่โดยรอบ เรียกว่าลานธรรมครับ จุคนได้ประมาณ 500,000 คนเศษ ทุกครั้งที่มีงานบุญใหญ่ พื้นที่ตรงนี้ก็ไม่พอแล้วครับ จึงต้องสร้าง มหารัตนวิหารคตโดยรอบ

    [​IMG]

    [​IMG]

    มหารัตนวิหารคต โดยรอบลานธรรม มี2ชั้น จุคนได้ 600,000, คนเศษ ล่าสุดวันเด็กดีวีสตาร์ วันที่ 11 ธันวาคม 2553 วิหารคตนี้ก็แตกไปเรียบร้อยแล้วครับ (สร้างอย่างดีครับ ไม่ต้องซ่อมเลย อยู่ได้ไม่ต่ำกว่า 1,000ปีครับ)

    [​IMG]

    [​IMG]

    สภาธรรมกายสากล จุคนได้ 300,000คน ทุกวันอาทิตย์ก็มีพิธีกรรมที่นี่ครับ เกือบเต็มทุกสัปดาห์

    [​IMG]

    [​IMG]

    มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี ภายในมีรูปหล่อทองคำหลวงพ่อสดครับ หล่อด้วยทองคำหนัก 1 ตัน มีทั้งหมด 5องค์

    โดยกำลังทะยอยนำไปไว้ในที่4แห่ง+ที่วัด1แห่ง รวม5องค์

    ที่4แห่งคือที่ท่านเกิด(นำไปไว้แล้วเมื่อ 10 ตุลา53 ในวิหารที่จ .สุพรรณบุรี และที่ท่านค้นพบวิชชาธรรมกาย ที่ท่านสอนธรรมกายครั้งแรก และที่ท่านละสังขาร วัดปากน้ำในพระมหาเจดีย์มหารัชมงคล

    มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี จุคนได้กว่า 10,000คน เข้าไปนั่งสมธิได้ครับ

    [​IMG]

    อาคารภาวนา60ปี อาคารนี้เป็นที่เจริญวิชชาธรรมกายขั้นสูงของทางวัดครับ หลวงพ่อเจ้าอาวาสท่านจะทำวิชชาที่นี่จนถึงตี2ทุกวันครับ ในนี้ก็จะมีพระเจริญสมาธิตลอด24ชั่วโมงครับ ภาพผมไม่มีน่ะครับ นี่เป็นภาพตอนที่ตอกเสาเข็มต้นแรกครับ อาคารมีลักษณะเหมือนมหาธรรมกายเจดีย์ครับ

    [​IMG]

    อาคาร100ปี คุณยายอาจารย์ ตอนนี้กำลังสร้าง ศูนย์รวมงานพระ
    ศาสนาครับ สร้างมาให้อยู่เป็นพันๆปีเหมือนกับ

    [​IMG]

    หอฉันคุณยายอาจารย์ครับ จุคนได้ 20,000คน ทุกวันก็จะมีสาธุชนนับพันมาถวายเพล หากเป็นวันพระก็เป็นหมื่น จนล่าสุด วันคล้ายวันสลายร่างคุณยาย หอฉันก็แตกจนสาธุชนต้องตากแดดรับพรพระกันเลยทีเดียว สังเกตุครับ หลังคาหอฉันก็ใช้เมรุตอนสลายร่างยายนั่นเองมาสร้างต่อ
    3. เหมาะสมแล้วหรือที่พระแต่ละองค์ ต้องมีอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เหมือนกับปุถุชนทั่วไป (แบบนี้อยู่บ้านดีกว่าไหม ข้อนี้ตอบโจทย์ งดถวายปัจจัยกับพระสงฆ์ได้เป็นอย่างดี)

    คงหมายถึงมือถือ Computer มั่งครับ ผมว่าจำเป็นน่ะ ท่านอื่นว่ายังไง แต่ท่านก็ใช้ของไม่ดีน่ะ เครื่องละ1,100เอง สาธุชนถวายเองน่ะ ที่วัดไม่ให้มีพระไปเดินตามห้างน่ะครับ หากต้องการของต้องให้อุบาสกในวัดไปแทน
     
  5. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    การทำบุญใที่เป็นไปด้วยการบริโภคธรรมมะ คือทำบุญ ด้วย หวัง ลาภ ยศ สรรเสริญ
    ก็ถือว่ายังไม่ใช่ทาง หลุดพ้น
    ต้องสำรวจตัว ว่า เราทำบุญด้วยความ เมตตาหรือเปล่า
     
  6. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    <TABLE class=tborder id=post105313 style="BORDER-RIGHT: rgb(239,239,239) 1px solid; BORDER-TOP: rgb(239,239,239) 1px solid; BORDER-LEFT: rgb(239,239,239) 1px solid; COLOR: rgb(0,0,0); BORDER-BOTTOM: rgb(239,239,239) 1px solid; BACKGROUND-COLOR: rgb(255,255,255); background-origin: initial; background-clip: initial" cellSpacing=0 cellPadding=6 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TR vAlign=top><TD class=alt1 id=td_post_105313 style="BORDER-RIGHT: rgb(255,255,255) 1px solid; FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif; COLOR: rgb(0,0,0); BACKGROUND-COLOR: rgb(239,235,239); background-origin: initial; background-clip: initial">พระภิกษุต้องถือศีล ๒๒๗ ข้ออันได้แก่

    ศีล ๒๒๗ ข้อที่เป็นวินัยของสงฆ์ ทำผิดถือว่าเป็นอาบัติ สามารถแบ่งออกได้เป็นลำดับขั้น ตั้งแต่ขั้นรุนแรงจนกระทั่งเบาที่สุดได้ดังนี้ ได้แก่

    ปาราชิก มี ๔ ข้อ
    สังฆาทิเสส มี ๑๓ ข้อ
    อนิยต มี ๒ ข้อ (อาบัติที่ไม่แน่ว่าจะปรับข้อไหน)
    นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ข้อ (อาบัติที่ต้องสละสิ่งของว่าด้วยเรื่องจีวร ไหม บาตร อย่างละ ๑๐ข้อ)
    ปาจิตตีย์ มี ๙๒ ข้อ (ว่าด้วยอาบัติที่ไม่ต้องสละสิ่งของ)
    ปาฏิเทสนียะ มี ๔ ข้อ (ว่าด้วยอาบัติที่พึงแสดงคืน)



    เสขิยะ (ข้อที่ภิกษุพึงศึกษาเรื่องมารยาท) แบ่งเป็น
    สารูปมี ๒๖ ข้อ (ความเหมาะสมในการเป็นสมณะ)
    โภชนปฏิสังยุตต์ มี ๓๐ ข้อ (ว่าด้วยการฉันอาหาร)
    ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ มี ๑๖ ข้อ (ว่าด้วยการแสดงธรรม)
    ปกิณสถะ มี ๓ ข้อ (เบ็ดเตล็ด)

    อธิกรณสมถะ มี ๗ ข้อ (ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์)

    รวมทั้งหมดแล้ว ๒๒๗ ข้อ ผิดข้อใดข้อหนึ่งถือว่าต้องอาบัติ การแสดงอาบัติสามารถกล่าวกับพระภิฏษุรูปอื่นเพื่อเป็นการแสดงตนต่อความผิดได้ แต่ถ้าถึงขั้นปาราชิกก็ต้องสึกอย่างเดียว

    [SIZE=+1]ปาราชิก[/SIZE] มี ๔ ข้อได้แก่
    ๑. เสพเมถุน แม้กับสัตว์เดรัจฉานตัวเมีย (ร่วมสังวาสกับคนหรือสัตว์)
    ๒. ถือเอาทรัพย์ที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตน จากบ้านก็ดี จากป่าก็ดี (ขโมย)
    ๓. พรากกายมนุษย์จากชีวิต (ฆ่าคน)หรือแสวงหาศาสตราอันจะนำไปสู่ความตายแก่ร่างกายมนุษย์
    ๔. กล่าวอวดอุตตริมนุสสธัมม์ อันเป็นความเห็นอย่างประเสริฐ อย่างสามารถ น้อมเข้าในตัวว่า ข้าพเจ้ารู้อย่างนี้ ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้ (ไม่รู้จริง แต่โอ้อวดความสามารถของตัวเอง)

    [SIZE=+1]สังฆาทิเสส[/SIZE] มี ๑๓ ข้อ ถือเป็นความผิดหากทำสิ่งใดต่อไปนี้<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif" vAlign=top>๑.ปล่อยน้ำอสุจิด้วยความจงใจ เว้นไว้แต่ฝัน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘.แกล้งใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒.เคล้าคลึง จับมือ จับช้องผม ลูบคลำ จับต้องอวัยวะอันใดก็ตามของสตรีเพศ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙.แกล้งสมมุติแล้วใส่ความว่าปาราชิกโดยไม่มีมูล</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓.พูดจาหยาบคาย เกาะแกะสตรีเพศ เกี้ยวพาราสี</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๐.ยุยงสงฆ์ให้แตกกัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔.การกล่าวถึงคุณในการบำเรอตนด้วยกาม หรือถอยคำพาดพิงเมถุน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif" vAlign=top>๑๑.เป็นพวกของผู้ที่ทำสงฆ์ให้แตกกัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕.ทำตัวเป็นสื่อรัก บอกความต้องการของอีกฝ่ายให้กับหญิงหรือชาย แม้สามีกับภรรยา หรือแม้แต่หญิงขายบริการ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif" vAlign=top>๑๒.เป็นผู้ว่ายากสอนยาก และต้องโดนเตือนถึง 3 ครั้ง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖.สร้างกุฏิด้วยการขอ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๓. ทำตัวเป็นเหมือนคนรับใช้ ประจบคฤหัสถ์</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗.สร้างวิหารใหญ่ โดยพระสงฆ์มิได้กำหนดที่ รุกรานคนอื่น</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif"></TD></TR></TBODY></TABLE>[SIZE=+1]อนิยตกัณฑ์ [/SIZE]มี ๒ ข้อได้แก่
    ๑. การนั่งในที่ลับตา มีอาสนะกำบังอยู่กับสตรีเพศ และมีผู้มาเห็นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้พูดขึ้นด้วยธรรม ๓ ประการอันใดอันหนึ่งกล่าวแก่ภิกษุนั้นได้แก่ ปาราชิกก็ดี สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุนั้นถือว่ามีความผิดตามที่อุบาสกผู้นั้นกล่าว
    ๒. ในสถานที่ที่ไม่เป็นที่ลับตาเสียทีเดียว แต่เป็นที่ที่จะพูดจาค่อนแคะสตรีเพศได้สองต่อสองกับภิกษุผู้เดียว และมีผู้มาเห็นเป็นผู้ที่เชื่อถือได้พูดขึ้นด้วยธรรม 2 ประการอันใดอันหนึ่งกล่าวแก่ภิกษุนั้นได้แก่ สังฆาทิเสสก็ดี หรือปาจิตตีย์ก็ดี ภิกษุนั้นถือว่ามีความผิดตามที่อุบาสกผู้นั้นกล่าว

    [SIZE=+1]นิสสัคคิยปาจิตตีย์ [/SIZE]มี ๓๐ ข้อ ถือเป็นความผิดได้แก่<TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑.เก็บจีวรที่เกินความจำเป็นไว้เกิน ๑๐ วัน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๖.นำขนเจียมไปด้วยตนเองเกิน ๓ โยชน์ เว้นแต่มีผู้นำไปให้</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒.อยู่โดยปราศจากจีวรแม้แต่คืนเดียว</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๗.ใช้ภิกษุณีที่ไม่ใช้ญาติทำความสะอาดขนเจียม</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓.เก็บผ้าที่จะทำจีวรไว้เกินกำหนด ๑ เดือน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๘.รับเงินทอง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔.ใช้ให้ภิกษุณีซักผ้า</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๙.ซื้อขายด้วยเงินทอง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕.รับจีวรจากมือของภิกษุณี</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๐.ซื้อขายโดยใช้ของแลก</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖.ขอจีวรจากคฤหัสถ์ที่ไม่ใช่ญาติ เว้นแต่จีวรหายหรือถูกขโมย</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๑.เก็บบาตรที่มีใช้เกินความจำเป็นไว้เกิน ๑๐ วัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗.รับจีวรเกินกว่าที่ใช้นุ่ง เมื่อจีวรถูกชิงหรือหายไป</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๒.ขอบาตร เมื่อบาตรเป็นแผลไม่เกิน ๕ แห่ง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘.พูดทำนองขอจีวรดีๆ กว่าที่เขากำหนดจะถวายไว้แต่เดิม</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๓.เก็บเภสัช ๕ (เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย)ไว้เกิน ๗ วัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙.พูดให้เขารวมกันซื้อจีวรดีๆ มาถวาย</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๔.แสวงและทำผ้าอาบน้ำฝนไว้เกินกำหนด ๑ เดือนก่อนหน้าฝน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๐.ทวงจีวรจากคนที่รับอาสาเพื่อซื้อจีวรถวายเกินกว่า ๓ ครั้ง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๕.ให้จีวรภิกษุอื่นแล้วชิงคืนในภายหลัง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๑.หล่อเครื่องปูนั่งที่เจือด้วยไหม</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๖.ขอด้ายเอามาทอเป็นจีวร</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๒.หล่อเครื่องปูนั่งด้วยขนเจียม (ขนแพะ แกะ) ดำล้วน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๗.กำหนดให้ช่างทอทำให้ดีขึ้น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๓.ใช้ขนเจียมดำเกิน ๒ ส่วนใน ๔ ส่วน หล่อเครื่องปูนั่ง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๘.เก็บผ้าจำนำพรรษา (ผ้าที่ถวายภิกษุเพื่ออยู่พรรษา) เกินกำหนด</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๔.หล่อเครื่องปูนั่งใหม่ เมื่อของเดิมยังใช้ไม่ถึง ๖ ปี</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๙.อยู่ป่าแล้วเก็บจีวรไว้ในบ้านเกิน ๖ คืน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๕.เมื่อหล่อเครื่องปูนั่งใหม่ ให้เอาของเก่าเจือปนลงไปด้วย</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๐.น้อมลาภสงฆ์มาเพื่อให้เขาถวายตน</TD></TR></TBODY></TABLE>[SIZE=+1]ปาจิตตีย์[/SIZE] มี ๙๒ ข้อได้แก่<TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑.ห้ามพูดปด</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๗.ห้ามขอของเกินกำหนดเวลาที่เขาอนุญาตไว้</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒.ห้ามด่า</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๘.ห้ามไปดูกองทัพที่ยกไป</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓.ห้ามพูดส่อเสียด</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๙.ห้ามพักอยู่ในกองทัพเกิน ๓ คืน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔.ห้ามกล่าวธรรมพร้อมกับผู้ไม่ได้บวชในขณะสอน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๐.ห้ามดูเขารบกันเป็นต้น เมื่อไปในกองทัพ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕.ห้ามนอนร่วมกับอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช้ภิกษุ)เกิน ๓ คืน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๑.ห้ามดื่มสุราเมรัย</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖.ห้ามนอนร่วมกับผู้หญิง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๒.ห้ามจี้ภิกษุ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗.ห้ามแสดงธรรมสองต่อสองกับผู้หญิง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๓.ห้ามว่ายน้ำเล่น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘.ห้ามบอกคุณวิเศษที่มีจริงแก่ผู้มิได้บวช</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๔.ห้ามแสดงความไม่เอื้อเฟื้อในวินัย</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙.ห้ามบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุแก่ผู้มิได้บวช</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๕.ห้ามหลอกภิกษุให้กลัว</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๐.ห้ามขุดดินหรือใช้ให้ขุด</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๖.ห้ามติดไฟเพื่อผิง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๑.ห้ามทำลายต้นไม้</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๗.ห้ามอาบน้ำบ่อยๆเว้นแต่มีเหตุ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๒.ห้ามพูดเฉไฉเมื่อถูกสอบสวน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๘.ให้ทำเครื่องหมายเครื่องนุ่งห่ม</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๓.ห้ามติเตียนภิกษุผู้ทำการสงฆ์โดยชอบ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕๙.วิกัปจีวรไว้แล้ว (ทำให้เป็นสองเจ้าของ-ให้ยืมใช้) จะใช้ต้องถอนก่อน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๔.ห้ามทิ้งเตียงตั่งของสงฆ์ไว้กลางแจ้ง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๐.ห้ามเล่นซ่อนบริขารของภิกษุอื่น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๕.ห้ามปล่อยที่นอนไว้ ไม่เก็บงำ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๑.ห้ามฆ่าสัตว์</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๖.ห้ามนอนแทรกภิกษุผู้เข้าไปอยู่ก่อน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๒.ห้ามใช้น้ำมีตัวสัตว์</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๗.ห้ามฉุดคร่าภิกษุออกจากวิหารของสงฆ์</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๓.ห้ามรื้อฟื้นอธิกรณ์(คดีความ-ข้อโต้เถียง)ที่ชำระเป็นธรรมแล้ว</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๘.ห้ามนั่งนอนทับเตียงหรือตั่งที่อยู่ชั้นบน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๔.ห้ามปกปิดอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๙.ห้ามพอกหลังคาวิหารเกิน ๓ ชั้น</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๕.ห้ามบวชบุคคลอายุไม่ถึง ๒๐ ปี</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๐.ห้ามเอาน้ำมีสัตว์รดหญ้าหรือดิน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๖.ห้ามชวนพ่อค้าผู้หนีภาษีเดินทางร่วมกัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๑.ห้ามสอนนางภิกษุณีเมื่อมิได้รับมอบหมาย</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๗.ห้ามชวนผู้หญิงเดินทางร่วมกัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๒.ห้ามสอนนางภิกษุณีตั้งแต่อาทิตย์ตกแล้ว</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๘.ห้ามกล่าวตู่พระธรรมวินัย (ภิกษุอื่นห้ามและสวดประกาศเกิน ๓ ครั้ง)</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๓.ห้ามไปสอนนางภิกษุณีถึงที่อยู่</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖๙.ห้ามคบภิกษุผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๔.ห้ามติเตียนภิกษุอื่นว่าสอนนางภิกษุณีเพราะเห็นแก่ลาภ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๐.ห้ามคบสามเณรผู้กล่าวตู่พระธรรมวินัย</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๕.ห้ามให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๑.ห้ามพูดไถลเมื่อทำผิดแล้ว</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๖.ห้ามเย็บจีวรให้นางภิกษุณีผู้มิใช่ญาติ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๒.ห้ามกล่าวติเตียนสิกขาบท</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๗.ห้ามเดินทางไกลร่วมกับนางภิกษุณี</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๓.ห้ามพูดแก้ตัวว่า เพิ่งรู้ว่ามีในปาฏิโมกข์</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๘.ห้ามชวนนางภิกษุณีเดินทางเรือร่วมกัน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๔.ห้ามทำร้ายร่างกายภิกษุ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๙.ห้ามฉันอาหารที่นางภิกษุณีไปแนะให้เขาถวาย</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๕.ห้ามเงื้อมือจะทำร้ายภิกษุ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๐.ห้ามนั่งในที่ลับสองต่อสองกับภิกษุณี</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๖.ห้ามโจทภิกษุด้วยอาบัติสังฆาทิเสสที่ไม่มีมูล</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๑.ห้ามฉันอาหารในโรงพักเดินทางเกิน ๓ มื้อ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๗.ห้ามก่อความรำคาญแก่ภิกษุอื่น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๒.ห้ามฉันอาหารรวมกลุ่ม</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๘.ห้ามแอบฟังความของภิกษุผู้ทะเลาะกัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๓.ห้ามรับนิมนต์แล้วไปฉันอาหารที่อื่น</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗๙.ให้ฉันทะแล้วห้ามพูดติเตียน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๔.ห้ามรับบิณฑบาตเกิน ๓ บาตร</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๐.ขณะกำลังประชุมสงฆ์ ห้ามลุกไปโดยไม่ให้ฉันทะ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๕.ห้ามฉันอีกเมื่อฉันในที่นิมนต์เสร็จแล้ว</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๑.ร่วมกับสงฆ์ให้จีวรแก่ภิกษุแล้ว ห้ามติเตียนภายหลัง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๖.ห้ามพูดให้ภิกษุที่ฉันแล้วฉันอีกเพื่อจับผิด</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๒.ห้ามน้อมลาภสงฆ์มาเพื่อบุคคล</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๗.ห้ามฉันอาหารในเวลาวิกาล</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๓.ห้ามเข้าไปในตำหนักของพระราชา</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๘.ห้ามฉันอาหารที่เก็บไว้ค้างคืน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๔.ห้ามเก็บของมีค่าที่ตกอยู่</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๙.ห้ามขออาหารประณีตมาเพื่อฉันเอง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๕.เมื่อจะเข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องบอกลาภิกษุก่อน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๐.ห้ามฉันอาหารที่มิได้รับประเคน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๖.ห้ามทำกล่องเข็มด้วยกระดูก งา หรือเขาสัตว์</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๑.ห้ามยื่นอาหารด้วยมือให้ชีเปลือยและนักบวชอื่นๆ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๗.ห้ามทำเตียง ตั่งมีเท้าสูงกว่าประมาณ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๒.ห้ามชวนภิกษุไปบิณฑบาตด้วยแล้วไล่กลับ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๘.ห้ามทำเตียง ตั่งที่หุ้มด้วยนุ่น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๓.ห้ามเข้าไปแทรกแซงในสกุลที่มีคน ๒ คน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘๙.ห้ามทำผ้าปูนั่งมีขนาดเกินประมาณ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๔.ห้ามนั่งในที่ลับมีที่กำบังกับมาตุคาม (ผู้หญิง)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙๐.ห้ามทำผ้าปิดฝีมีขนาดเกินประมาณ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๕.ห้ามนั่งในที่ลับ (หู) สองต่อสองกับมาตุคาม</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙๑.ห้ามทำผ้าอาบน้ำฝนมีขนาดเกินประมาณ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔๖.ห้ามรับนิมนต์แล้วไปที่อื่นไม่บอกลา</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙๒.ห้ามทำจีวรมีขนาดเกินประมาณ</TD></TR></TBODY></TABLE>[SIZE=+1]ปาฏิเทสนียะ[/SIZE] มี ๔ ข้อได้แก่
    ๑. ห้ามรับของคบเคี้ยว ของฉันจากมือภิกษุณีมาฉัน
    ๒. ให้ไล่นางภิกษุณีที่มายุ่งให้เขาถวายอาหาร
    ๓. ห้ามรับอาหารในสกุลที่สงฆ์สมมุติว่าเป็นเสขะ (อริยบุคคล แต่ยังไม่ได้บรรลุเป็นอรหันต์)
    ๔. ห้ามรับอาหารที่เขาไม่ได้จัดเตรียมไว้ก่อนมาฉันเมื่ออยู่ป่า

    [SIZE=+1]เสขิยะ[/SIZE]
    สารูป มี ๒๖ ข้อได้แก่<TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑.นุ่งให้เป็นปริมณฑล (ล่างปิดเข่า บนปิดสะดือไม่ห้อยหน้าห้อยหลัง)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๔.ไม่พูดเสียงดังนั่งในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒.ห่มให้เป็นนปริมณฑล (ให้ชายผ้าเสมอกัน)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๕.ไม่โคลงกายไปในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓.ปกปิดกายด้วยดีไปในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๖.ไม่โคลงกายนั่งในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔.ปกปิดกายด้วยดีนั่งในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๗.ไม่ไกวแขนไปในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕.สำรวมด้วยดีไปในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๘.ไม่ไกวแขนนั่งในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖.สำรวมด้วยดีนั่งในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๙.ไม่สั่นศีรษะไปในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗.มีสายตาทอดลงไปในบ้าน (ตาไม่มองโน่นมองนี่)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๐.ไม่สั่นศีรษะนั่งในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘.มีสายตาทอดลงนั่งในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๑.ไม่เอามือค้ำกายไปในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙.ไม่เวิกผ้าไปในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๒.ไม่เอามือค้ำกายนั่งในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๐.ไม่เวิกผ้านั่งในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๓.ไม่เอาผ้าคลุมศีรษะไปในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๑.ไม่หัวเราะดังไปในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๔.ไม่เอาผ้าคลุมศีรษะนั่งในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๒.ไม่หัวเราะดังนั่งในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๕.ไม่เดินกระโหย่งเท้า ไปในบ้าน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๓.ไม่พูดเสียงดังไปในบ้าน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๖.ไม่นั่งรัดเข่าในบ้าน</TD></TR></TBODY></TABLE>โภชนปฏิสังยุตต์มี ๓๐ ข้อคือหลักในการฉันอาหารได้แก่<TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑.รับบิณฑบาตด้วยความเคารพ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๖.ไม่เอามือทั้งมือใส่ปากในขณะฉัน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒.ในขณะบิณฑบาต จะแลดูแต่ในบาตร</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๗.ไม่พูดในขณะที่มีคำข้าวอยู่ในปาก</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓.รับบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง (ไม่รับแกงมากเกินไป)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๘.ไม่ฉันโดยการโยนคำข้าวเข้าปาก</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔.รับบิณฑบาตแค่พอเสมอขอบปากบาตร</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๙.ไม่ฉันกัดคำข้าว</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕.ฉันบิณฑบาตโดยความเคารพ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๐.ไม่ฉันทำกระพุ้งแก้มให้ตุ่ย</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖.ในขณะฉันบิณฑบาต และดูแต่ในบาตร</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๑.ไม่ฉันพลางสะบัดมือพลาง</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗.ฉันบิณฑบาตไปตามลำดับ (ไม่ขุดให้แหว่ง)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๒.ไม่ฉันโปรยเมล็ดข้าว</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘.ฉันบิณฑบาตพอสมส่วนกับแกง ไม่ฉันแกงมากเกินไป</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๓.ไม่ฉันแลบลิ้น</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙.ฉันบิณฑบาตไม่ขยุ้มแต่ยอดลงไป</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๔.ไม่ฉันดังจับๆ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๐.ไม่เอาข้าวสุกปิดแกงและกับด้วยหวังจะได้มาก</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๕.ไม่ฉันดังซูดๆ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๑.ไม่ขอเอาแกงหรือข้าวสุกเพื่อประโยชน์แก่ตนมาฉัน หากไม่เจ็บไข้</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๖.ไม่ฉันเลียมือ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๒.ไม่มองดูบาตรของผู้อื่นด้วยคิดจะยกโทษ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๗.ไม่ฉันเลียบาตร</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๓.ไม่ทำคำข้าวให้ใหญ่เกินไป</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๘.ไม่ฉันเลียริมฝีปาก</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๔.ทำคำข้าวให้กลมกล่อม</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒๙.ไม่เอามือเปื้อนจับภาชนะน้ำ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๕.ไม่อ้าปากเมื่อคำข้าวยังมาไม่ถึง</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓๐.ไม่เอาน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวเทลงในบ้าน</TD></TR></TBODY></TABLE>ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ มี ๑๖ ข้อคือ<TABLE cellSpacing=0 cols=2 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีร่มในมือ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๙.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งรัดเข่า</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๒.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีไม้พลองในมือ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๐.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่โพกศีรษะ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๓.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีของมีคมในมือ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๑.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่คลุมศีรษะ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๔.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่มีอาวุธในมือ</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๒.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่อยู่บนอาสนะ (หรือเครื่องปูนั่ง) โดยภิกษุอยู่บนแผ่นดิน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๕.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่สวมเขียงเท่า (รองเท้าไม้)</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๓.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งบนอาสนะสูงกว่าภิกษุ</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๖.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่สวมรองเท้า</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๔.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่นั่งอยู่ แต่ภิกษุยืน</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๗.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่ไปในยาน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๕.ภิกษุเดินไปข้างหลังไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่เดินไปข้างหน้า</TD></TR><TR><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๘.ไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่อยู่บนที่นอน</TD><TD style="FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif">๑๖.ภิกษุเดินไปนอกทางไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ที่ไปในทาง</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ปกิณสถะ มี ๓ ข้อ
    ๑. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ยืนถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
    ๒. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้ำลายลงในของเขียว (พันธุ์ไม้ใบหญ้าต่างๆ)
    ๓. ภิกษุไม่เป็นไข้ไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ หรือบ้วนน้ำลายลงในน้ำ [SIZE=+1]อธิกรณสมถะ[/SIZE] มี ๗ ข้อได้แก่
    ๑. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ในที่พร้อมหน้า (บุคคล วัตถุ ธรรม)
    ๒. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยการยกให้ว่าพระอรหันต์เป็นผู้มีสติ
    ๓. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยยกประโยชน์ให้ในขณะเป็นบ้า
    ๔. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยถือตามคำรับของจำเลย
    ๕. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยถือเสียงข้างมากเป็นประมาณ
    ๖. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยการลงโทษแก่ผู้ผิด
    ๗. ระงับอธิกรณ์ (คดีความ หรือความที่ตกลงกันไม่ได้) ด้วยให้ประนีประนอมหรือเลิกแล้วกันไป
    </TD></TR><TR><TD class=alt2 style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT: rgb(255,255,255) 1px solid; FONT: 12pt verdana, geneva, lucida, 'lucida grande', arial, helvetica, sans-serif; BORDER-LEFT: rgb(255,255,255) 1px solid; COLOR: rgb(0,0,0); BORDER-BOTTOM: rgb(255,255,255) 1px solid; BACKGROUND-COLOR: rgb(247,243,247); background-origin: initial; background-clip: initial"></TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649




    [​IMG]
    นิพพาน คือ ความดับร้อน เหลือแต่ความเย็น อะไรคือความร้อน ความร้อนก็คือ ความยึดมั่นถือมั่น ในร่างกายเรา ร่างกายเขา ทรัพย์สมบัติในโลกนั่นแหละเป็นความร้อน เป็นความทุกข์ พระนิพพานเป็นธรรมชาติที่แท้จริง นิพพานัง ปรมัง สูญญัง หมายถึงนิพพานเป็นธรรม ว่างอย่างยิ่ง ธรรมหมายถึงธรรมชาติทั้งหมด นิพพาน เป็นธรรมชาติที่ว่างจากกิเลส ตัณหา อุปาทาน ทุกข์ทั้งหมด นิพพานเป็นสภาวะที่เป็นสุข เพราะไม่มีกิเลส ไม่มีความทุกข์ คำว่า สูญแปลว่า ว่าง ไม่ใช่สูญโญ สูญสลายอย่างที่เข้าใจผิดกัน
    นิพพานัง ปรมัง สุขัง หมายถึง นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง มีสภาวะบริสุทธิ์ สะอาด ปราศจากกิเลส มีลักษณะตามที่ได้สัมผัสทางมโนมยิทธิดังนี้>>

    1. นิพพานมีความแน่นอน (นิจจัง) มีความสุข เป็นอมตะ ไม่มีคำว่าสูญสลาย ไม่มีอดีต ไม่มีอนาคต มีแต่ปัจจุบัน เพราะไม่มีการเกิดการตายอีก(พ้นวัฏฏสงสาร) จิตที่เสวยสุขพระนิพพานเป็นจิตทิพย์ กายทิพย์ กายเบา จะไปไหนจะคิดอะไรได้รวดเร็วตามความปรารถนา มีหูทิพย์ ตาทิพย์ มีอิสระเสรีแท้จริง ไม่อยู่ในอำนาจของกฎแห่งกรรมหรือกฎธรรมชาติ>>

    2. พระนิพพานเป็นสถานที่กว้างใหญ่ไพศาลไม่มีที่สิ้นสุด ไม่อยู่ในเขตสุริยจักรวาลใด ๆ ไม่มีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว ไม่มีดิน น้ำ ลม ไฟ มีแสงสว่างไสวสวยงาม ในกายนิพพาน ไม่มีขันธ์ 5 ไม่มีกระดูกหรืออวัยวะภายใน ไม่มีเพศ ไม่มีเด็ก ไม่มีสัตว์>>

    จิตที่สะอาดสดใส หมดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมอง เสวยสุขอย่างยิ่งตลอดกาลที่องค์สมเด็จพระพิชิตมารท่านค้นคว้า และเมตตาสอนทุก ๆ คนให้ทำความดีเพื่อพระนิพพาน โลกนี้ไม่มีอะไรสุขจริง มีพระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์ที่แดนพระนิพพาน เพราะ พระพุทธเจ้าท่านก็ตรัสรู้จากโลกอื่น ๆ ด้วย จิตที่เป็นพระอรหันต์แดนนิพพาน ท่านเรียกว่า พระวิสุทธิเทพ จิตจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะอย่างไรก็ได้ จะเข้าสิ่งสู่อาศัยที่หนึ่งที่ใดก็ได้ ท่องเที่ยวได้รวดเร็วกว่ากระแสไฟฟ้า พระพุทธเจ้า พระอรหันต์เจ้า ที่เข้าสู่พระนิพพานก็ยังคอยช่วยเหลือผู้ปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง จะรับสัมผัสจากพระองค์ท่านได้เมื่อจิตสะอาด มีสมาธิถึงฌาน 4 พระอรหันต์ พระพุทธเจ้า ท่านจะเมตตามาสั่งสอนแนะนำให้จิตสะอาด เข้าใจในปัญหาธรรมที่ยังติดขัดสงสัย ถ้าจิตเคารพท่านจริง ท่านก็จะมาสอนในจิตจริง ไม่เป็นที่สงสัย พระพุทธเจ้า พระอรหันต์เจ้า ท่านก็ยังช่วยโลกอยู่ทุกวัน>>...




    ผมอยาจะบอกว่า

    สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ (อนัตตา)

    นิพพาน เที่ยง สุขอย่างยิ่ง (อัตตา)



     
  8. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649
    ก็ต้องว่ากันตามตรงน่ะ หมู่คณะวัดพระธรรมกาย เป็นพุทธภูมิ ยังต้องเกิดอยู่ มีที่พักสร้างบารมีที่ดุสิต แน่นอน เค้ายังไม่ปรารถนานิพพานชาตินี้



    ในหมู่คณะตอนที่ลงมาเกิด ตามหลวงพ่อธัมมชโยมาเกิดนั้น มีการปฏิญาณตนตามหลวงพ่อมาเกิดสร้างบารมี นับได้ 6,000,000 คน นี่จากญาณทัศนะท่านน่ะ ผมไม่เกี่ยว
     
  9. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649


    สาธุ นี่เป็นสิกขาบทในพระศาสนา

    แต่ไม่ทราบว่าจะให้ผมใช้ญาณทัศนะดูหรอครับ ว่าพระท่านใดทำผิด อย่างที่บอกอ่ะ ใน ฉักกนิบาต - ทุติยปัณณาสก์ - ๑. มหาวรรค - ๕. ทารุกัมมิกสูตร ก็บอกไว้แล้วนี่ เราไม่มีทางรู้
     
  10. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    อปริหานิยธรรม 7
    อปริหานิยธรรม 7 หมายถึง ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความไม่เสื่อม 7 ประการ ผู้ปฏิบัติธรรมนี้จะเป็นไปเพื่อความเจริญทั้งฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงฆ์คือ
    ฝ่ายบ้านเมือง
    1. หมั่นประชุมกันเนืองนิจ การอยู่ร่วมกัน การทำงานร่วมกันของคนในสังคมจะต้องมีการ พบปะ ประชุมปรึกษาหารือกันสม่ำเสมอ เพื่อแก้ไขปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ยอมรับในเหตุผลที่ถูกต้องที่เป็นประโยชน์ เพื่อความเข้าใจที่ดีต่อกันของทุกคนในสังคมซึ่งความเจริญ ไม่เกิดความเสื่อมในทุกกรณี เช่น ในครอบครัว พ่อ แม่ ลูก มีอะไรพูดกันปรึกษากัน ลูกก็จะอบอุ่น ปัญหาลูกไปติดยาเสพย์ติด ก็จะไม่เกิดขึ้น ในสถานที่ทำงาน หัวหน้ามีการประชุมปรึกษากับผู้ร่วมงานทุกครั้ง งานก็จะราบรื่น หากมีข้อผิดพลาด ทุกคนก็จะยอมรับในสิ่งที่เกิดขึ้น
    2. พร้อมเพรียงกันประชุม เลิกประชุมและกระทำกิจที่ควรทำ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของหมู่คนที่อยู่รวมกัน ไม่กินแหนงแคลงใจกัน จะทำงานอะไรก็สำเร็จได้ เช่นในครอบครัวมีอะไรปรึกษาหารือกันก็ต้องอยู่พร้อม ๆ กัน เพื่อทุกคนจะได้ยอมรับในสิ่งที่จะทำลงไปด้วยความเต็มใจ
    3. ไม่บัญญัติสิ่งที่ยังไม่ได้บัญญัติและไม่เลิกล้มสิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว เช่น บ้านเมืองจะสงบสุขได้ ทุกคนจะต้องบัญญัติและไม่ล้มเลิก ระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ของคณะและสังคมตามความพอใจของตนหรือของกลุ่มโดยไม่คำนึงถึงความถูกต้อง ตัวอย่าง เช่น นักเรียนจะต้องแต่งเครื่องแบบของโรงเรียนเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย จะแต่งกายตามใจตนเองไม่ได้
    4. เคารพนับถือผู้ใหญ่การเคารพและรับฟังคำสั่งสอนของผู้ใหญ่ถือว่าเป็นสิ่งที่ดี เพราะผู้ใหญ่เกิดก่อน ผ่านประสบการณ์มามากกว่า ประกอบกับการอยู่ร่วมกันในสังคมต้องมีผู้นำ ถ้าเราให้การเคารพและเชื่อฟังผู้นำ สังคมก็จะไม่วุ่นวาย เช่น ถ้าลูกเชื่อฟัง พ่อ แม่ ก็จะเป็นคนดีได้เพราะไม่มีพ่อแม่คนไหน อยากลูกตนเองให้ชั่ว
    5. ไม่ข่มเหงล่วงเกินสตรี สตรีถือว่าเป็นเพศแม่ เป็นเพศที่อ่อนแอ บุรุษควรให้เกียรติให้ การยกย่อง ปกป้องไม่ให้ใครละเมิดสิทธิหรือข่มเหงรังแก ถ้าสังคมใด ๆ ผู้หญิงถูกฉุดคร่าข่มขืน มาก ๆ ความเสื่อมก็จะเกิดกับสังคมนั้น
    6. สักการะเคารพเจดีย์ หมายถึงการให้ความเคารพและปกป้องรักษาปูชนียสถานที่สำคัญในศาสนา เพื่อจะเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของกลุ่มคนในหมู่คณะที่อยู่ร่วมกันและระลึกถึงกัน เช่น การเคารพพระปฐมเจดีย์
    7. ให้การอารักขา คุ้มครอง อันชอบธรรมแก่พระอรหันต์ คือการคุ้มครองบรรพชิต ซึ่งเป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยู่ตลอดไป เช่น การทำบุญด้วยปัจจัย 4 เป็นต้น

    ฝ่ายพระสงฆ์
    1. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ ในกิจของสงฆ์ที่ต้องทำร่วมกันไม่ว่าเรื่องเล็กหรือใหญ่ เช่น การทำอุโบสถสังฆกรรม
    2. พร้อมเพรียงกันประชุม เลิกประชุมและทำกิจที่สงฆ์ต้องทำการประชุมถือว่าเป็นกิจที่สงฆ์ต้องทำร่วมกัน แต่การที่จะให้สงฆ์ทุกรูปยอมรับซึ่งกันและกัน เพื่อความสามัคคีก็จะต้องอาศัยความพร้อมเพรียงกันทุก ๆ ครั้ง เช่น การทำพิธีกรรมในงานมงคลนิยมใช้พระสงฆ์ 9 รูป ก็ต้องมาพร้อมกันจึงจะทำพิธีกรรมได้
    3. ไม่บัญญัติในสิ่งที่พระพุทธเจ้าไม่ทรงบัญญัติ ไม่ล้มเลิกสิ่งที่พระองค์บัญญัติไว้ ถือว่าสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าบัญญัติไว้ เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญที่พระสงฆ์จะต้องปฏิบัติตาม
    4. เคารพนับถือและรับฟังถ้อยคำของภิกษุผู้ใหญ่ ในการปกครองของพระสงฆ์จะให้อำนาจแก่ผู้ที่มีความสามารถตามบรรดาศักดิ์ เช่น ภิกษุผู้ใหญ่สังฆบิดร สังฆปรินายก ภิกษุทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามลำดับขั้นเพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย
    5. ไม่ลุอำนาจแก่ความอยากที่เกิดขึ้น เพราะพระสงฆ์ตัดแล้วซึ่งกิเลสตัณหา ความอยากมีอยากได้จะต้องไม่เกิดขึ้น จึงจะเป็นที่ยกย่องของคนทั่วไป
    6. ยินดีในเสนาสนะอันควร คือพระสงฆ์ต้องมีชีวิตเรียบง่าย มุ่งแสวงหาธรรมเพื่อเผยแพร่ให้กับผู้อื่น
    7. ตั้งใจอยู่ว่า เพื่อนภิกษุสามเณร เป็นผู้มีศีล ซึ่งยังไม่มาสู่อาวาสขอให้มา ที่มาแล้วขอให้อยู่เป็นสุข คือ พระสงฆ์ต้องใจกว้างยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่และมีความปรารถนาดีต่อสมาชิกเก่า เพื่อสังคมสงฆ์จะได้ไม่เกิดความเสื่อม
     
  11. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    ไตรลักษณ์

    สิ่งทั้งหลายทั้งปวงประกอบอยู่ด้วยลักษณะอันเรียกว่า "ไตรลักษณ์" หรือลักษณะ 3 ประการคือ
    1.อนิจจัง แปลว่า ไม่เที่ยง มีหมายความว่า สิ่งทั้งหลายมีลักษณะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอไป ไม่มีความคงที่ตายตัว
    2.ทุกขัง แปลว่า เป็นทุกข์ มีหมายความว่า สิ่งทั้งหลายทั้งปวงมีลักษณะที่เป็นทุกข์มองดูแล้วน่าสังเวชใจ ทำให้เกิดความทุกข์ใจแก่ผู้ที่ไม่มีความเห็นอย่างแจ้มแจ้งในสิ่งนั้นๆ
    3.อนัตตา แปลว่าไม่ใช่ตัวตน มีความหมายว่า ทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวเป็นตน ไม่มีลักษณะอันใดที่จะทำให้เรายึดถือได้ว่ามันเป็นตัวเราของเรา ถ้าเห็นอย่างแจ่มแจ้งชัดเจนถูกต้องแล้ว ความรู้สึกที่ว่า "ไม่มีตน" จะเกิดขึ้นมาเองในสิ่งทั้งปวง แต่ที่เราไปหลงเห็นว่าเป็นตัวเป็นตนนั้น ก็เพราะความไม่รู้อย่างถูกต้องนั่นเอง
    อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นี้คือการประกาศความจริงออกไปว่า "สิ่งปรุงแต่งทั้งปวงไม่เที่ยง สิ่งปรุงแต่งทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงไม่ใช่ตัวตน"
    ขอให้ทราบว่า ลักษณะสามัญ 3 ประการนี้ พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนมากกว่าคำสั่งสอนอื่นๆ ในบรรดาคำสั่งสอนทั้งหลายจะนำมารวบยอดอยู่ที่การเห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นี้ทั้งนั้น บางทีก็กล่าวตรงๆ บางทีก็พูดด้วยโวหารอย่างอื่น แต่ใจความมุ่งแสดง ความจริงอย่างเดียวกัน
    เมื่อได้กล่าวถึงหลักที่ว่า เราต้องรู้ว่าสิ่งทั้งปวงเป็นอะไร และต้องปฏิบัติอย่างไร จึงจะตรงต่อกฏธรรมชาติของสิ่งทั้งปวง ดังนี้แล้ว หลักในพระบาลีก็มีอีกพวกหนึ่งเรียกว่า โอวาทปาฏิโมกข์ แปลว่า คำสอนที่เป็นประธานของคำสอนทั้งหมด มีอยู่ 3 ข้อสั้นๆ คือ ไม่ทำความชั่วทั้งปวง ทำความดีให้เต็มที่ และทำจิตใจให้สะอาด ปราศจากความเศร้าหมอง นี้เป็นหลักสำหรับปฏิบัติ
    เมื่อรู้ว่าสิ่งทั้งปวงไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวตน ยึดถือไม่ได้ และไปหลงใหลด้วยไม่ได้ เราต้องปฏิบัติต่อสิ่งทั้งปวงให้ถูกต้องด้วยความระมัดระวัง คือเว้นจาการทำชั่ว หมายถึง การละโมบ โลภลา๓ด้วยกิเลส ไม่ลงทุนด้วยการฝืนศิลธรรมขนบธรรมเนียมต่างๆ เพื่อไปทำความชั่ว อีกทางหนึ่งนั้นให้ทำแต่ความดีตามทีบัณฑิตสมมติตกลงกันว่าเป็นคนดี แต่ทั้งสองข้อนี้เป็นเพียงขั้นศิลธรรม ข้อที่สามที่ว่า ทำจิตใจให้บริสุทธิ์หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองโดยประการนั้นนั่นแหละ เป็นตัวพุทธศาสนาโดยตรง หมายความว่าทำจิตใจให้เป็ฯอิสระ ถ้ายังไม่เป็นอิสระจากอำนาจครอบงำของสิ่งทั้งปวงแล้ว จะเป็นจิตใจที่สะอาดบริสุทธิ์ไปไม่ได้ จิตจะเป็ฯอิสระก็ต้องมาจากความรู้ อะไรเป็น อะไรถึงที่สุด ถ้ายังไม่รู้จะไปหลงรัก หรือหลงชังอย่างใดอย่างหนึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ แล้วจะเรียกว่าเป็นอิสระแท้จริงได้อย่างไร คนเรามีความรู้สึกอยู่สองอย่างเท่านั้น คือความพอใจกับไม่พอใจ (อภิชฌา และโทมนัส)
    ความเชื่อเรื่องอัตตา

    สิ่งที่คนทั่วไปเข้าใจ “ วิญญาณ ” “ อัตตา ” “ ตัวตน ” หรือที่ภาษาสันสกฤต ใช้ว่า “ อาตมัน ” นั้น คือ สิ่งที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ เป็นสิ่งถาวร ยั่งยืน และสมบูรณ์แบบ เป็นแก่นสารที่คงอยู่เบื้องหลังโลกที่แสดงปรากฏการณ์ของการเปลี่ยนแปลง ในบางศาสนาเชื่อว่ามนุษย์แต่ละคนมีวิญญาณที่พระเจ้าสร้างไว้ให้ และในที่สุดหลังจากตายแล้ว วิญญาณนี้ก็จะไปสถิตชั่วนิจนิรันดร์ในนรกหรือสวรรค์ ชะตากรรมของวิญญาณขึ้นอยู่กับคำพิพากษาของพระผู้สร้าง ส่วนในบางศาสนาก็เชื่อว่า วิญญาณผ่านการมีชีวิตมาหลายครั้งจนกว่าจะถูกชำระให้บริสุทธิ์ผุดผ่อง และในที่สุดก็จะเข้าไปอยู่ร่วมกับพระเจ้าหรือพระพรหม กล่าวคือ วิญญาณแห่งจักรวาล หรืออาตมันซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดของตน วิญญาณ หรืออัตตา เป็นผู้คิดเป็นผู้รับรู้อารมณ์และเป็นผู้รับคุณและโทษจากกรรมดีและกรรมชั่วของตนความเชื่อเช่นนี้เรียกว่าความเชื่อมีตัวตน (อัตตวาท)
    บ่อเกิดของความเดือนร้อนในโลก

    พระพุทธศาสนามีเอกลักษณ์พิเศษ ในประวัติศาสตร์ความคิดของมนุษย์ว่าเป็นศาสนาที่ปฏิเสธความมีอยู่ของวิญญาณ อัตตาหรือตัวตนตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ความคิดว่ามีอัตตานี้เป็นความเชื่อที่ผิด เกิดจากการใช้จินตนาการ ซึ่งไม่ตรงกับความเป็นจริงและก่อให้เกิดความคิดชั่วร้าย “ ตัวเรา ” และ “ ของเรา ” ก่อให้เกิดความอยากที่เห็นแก่ตัว ความทะยานอยาก ความคิดบึด ความโกรธ ความพยาบาท ความทะนงตัว ความถือดี ความหลงตน ตลอดจนกิเลสาสวะและปัญหาอื่นๆ รวมทั้งเป็นบ่อเกิดของความเดือนร้อนทั้งหลายทั้งปวงในโลกนับแต่ความขักแย้งระหว่างบุคคลจนถึงสงครามระหว่างประชาชาติ สรุปว่า ความชั่วทั้งปวงในโลกมีบ่อเกิดมาจากความเห็นผิดนี้เอง


    อัตตา = คือมีตัวตน
    อนัตตา = คือไม่มีตัวตน
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 กุมภาพันธ์ 2011
  12. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    ผมไปพบ มาและอ่านพิจรณาแล้ว


    คัมภีร์พระพุทธศาสนาโดยเฉพาะของฝ่ายเถรวาท ระบุไว้ชัดเจนว่า "นิพพานอันว่างจากตน" "นิพพานเป็นอนัตตา" เช่น ในคัมภีร์พระวินัยปิฎก ปริวารระบุว่า อนิจฺจา สพฺพสงฺขารา ทุกฺขานตฺตา จ สงฺขตา นิพฺพานญฺเจว ปณฺณตฺติ อนตฺตา อิติ นิจฺฉยา "สังขารทั้งปวงอันปัจจัยปรุงแต่ง ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา นิพพานและบัญญัติเป็นอนัตตา วินิจฉัยมีดังนี้" (วิ.ป.บาลี 8/257/194)

    นิพพานก็อยู่ใน อริยสัจจ์ 4 ด้วย คือเป็นจุดหมายของพระพุทธศาสนา ได้แก่ อริยสัจจ์ข้อ 3 ที่เรียกว่า "นิโรธ" คำว่านิโรธนี้เป็น ไวพจน์ คือใช้แทนกันได้กับ "นิพพาน" พระไตรปิฎกเล่ม 31 ระบุว่าอริยสัจจ์ 4 ทั้งหมดซึ่งรวมทั้งนิโรธ คือนิพพาน ด้วยนั้น เป็นอนัตตา ดังนี้ อนตฺตฏฺเฐน จตฺตาริ สจฺจานิ เอกปฏิเวธานิ . . . นิโรธสฺส นิโรธฏฺโฐ อนตฺตฏฺโฐ. (ขุ.ปฏิ. 31/546/450) แปลว่า: "สัจจะทั้ง 4 (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค) มีการตรัสรู้ด้วยกันเป็นอันเดียว (คือด้วยมรรค ญาณเดียวกัน) โดยความหมายว่าเป็นอนัตตา . . . นิโรธมีความหมายว่าดับ (ทุกข์) ก็มีความหมายว่า เป็นอนัตตา " อรรถกถาอธิบายว่า อนตฺตฏฺเฐนาติ จตุนฺนมฺปิ สจฺจานํ อตฺตวิรหิตตฺตา อนตฺตฏฺเฐน. (ปฏิสํ.อ.2/229)

    ในพระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรคระบุว่า "สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" และในอังคุตตรนิกาย ติกนิบาตมีระบุว่า "สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา" ซึ่ง "ธรรม" ในที่นี้พระอรรถกถาจารย์อธิบายต่อว่า "หมายรวมถึงนิพพานด้วย" นอกจากนี้ ยังมีข้อความในคัมภีร์พระไตรปิฎกอีก หลายแห่งทั้งที่ระบุโดยตรงและโดยอ้อมที่มีนัยบอกว่า "นิพพานเป็นอนัตตา" คำว่า "อนัตตา" มีความหมายระดับปรมัตถ์ มีนัยที่ต้องไขความต่ออีก โดยเฉพาะในคัมภีร์ชั้นหลังจะบอกว่า "ที่ชื่อว่าเป็นอนัตตา เพราะเกิดขึ้นจากองค์ประกอบต่าง ๆ มาประชุมกัน ไม่มีตัวตนที่เป็นแก่นเป็นแกนอยู่ ไม่มีตัวตนที่คงที่ ไม่มีผู้สร้าง ไม่มีผู้เสวย ไม่มีอำนาจในตัวเอง บังคับให้เป็นไปในอำนาจไม่ได้ แย้งต่ออัตตา"


    ในคัมภีร์มิลินทปัญหา พระนาคเสนทูลแก้ปัญหาของพระยามิลินท์ที่ทรงถามว่า ถ้านิพพานไม่มีที่ตั้งอาศัย นิพพานก็ย่อมไม่มี โดยกราบทูลว่า

    "ขอถวายพระพรมหาบพิตร โอกาสอันเป็นที่ตั้งของนิพพานหามีไม่ แต่นิพพานนั้นมีอยู่ พระโยคาวจรผู้ปฏิบัติชอบ ย่อมทำให้แจ้งนิพพาน ด้วยการพิจารณาโดยอุบายอันแยบคาย มหาบพิตร เหมือนดั่งว่าชื่อว่าไฟย่อมมีอยู่ แต่โอกาสอันเป็นที่ตั้งของไฟนั้นหามีไม่ เมื่อบุคคลเอาไม้สองอันมาขัดสีกันก็ย่อมได้ไฟขึ้นมาฉันใด มหาบพิตร นิพพานก็มีอยู่ฉันนั้นนั่นแล โอกาสอันเป็นที่ตั้งของนิพพานนั้นไม่มี (แต่) พระโยคาวจรผู้ปฏิบัติชอบ ย่อมทำนิพพานให้แจ้งด้วยการพิจารณาโดยอุบายอันแยบคาย..."(มิลินฺท.336)

    ในคัมภีร์รุ่นอรรถกถา ยังมีข้อความแสดงสภาวะของนิพพานอีกหลายแห่ง เช่นในปฏิสัมภิทามรรค มีอธิบายว่า นิพฺพานธมฺโม อตฺตสฺเสว อภาวโต อตฺตสุญฺโญ "ธรรมคือนิพพาน ว่างจากอัตตา เพราะไม่มีอัตตา" (ขุ.ป.อ.2/287) นอกจากนี้ในวิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสะพยายาม อธิบายให้เห็นถึงความไม่มีตัวตนของผู้ได้ชื่อว่าบรรลุนิพพาน ซึ่งเท่ากับว่าไม่มีอัตตา และนิพพานก็มิใช่สิ่งที่จะต้องมีอัตตาถึงจะมีอยู่ได้ ดังที่พระพุทธโฆสะกล่าวว่า "นิพพานมีอยู่ แต่ไม่มีผู้เข้าถึงนิพพาน มรรคามีอยู่ แต่ปราศจากผู้ดำเนินไป" (วิสุทฺธิ.3/101) ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่มีตัวตนบุคคลใด ๆ ที่ปฏิบัติตามมรรค 8 แล้วบรรลุนิพพาน เมื่อปราศจาก "ตัวตน" ของผู้เข้าถึงนิพพาน นิพพานก็ย่อมไม่ใช่อัตตาไปด้วย

    ความมีอยู่ของพระนิพพาน มิใช่สภาวะที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของจิต แต่มีอยู่โดยตัวของตัวเอง คือเป็นความจริงขั้นปรมัตถสัจ ที่ตรงข้ามกับสมมติสัจในโลกแห่งปรากฏการณ์ มีสภาวะที่เที่ยง ไม่ใช่สิ่งที่เกิดดับสลับกันไปแบบสิ่งต่างๆ ในโลก นิพพานจึงเป็นอสังขตธรรมที่พ้นไปจากปัจจัยปรุงแต่ง ในสภาวะของนิพพานทั้งนาม (จิต) และรูป ย่อมดับไม่เหลือ ดังพุทธวจนะในเกวัฏฏสูตร ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค ได้กล่าวถึงนิพพานว่าเป็น "ธรรมชาติที่รู้แจ้ง ไม่มีใครชี้ได้ ไม่มีที่สุด แจ่มใสโดยประการทั้งปวง ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ในธรรมนี้ อุปาทยรูปที่ยาวและสั้น ละเอียดและหยาบ ที่งามและไม่งาม ย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ในธรรมนี้ นามและรูปย่อมดับไม่มีเหลือในธรรมชาตินี้ เพราะวิญญาณดับ นามและรูปย่อมดับ ไม่มีเหลือในธรรมชาติ ดังนี้ฯ" (ที.สี.14/350) เพราะฉะนั้น นิพพานจึงไม่ใช่จิต หรือสัมปชัญญะบริสุทธิ์ ซึ่งนั่นเป็นลักษณะของพรหมมันหรืออาตมันของปรัชญาฮินดู ทั้งยังไม่ใช่เจตสิกที่อาศัยจิตเกิดขึ้น เพราะทั้งจิตและเจตสิกนั้นล้วนเป็นสังขตธรรม ซึ่งต้องอาศัยปัจจัยปรุงแต่ง มีธรรมชาติเกิดดับ มีการเปลี่ยนแปร เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป เช่นเดียวกับสิ่งอื่นๆ แต่นิพพานอยู่เหนือสภาพเช่นนี้ และว่างเปล่าจากสิ่งเหล่านี้ ขณะเดียวกัน นิพพานก็ไม่ใช่ความดับสูญอย่างสิ้นเชิง ซึ่งเป็นลักษณะของอุจเฉททิฏฐิการ ใช้ภาษาอธิบายนิพพานเป็นสิ่งที่ต้องกระทำอย่างรัดกุม เพื่อป้องกันการเข้าใจผิดว่าเป็นอัตตาเที่ยงแท้ (สัสสตทิฏฐิ) หรือว่าเป็นความขาดสูญ (อุจเฉททิฏฐิ) ซึ่งเป็นทัศนะที่คลาดเคลื่อนจากพระบาลีทั้งสิ้น

    พระพุทธเจ้าไม่เคยทรงอธิบายว่า พระอรหันต์ผู้บรรลุนิพพานเมื่อดับขันธ์แล้วจะอยู่ในสภาพเช่นใด การอธิบายทำได้ในลักษณะเพียงว่า นิพพานคือการดับทุกข์ สิ้นตัณหา เหมือนไฟที่ดับจนสิ้นเชื้อไม่สามารถที่จะลุกลามขึ้นมาได้อีก สำหรับพระอรหันต์ที่ปรินิพพานแล้วนั้น พระพุทธองค์ไม่ทรงตรัสยืนยันถึงความมีอยู่หรือความดับสูญ พระองค์ตรัสแต่เพียงว่า เมื่อพระองค์ปรินิพพานแล้ว ทั้งเทวดาและมนุษย์จะไม่สามารถเห็นพระองค์อีกต่อไป "ดูกร ภิกษุทั้งหลาย กายของตถาคต มีตัณหาอันนำไปสู่ภพขาดแล้ว ยังดำรงอยู่ เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายจักเห็นตถาคตชั่วเวลาที่กายของตถาคตยังดำรงอยู่ เมื่อกายแตกสิ้นชีพแล้ว เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายจักไม่เห็นตถาคต" (ที.สี.14/90) ในคำสอนพระพุทธศาสนา ไม่มีอัตตาใดเข้าสู่นิพพาน และไม่มีอัตตาดับสูญในภาวะแห่งนิพพาน แม้ในโลกแห่งปรากฏการณ์ เบื้องหลังเบญจขันธ์อันไม่เที่ยงนั้น ก็มิได้มีอัตตาซึ่งเป็นผู้รับรู้หรือเป็นพื้นฐานแห่งตัวตนที่เที่ยงแท้อยู่ ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกอยู่ในรูปของกระบวนการที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ทั้งรูปธรรมและนามธรรม กระบวนการแห่งนามรูปที่สมมติว่าเป็น ตัวตน สัตว์ บุคคล เราเขา นี้ เมื่อวิวัฒนาการไปจนกระทั่งถึงที่สุด ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปก็เป็นอันยุติลง สภาพความสิ้นสุดกระบวนการแห่งนามรูปที่ไม่เที่ยงแปรปรวนอยู่ทุกขณะนี้ เรียกว่านิพพาน เมื่อรูปและนามดับ นิพพานจึงไม่ใช่ทั้งจิตและสสารซึ่งต้องอาศัยเหตุปัจจัยในการดำรงอยู่ พระนิพพานตั้งอยู่โดยไม่ต้องอาศัยเหตุปัจจัย จึงเรียกว่า อสังขตธรรมในพระไตรปิฎกมักเปรียบนิพพานว่าเหมือนกับไฟที่ดับแล้ว ไม่สามารถบอกได้ว่าไฟที่ดับไปนั้นหายไปไหนหรืออยู่ในสภาพใด

    นิพพานเป็นธรรมที่พ้นไปจากโลก การอธิบายนิพพานโดยอาศัยพื้นฐานในทางโลกตลอดจนภาษาทางตรรกวิทยาจึง ไม่อาจกระทำได้ การจำกัดความจึงมักใช้การปฏิเสธทุกสิ่งทุกอย่าง เช่น ไม่ใช่ทั้งสิ่งนั้นและสิ่งนี้ ไม่มีการอุบัติ ไม่มีการจุติ ไม่มีองค์ประกอบ ไม่มีการสร้างสรรค์ ไม่มีการแตกทำลาย ไม่ใช่ดิน น้ำ ไฟ ลม เป็นต้น ดังปรากฏในพาหิยสูตร ความว่า "ดิน น้ำ ไฟ และลม ย่อมไม่หยั่งลงในนิพพานธาตุใด ในนิพพานธาตุนั้น ดาวทั้งหลายย่อมไม่สว่าง พระอาทิตย์ย่อมไม่ปรากฏ พระจันทร์ย่อมไม่สว่าง ความมืดย่อมไม่มี ก็เมื่อใดพราหมณ์ชื่อว่าเป็นมุนีเพราะรู้ (สัจจะ 4) รู้แล้วด้วยตนเอง เมื่อนั้นพราหมณ์ย่อมหลุดพ้นแล้วจากรูปและอรูป จากความสุขและความทุกข์..." (ขุ.ขุ.อ.25/50)

    เมื่อนิพพานพ้นไปจากบัญญัติในทางโลก การอธิบายถึงนิพพานจึงเป็นเพียงการเปรียบเทียบ เช่น เปรียบเทียบกับความว่างเปล่า หรือไฟที่ดับไป เป็นต้น ในวิสุทธิมรรคกล่าว ว่า "เพราะพระนิพพานเป็นคำสุขุมนัก...เป็นธรรมที่ต้องเห็นด้วยอริยจักษุ เป็นธรรมอันบุคคลผู้เพียบพร้อมด้วยมรรค (เท่านั้น) จะพึงถึงได้" นิพพานจึงมิใช่เรื่องของการเข้าใจ แต่อยู่ที่การเข้าถึง อันเป็นผลจากการปฏิบัติธรรมของตนเอง

    นิพพาน - วิกิพีเดีย ขอสรุปว่านิพพานเป็นอนัตตา ด้วยเหตุผลนี้ผมได้อ่านและพิจรณาแล้ว
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กุมภาพันธ์ 2011
  13. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649
    ที่สุดแล้วคงไม่มีที่สิ้นสุด หากเรานำพระไตรปิฎกมาตีความกันเอง โดยจริตส่วนตัวของผมไม่ชอบการนำพระไตรปิฎกในส่วนอภิธรรมมาตีความมาก ผมมักศึกษาจากผลการปฎิบัติของพระสุปฎิปันโนครับ

    เรื่องของพระนิพพาน เป็นอัตตา หรือ อนัตตา นั้น คงไม่มีใครรู้ได้กีที่สุดในเวลานี้นอกจากตัวเราเอง ต้องลงมือปฎิบัติกันจริงจังหล่ะครับ จึงรู้เอง ส่วนตัวผมเองมีข้อมูลแบบนี้อีกมากครับ แต่ก็ต้องเป็นแบบ COPY มาอ่ะครับ ซึ่งผมไม่ชอบ



    ส่วนตัวผมเองเป็นพุทธภูมิน่ะ แต่ไม่ได้อยู่ในหมู่คณะวัดพระธรรมกายครับ แต่ชอบไปทำบุญที่นั่น และชอบการฝึกวิชชาธรรมกาย





    พี่ครับ ผมมีเรื่องอะไรจะเล่าให้ฟัง เป็นเรื่องมาจากท่านผู้ทรงอภิญญาน่ะครับ

    พี่คงทราบว่าในสมัยพุทธกาล ไม่มีการบันทึกพระธรรมเป็นอักษร ต่อเมื่อมีการสังคายนาครั้งที่5 แม้กระทั่งสังคายนาครั้งที่1เองยังมีการขัดแย้งในหมู่สงฆ์ทั้งๆที่ล้วนเป็นพระอรหันต์ ทั้งนี้เพราะอะไรรู้ไหมครับ เพราะฐานบารมีแต่ละองค์ก็แต่ละจริต ประกอบกับการระลึกอดีตชาติก็กระทำได้ไม่ถึงกับขนาดอสงไขย ฉะนั้นทางที่ดีคือการบำเพ็ญเอง

    ในพระไตรปิฎกก็เกิดจากการจำของพระอรหันต์ มาเป็นช่วงๆจนต่อเมื่อมีการบันทึกหล่ะครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กุมภาพันธ์ 2011
  14. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    อณุโมทนาครับ.............................

    การ COPY ผมคิดว่าไม่น่าจะผิดอะไร แต่ถ้า COPY แล้วไม่อ่านก่อนก็ไม่ได้อะไรครับ

    ผมก็มีหน้าที่นำเสนอของผมไปตามเรื่องตามราวแหละครับ ผมมีเจตนาอันดี......แต่ก็ขอบคุณคุณ วงบุญนะครับ ที่มาให้ข้อมูลอีกด้าน
    ผมเห็นใน พันธุ์ทิพย์ กับเฟสบุค แรงกันจริงๆ ในที่นี้ ผมดีใจที่เข้ามาโพสค่อนค้างจะเป็นมิตรครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กุมภาพันธ์ 2011
  15. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649
    5555 ++

    ไม่อยากจะบอก ขณะที่เล่นกระทู้นี้ไป ก็เล่นกระทู้การเมืองไปด้วย อิอิ หนังสือไม่เป็นการอ่านกัน ตั้งไว้ข้างๆ อิอิ

    ในเว็บอื่น หรือ กระทู้อื่นก็ว่าไปตามนั้นครับ บางคนสนธนาด้วยก็อุดมปัญญา บางคนสนธนาด้วยก็หมดปัญญาจะเยียว


    ไม่ทราบส่วนตัว พี่ปฎิบัติสายไหนครับ สายหนอ สายพุทโธ มโนมยิทธิ ...
     
  16. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    555+ ผมก็ฟังการเมืองไปด้วยเหมือนกันนะครับ แต่เราคนสีกัน 555+

    ผมกำลังศึกษาปฏิบัติ วัชรยานอยู่นะครับ ศึกษา พุทธภูมิ โพธิ์สัตว์
     
  17. วิถีคนจร

    วิถีคนจร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    696
    ค่าพลัง:
    +226
    ผมคิดว่า นับวัน ผม ก็ อยากจะ เฉยๆ กับกระทู้นี้แล้วครับ ไม่ใช่ว่าผมเห็นตรงกับวัดพระธรรมกายนะครับ แต่มันเยอะแล้วครับ ถกกันไป ก็ไม่จบ นานาจิตตังครับ
     
  18. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649
    ผมอยากฝากอะไรไว้นิดน่ะครับ ใครก็ตามที่เห็นข้อมูลของผมแล้ว เข้าใจ

    เกิดปัญญา ในอนาคตเมื่อพบเห็นการโจมตีวัดพระธรรมกายในเรื่องต่างๆ

    กรุณานำข้อมูลของผมไป Post หรืออย่างน้อยก็ไม่เข้าไปยุ่งน่ะครับ เพื่อให้สิ่ง

    ที่ผมตั้งใจพิมพ์ลงไปไม่สูญเปล่า


    สิ่งที่ผมลงความเห็นไปนั้น ไม่อาจทำให้ท่านทั้งหลายรู้สึกดีกับวัดพระธรรมกาย

    ได้ แต่อย่างน้อยที่สุด อยากให้ดูจากมุมสูงอ่ะครับ ไม่มองจุกจิก มองดูแล้ว

    คิดว่าถ้าเราเป็นพวกเค้าคุณจะรู้สึกยังไง งานที่เค้าทำมีข้อดีไหม แล้วพวกเขา

    โง่ขนาดนั้นจริงหรือที่จะให้พระผู้ทุศีลมาขูดรีด พวกเค้าทำบุญกับพระที่วัดนี้

    แล้วเค้าไม่เจริญขึ้นเค้าคงไม่มาหรอกครับ บางคนมาตั้งแต่ฐานะปกติ จนตอน

    นี้เป็น1ใน40เศรษฐีระดับประเทศแล้ว ปีล่าสุด2553 ลองนำเอารายชื่อ40ชื่อ

    นั้น มาดู 23คนเป็นลูกศิษย์วัดพระธรรมกายตั้งแต่สมัยสถาปนาวัด


    งานทุกอย่างที่วัดนี้ทำ ลองมองในแง่ดีดูครับ แล้วจะพบว่า วัดนี้ไม่ธรรมดา(อย่สนำประโยคนี้ไม่ตีความเป็นอื่นน่ะครับ)



    ส่วนท่านใดที่เข้าข่ายปรามาสพระในวัดนี้ ก็รีบเข้าห้องพระขอขมาน่ะครับ จะ

    ยังไงก็กันไว้ดีกว่าแก้ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 กุมภาพันธ์ 2011
  19. กัปปะ

    กัปปะ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 สิงหาคม 2009
    โพสต์:
    271
    ค่าพลัง:
    +118
    ขอบคุณคุณวงบุญ นะครับ ที่พยายามหาเหตุผลมาหักล้างต่างๆ แต่ส่วนตัวแล้วผมยังคงยึดหลัก ละกิเลส อยู่ดี โดยไม่ต้องคำนึงถึงสิ่งก่อสร้างอันใหญ่โต หรือเงินทองอันมากมาย เมื่ออยู่ในร่มกาสาวพักตร์ เพราะคงไม่จำเป็นนักกับสิ่งสวยงามเพื่ออะไรก้อตามที ผมว่าควรอยู่กับธรรมชาติดีกว่า... ท้องฟ้า ป่าเขาลำเนาไพร คือ บ้านของมนุษย์ทุกตัวตน ผลไม้ พืช ผัก คืออาหารที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ส่วนเครื่องใช้ อุปกรณ์อื่นๆ มันจะมีความหมายอะไร ถ้าต้องการเข้ามาบวชเพื่อหลุดพ้น สมัยก่อนที่โลกเรายังไม่เจริญทางวัตถุมาขนาดนี้ ทางโลกธรรม ก็ยังสามารถอยู่ได้กับโลกที่ไม่มีเทคโนโลยี่ ได้ แม้แต่การติดต่อสื่อสาร ชนบทที่ห่างไกลในสมัยก่อน ไม่มีมือถือไว้ใช้ ก็ยังติดต่อโลกภายนอกได้อยู่ วัดเป็นที่สงบ เป็นที่พึ่งทางใจของชาวพุทธทั้งหลาย ญาติโยมพร้อมใจกันเข้าวัด เพราะมีพระที่เปี่ยมไปด้วยธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า แต่พอมาดูปัจจุบัน มนุษย์พยายามดึงดูดให้คนเราเข้าหาวัด โดยการสร้างสิ่งสวยงามให้เป็นที่ดึงดูด ห่วงแต่ เรื่องสถานที่ จะไม่สวยงาม ไม่ใหญ่โต (สวยงามแล้วได้อะไร ใหญ่โตแล้วได้อะไร )ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีวันแตกสลาย ไม่เว้นแต่ร่างกายของเรา ถ้าทำเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานให้คนรุ่นหลังดูต่างหน้า ผมว่าหาหนทางเอาความเจริญทางด้านจิตใจ แทน ความเจริญทางด้านวัตถุไม่ดีกว่าหรือ
    คนที่เข้าวัดส่วนนึงต้องการหาทางสงบ แต่กลับกลายเป็นว่า มนุษย์หัวโล้นบางจำพวก ตัวเองละกิเลสยังไม่ได้ กลับนำพาคนอื่น มาดูความยิ่งใหญ่ ใหญ่โตของวัตถุแทน
    นี่ละน๊า...กิเลสในใจมนุษย์ ไม่ว่าทำอะไร มักจะมีข้อแก้ต่างของตัวเองอยู่เสมอ
     
  20. วงบุญพิเศษ

    วงบุญพิเศษ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    486
    ค่าพลัง:
    +649
    ก่อนอื่นมาอนุโมทนาบุญกับผมก่อนน่ะครับ ผมเพิ่งไปถวายสังฆทานที่วัดแถวมหาลัยมาครับ และก็ได้ให้อาหารปลาด้วย สาธุ

    คุณต้องเข้าใจธรรมชาติของคนน่ะ ต่างบารมี ต่างจริต ต่างเส้น

    ทางการสร้างบารมี หากคุณจะสำเร็จอรหัตผลใน7วันนี้ ผมขอ

    อนุโมทนาน่ะครับ ผมยังเป็นพุทธภูมิอยู่ ยังต้องเวียนสร้างบารมีนับ

    อสงไขย คุณกลับว่าผมดูความยิ่งใหญ่ของวัตถุ ผมดูที่ประโยชน์

    ของวัตถุครับ หากไม่มีที่ขนาดนี้ ไม่มีสิ่งปลูกสร้างแบบนี้ จะเอาที่

    ไหนมารองรับหมู่คณะของเขาที่ลงมาสร้างบารมีพร้อมกันถึง

    6,000,000 คน ที่สำคัญ ไม่ใช่สร้างใหญ่แล้วไม่มีคน มันไม่พอ

    เสียด้วยซ้ำ ตอนนี้ที่วัดมีแต่คนพูดว่า หลวงพ่อสร้างเล็กจังเลย ที่

    จอดรถแทบหาไม่ได้ วันมาฆบูชาที่ผ่านมา ผมไปสายหน่อย ขับรถ

    วนหาที่จอดรถตั้งนาน คุณมองดีๆน่ะ มองมุมสูงครับ

    ขี้เกียจอธิบายแล้ว คุณรู้ตัวไหม ว่าคุณมันแปลกๆ เคยมีใครพูด

    แบบนี้กับคุณไหม ไม่ทราบมีภรรยา มีลูกมั้ย เค้าว่าคุณเป็นยังไง

    บ้าง หรือเป็นแบบนี้ทั้งครอบครัว



    คนบางคนบรรลุมรรคผลเพราะฟังอรรถธรรม พรรณาสวรรค์

    คนบางคนบรรลุมรรคผลเพราะฟังอรรถธรรม พรรณานรก

    คนบางคนบรรลุมรรคผลเพราะฟังอรรถธรรม โทษของกาม

    คนบางคนบรรลุมรรคผลเพราะฟังอรรถธรรม ว่าด้วยทาน

    คนบางคนบรรลุมรรคผลเพราะฟังอรรถธรรม ว่าด้วยศีล

    คนบางคนบรรลุมรรคผลเพราะเพียงเห็นกายมหาบุรุษ
     

แชร์หน้านี้

Loading...